The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by tanmicro, 2022-01-06 19:12:31

บทความยาปฏิชีวนะและการดื้อยาปฏิชีวนะของแบคทีเรีย

บทความนี้ใช้เพื่อทางการศึกษาเท่านั้น

Keywords: การดื้อยาปฏิชีวนะของแบคทีเรีย

บทความวิชาการ Review Article

ยาปฏชิ ีวนะและการดือ้ ยาปฏชิ วี นะของแบคทเี รยี

อารยา ขอ้ ค้า
สาขาวชิ าสาธารณสุขศาสตร์ คณะวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี มหาวิทยาลยั ราชภัฏภูเกต็

Received: August 29, 2019
Revised: February 3, 2020
Accepted: April 17, 2020

บทคัดยอ่
ยาปฏิชีวนะ (antibiotics; ATBs) เป็นยาท่ีมีฤทธ์ิในการยับย้ังการเจริญเติบโตหรือฆ่าเช้ือแบคทีเรีย
ดว้ ยวิธกี ารตา่ ง ๆ เช่น ยบั ย้ังการสงั เคราะหโ์ ปรตีนในแบคทเี รยี ยบั ย้งั การสร้างผนังเซลล์ รบกวนการทำ� หนา้ ที่
ของเย่ือหุ้มเซลล์ และยับยง้ั การสงั เคราะหส์ ารพนั ธกุ รรมภายในแบคทเี รยี เปน็ ตน้ ตั้งแตก่ ารคน้ พบยาปฏิชีวนะ
ตวั แรก คือ เพนิซลิ ลนิ (penicillin) ในชว่ งทศวรรษท่ี 1920 นบั เป็นประโยชน์มหาศาลตอ่ วงการแพทย์ ส่งผลให้
ผู้ป่วยด้วยโรคท่ีเกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรียมีอัตราการรอดชีวิตเพิ่มมากข้ึน นอกจากนี้ ยังมีการพัฒนาและ
ผลิตยาปฏิชีวนะตัวใหม่อย่างต่อเน่ือง แต่ในขณะเดียวกันแบคทีเรียย่อมมีการปรับตัวเพื่อการมีชีวิตรอด จึงเกิด
การดื้อยาปฏิชีวนะในเวลาต่อมา การที่แบคทีเรียเกิดการด้ือยาเน่ืองมาจากการใช้ยาปฏิชีวนะไม่สมเหตุสมผล
ใช้ยาต�่ำกว่าขนาดการรักษา การหยุดยาเม่ืออาการดีข้ึนโดยไม่รับประทานยาจนครบก�ำหนด หรือการใช้ยา
โดยไมจ่ ำ� เป็น ส่งผลใหเ้ กิดการดื้อยาดว้ ยกลไกหลากหลาย เช่น แบคทีเรียสร้างเอนไซมม์ าทำ� ลายยา แบคทีเรยี
มีการปรับเปลี่ยนเป้าหมายในการออกฤทธ์ิของยา (target sites) การป้องกันหรือขัดขวางไม่ให้ยาเข้าไป
ในเซลล์แบคทีเรีย และการสร้าง efflux pump ของแบคทีเรียเพื่อน�ำยาออกจากเซลล์ เป็นต้น ซ่ึงการด้ือยา
ปฏิชีวนะของเช้ือแบคทีเรียเกิดข้ึนอย่างรวดเร็ว เกินกว่าที่จะผลิตยาปฏิชีวนะชนิดใหม่ข้ึนมาได้ทัน นับเป็น
หน่งึ ในปัญหาทางดา้ นสาธารณสุขท่ีส�ำคัญระดบั โลก ดงั น้ัน การป้องกันเชอื้ แบคทีเรยี ดอื้ ยาเปน็ ส่ิงส�ำคัญอยา่ งย่ิง
ท่ีทุกคนควรตระหนัก โดยการใช้ยาปฏิชีวนะเม่ือจ�ำเป็นเท่าน้ัน ใช้ยาอย่างเหมาะสมและถูกวิธี ไม่ใช้ยาอย่าง
พร�ำ่ เพรือ่ ทั้งน้ีเพือ่ ลดการสญู เสียชีวิตรวมถึงลดค่าใชจ้ า่ ยต่าง ๆ จากการรักษาโรคทเ่ี กดิ จากการติดเชือ้ ดอ้ื ยา

คำ� ส�ำคัญ: ยาปฏชิ วี นะ แบคทเี รีย การด้อื ยาปฏชิ วี นะ

ผนู้ พิ นธ์ประสานงาน: 125

อารยา ขอ้ ค้า
สาขาวิชาสาธารณสขุ ศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏภูเกต็
21 ม.6 ถ.เทพกระษตั รี ต.รษั ฎา อ.เมอื ง จ.ภูเก็ต 83000
อีเมล: [email protected]

J Med Health Sci Vol.27 No.2 August 2020

Antibiotics and antibiotic resistance

Araya Khoka
Public Health Program, Faculty of Science and Technology, Phuket Rajabhat University

Abstract
Antibiotics (ATBs) are drugs that inhibit growth or kill bacteria in various mechanisms,
such as inhibiting protein synthesis in bacteria, inhibiting the synthesis of bacterial cell walls,
interfering with the function of the cell membrane, and inhibiting the synthesis of genetic material
in bacteria. Since the discovery of penicillin in the 1920s, one of the world’s first antibiotics,
people succumbed to illness caused by bacterial infections had a high survival rate. While
antibiotic researches especially for developing new classes of antibiotics have been continuously
conducted, there have been a great number of reports of bacteria that resist to antibiotics.
The bacterial resistance is caused mainly by inappropriate use of the antibiotics, taking low
doses of antibiotics, stopping antibiotic treatment before completing the duration of therapy,
the unnecessary use of antibiotics. Mechanisms of antibiotic resistance include the presence
of enzymes that inactivates or destroys antimicrobial agents, alteration in the drug target sites,
reduced uptake to the antibiotics, and active efflux system to pump out the drug from the cell.
The antibiotic resistance can spread easily and quickly among bacteria, beyond the discovery of
the new antibiotics, and it become one of the most urgent public health threats in the world.
Therefore, everyone contribute in fighting with antibiotic resistance by taking antibiotics only
when necessary, or rationally using antibiotics.
Keywords: antibiotics, bacteria, antibiotic resistance

Corresponding Author:

Araya Khoka
Public Health Program, Faculty of Science and Technology,
Phuket Rajabhat University
21 Moo. 6, Thepkrasatree Rd., Tambon Ratsada, Amphoe Mueang Phuket, Phuket 83000
E-mail: [email protected]
126 J Med Health Sci Vol.27 No.2 August 2020

บทนำ� เข้าไปในเซลล์แบคทีเรีย เป็นต้น เม่ือเชื้อแบคทีเรีย
ปัจจุบันมีสารหรือยาหลายชนิดท่ีมีฤทธ์ิ เกิดการดื้อยา ส่งผลให้การรักษายากขึ้น ใช้เวลาใน
ใ น ก า ร ยั บ ย้ั ง ก า ร เ จ ริ ญ เ ติ บ โ ต ข อ ง เ ช้ื อ จุ ล ชี พ การรักษานานขึ้น ค่าใช้จ่ายในการรักษาเพิ่มมากข้ึน
(antimicrobial) ซง่ึ เชือ้ จลุ ชีพ คือ สง่ิ มชี วี ติ ขนาดเลก็ โดยไม่เกิดประโยชน์ หากเช้ือพัฒนากลายเป็นเชื้อ
(microorganism) ท่ีสามารถก่อโรคได้ ได้แก่ ดื้อยาท่รี นุ แรง จะไม่มียาปฏิชวี นะใดสามารถรกั ษาได้
แบคทเี รยี ไวรัส ปรสติ และเชอ้ื รา เปน็ ต้น สารหรอื ยา เรียกเช้ือเหล่าน้ันว่า superbugs ซึ่งเป็นสาเหตุของ
ท่ีใช้ในการต้านเชื้อจุลชีพต่างๆ เหล่าน้ี มีชื่อเรียก การเสียชีวิต นบั เป็นปญั หาสาธารณสุขระดบั โลก3,4
แตกต่างกัน กล่าวคือ ต้านแบคทีเรีย (antibiotics/ รปู รา่ งและลกั ษณะของแบคทีเรยี
antibacterials) ต้านไวรัส (antivirals) ต้านปรสิต แบคทเี รยี เปน็ สงิ่ มชี วี ติ ขนาดเลก็ ไมส่ ามารถ
(antiparasitics) ต้านพยาธิ (anthelmintics) ต้าน มองเหน็ ไดด้ ว้ ยตาเปลา่ เปน็ สง่ิ มชี วี ติ ชนดิ prokaryotic
เชอ้ื รา (antifungals)1 ซงึ่ ในบทความนจ้ี ะกลา่ วเฉพาะ cells ซึ่งมีลักษณะเฉพาะ คือ ไม่มีเย่ือหุ้มนิวเคลียส
antibiotics ซึ่งเปน็ ยาปฏิชวี นะ (antibiotics; ATBs) (nuclear membrane) โดยมีผนังเซลล์ (cell wall)
ใช้ในการรักษาอาการ หรือโรคที่มีสาเหตุมาจาก และเยื่อหมุ้ เซลล์ (cell membrane) ท�ำหนา้ ที่หอ่ หุ้ม
การติดเชื้อแบคทีเรีย โดยยาชนิดนี้จะไปยับยั้งการ ไซโตพลาซึม สารพันธุกรรม และออร์แกเนลล์ต่างๆ
เจริญเติบโตหรือฆ่าเชื้อแบคทีเรียด้วยกลไกต่างๆ เพื่อให้แบคทีเรียคงรูปอยู่ได้5 (รูปท่ี 1) เป็นท่ีทราบ
เชน่ ยบั ยง้ั การสงั เคราะหส์ ารพนั ธกุ รรมของแบคทเี รยี กันดีว่าแบคทีเรียส่วนใหญ่ท�ำให้เกิดโรคต่างๆ ซึ่ง
ยับยง้ั การสรา้ งผนังเซลล์ เยือ่ หุ้มเซลล์ และยบั ยง้ั การ สามารถกอ่ โรคไดท้ ง้ั ในคนและสตั ว์ เรยี กวา่ แบคทเี รยี
สงั เคราะห์โปรตนี เปน็ ตน้ 2 กอ่ โรค (pathogenic bacteria) โดยแบคทเี รยี จะผลติ
หากใชย้ าปฏชิ วี นะไมถ่ กู ตอ้ ง หรอื ใชย้ าอยา่ ง สารพิษ (toxins) ออกมารบกวนกระบวนการต่างๆ
พร่�ำเพร่ือ ไม่สมเหตุสมผลจะน�ำไปสู่การดื้อยาของ ในร่างกายของส่ิงมีชีวิต ส่งผลให้เกิดโรคหรืออาการ
เชื้อแบคทีเรียด้วยหลากหลายกลไก เช่น แบคทีเรีย ป่วยข้ึน แต่ยังมีแบคทีเรียบางชนิดที่เป็นประโยชน์
สรา้ งเอนไซมม์ าทำ� ลายยา แบคทเี รยี มกี ารปรบั เปลย่ี น ต่อร่างกายของสิ่งมีชีวิต (beneficial bacteria)6,7
เป้าหมายในการออกฤทธ์ิของยา (target sites) เชน่ แบคทเี รียทอี่ าศัยในล�ำไสใ้ หญข่ องมนษุ ย์
การสร้าง efflux pump ของแบคทีเรียเพื่อน�ำยา
ออกจากเซลล์ และการป้องกันหรือขัดขวางไม่ให้ยา

J Med Health Sci Vol.27 No.2 August 2020 127

รูปท่ี 1 โครงสรา้ งของแบคทเี รยี 5

แบคทีเรียแบ่งตามองค์ประกอบของผนัง ซับซ้อนกว่า กล่าวคือ ช้ันของ peptidoglycan
เซลล์และเยื่อหุ้มเซลล์ได้เป็น 2 ชนิด คือ แบคทีเรีย ท่ีบางกว่าในแบคทีเรียแกรมบวก และมีชั้นของ
แกรมบวก (gram positive bacteria) และแบคทีเรยี lipopolysaccharide (LPS) เป็นส่วนประกอบของ
แกรมลบ (gram negative bacteria) โดยผนังเซลล์ เย่ือหุ้มชั้นนอก (outer membrane) (รูปที่ 2B)
ของแบคทีเรียแกรมบวกจะประกอบด้วยชั้นของ ซึ่งโครงสร้างและลักษณะของผนังเซลล์แบคทีเรียที่
peptidoglycan และ teicholic acids (รูปที่ 2A) แตกต่างกัน มีผลต่อการออกฤทธ์ิของยาปฏิชีวนะ
ส่วนผนังเซลล์ของแบคทีเรียแกรมลบจะค่อนข้าง และการดื้อยา5

(2A) (2B)

รูปที่ 2 โครงสร้างผนงั เซลล์ของแบคทเี รีย (2A) โครงสร้างผนงั เซลล์ของแบคทเี รียแกรมบวก5 (2B) โครงสร้าง
ผนังเซลลข์ องแบคทีเรยี แกรมลบ5
128 J Med Health Sci Vol.27 No.2 August 2020

ยาปฏิชีวนะและกลไกการออกฤทธ์ิของยา เยอื่ หมุ้ เซลล์ หรอื cytoplasmic membrane
ยาปฏิชีวนะเป็นยาท่ีใช้ในการรักษาการ ท�ำหน้าท่ีปกคลุมไซโตพลาซึม ควบคุมการผ่าน
ติดเช้ือแบคทีเรีย ซ่ึงยาจะออกฤทธ์ิโดยการรบกวน เข้า-ออกของสารภายในและภายนอกเซลล์ของ
กระบวนการท�ำงานต่างๆ และท�ำลายโครงสร้างของ แบคทีเรีย เมื่อเย่ือหุ้มเซลล์ถูกรบกวนการท�ำงาน
แบคทีเรีย มีฤทธิ์ต่อเชื้อ 2 ประการ คือ ฆ่าเช้ือ หรือสูญเสียหน้าที่ สารต่างๆ จะไหลออกจากเซลล์
แบคทีเรีย (bactericidal) และยับย้งั การเจริญเติบโต เป็นผลให้เซลล์แบคทีเรียเกิดการตาย9 ยาในกลุ่มน้ี
ของแบคทเี รยี (bacteriostatic) โดยแบคทเี รยี เหลา่ นี้ ไดแ้ ก่ polymyxins
จะถูกท�ำลายด้วยระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายในเวลา 3. ยาปฏิชีวนะท่ีมีผลยับยั้งการสังเคราะห์
ต่อมา1,2 กลไกการออกฤทธ์ิของยาปฏิชีวนะต่อเชื้อ โปรตนี (protein synthesis inhibitors)
แบคทีเรียแบง่ ออกเป็น 3 กลไกหลกั ดงั น้ี กระบวนการสังเคราะห์โปรตีนในเซลล์
1. ท�ำลายผนังเซลล์และเยื่อหุ้มเซลล์ของ แบคทีเรียเป็นกระบวนการที่ส�ำคัญเช่นเดียวกับ
แบคทเี รีย เซลล์มนุษย์ซึ่งไรโบโซมจะท�ำหน้าท่ีสร้างโปรตีน
2. ยบั ยงั้ หรอื รบกวนกระบวนการสงั เคราะห์ ในแบคทีเรียจะพบไรโบโซมชนิด 70S ประกอบด้วย
กรดนิวคลอี ิก ไดแ้ ก่ ดีเอน็ เอ และอาร์เอ็นเอ หน่วยย่อย 30S และ 50S (รูปท่ี 3) ซ่ึงหน่วยย่อย
3. ยบั ยงั้ หรอื รบกวนกระบวนการสงั เคราะห์ ทงั้ 2 ชนดิ นีเ้ ป็นเป้าหมายหลักของยา9
โปรตีนภายในเซลล์แบคทเี รีย - ยาปฏิชีวนะที่ยับยั้งไรโบโซมหน่วยย่อย
โดยเป้าหมาย (target sites) ในการ ชนดิ 30S ไดแ้ ก่ aminoglycosides และ tetracyclins
ออกฤทธ์ิของยาปฏิชีวนะจะมีผลต่อเซลล์แบคทีเรีย - ยาปฏิชีวนะที่ยับยั้งไรโบโซมหน่วยย่อย
และส่ิงแวดล้อมรอบแบคทีเรียเท่าน้ัน (specific for ชนิด 50S ได้แก่ macrolides, clindamycin,
bacteria) ไมม่ ีผลต่อเซลล์ของมนษุ ย1์ linezolid, streptogramins และ chloramphenicol
กล่มุ ของยาปฏชิ ีวนะ โดยแบง่ ตามกลไกการ 4. ยาปฏิชีวนะที่มีผลยับยั้งการสังเคราะห์
ออกฤทธ์ิเปน็ 5 กลุ่ม ดังนี้ กรดนิวคลอี ิก (nucleic acid synthesis inhibitors)
1. ยาปฏิชีวนะที่มีผลยับยั้งการสร้างผนัง กรดนวิ คลอี กิ ในเซลลแ์ บคทเี รยี ประกอบดว้ ย
เซลลข์ องแบคทเี รยี (cell wall synthesis inhibitors) DNA และ RNA ยาปฏชิ วี นะทมี่ ผี ลยบั ยงั้ การสงั เคราะห์
ผนังเซลล์ของแบคทีเรียประกอบด้วย RNA จะรบกวนกระบวนการ transcription ส่งผล
polysaccharide มาเชื่อมกันคลา้ ยโครงสร้างตาขา่ ย ให้ไม่เกิดการสร้าง mRNA เมื่อไม่มี mRNA เกิดข้ึน
เรียกว่า peptidoglycan ยาจะยับยั้งกระบวนการ จะไม่มีการสร้างโปรตีนเกิดขึ้นในล�ำดับถัดไป ยาใน
สร้างผนังเซลล์ โดยยาจับกับ penicillin binding กลุ่มนี้ ได้แก่ rifampin สว่ นยาปฏชิ ีวนะทมี่ ผี ลยบั ย้ัง
proteins (PBPs) ซึ่งเกี่ยวข้องกับการเกิด cross- การสังเคราะห์ DNA มีกลไกการออกฤทธิ์โดยยาจะ
linking ของสาย peptidoglycan8 ยาในกลมุ่ น้ี ได้แก่ ยบั ยัง้ การท�ำงานของ DNA gyrase ซ่งึ เป็นเอนไซมท์ ่ี
penicillins, cephalosporins, carbapenems, เกีย่ วขอ้ งกบั การคลายตัวของเกลียว DNA ในระหว่าง
monobactams และ glycopeptides ที่มีการจ�ำลองตัวของ DNA เมื่อเอนไซม์ DNA gyrase
2. ยาปฏิชีวนะท่ีมีผลยับย้ังการท�ำหน้าท่ี ถูกยบั ยัง้ สง่ ผลให้เกดิ ภาวะเครยี ดในเซลล์ และเซลล์
ของเยื่อหุ้มเซลล์ของแบคทีเรีย (inhibitors of แบคทเี รยี ตายในทส่ี ดุ ยาในกลมุ่ น้ี ไดแ้ ก่ quinolones9
membrane function) (รูปท่ี 3) หรือยาบางชนิดมีผลต่อ DNA โดยตรง

J Med Health Sci Vol.27 No.2 August 2020 129

เช่น metronidazole ซึ่งเป็นยาในรูปที่ไม่ออกฤทธิ์ (nitro anionic radical) ไปจบั กบั สาย DNA สง่ ผล
(prodrug) เมื่อยาเข้าสู่เซลล์แบคทีเรียจะถูกเปลี่ยน ใหเ้ กดิ ความเสยี หายของ DNA ในแบคทเี รีย10,11
ให้อยู่ในรูปที่ออกฤทธ์ิ เกิดอนุมูลอิสระไนโตร

รปู ท่ี 3 กลไกการออกฤทธข์ิ องยาปฏชิ วี นะ8 (PABA, p-aminobenzoic acid; DHFA, dihydrofolic acid; THFA,
tetrahydrofolic acid)

5. ยาปฏิชีวนะท่ีมีผลยับย้ังกรดโฟลิก ของยาต่อเชื้อลดลง (less sensitivity) เนื่องมาจาก
(folic acid metabolism inhibitors) การปรับตัวของแบคทีเรียต่อยาด้วยหลากหลายกลไก
กรดโฟลกิ เปน็ สารทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั กระบวนการ ท�ำให้ใช้ยาปฏิชีวนะตัวเดิมไม่ได้ผล จ�ำเป็นต้องหายา
ส�ำคัญในแบคทีเรีย ซ่ึงท�ำหน้าท่ีเป็น cofactor ใน ตวั ใหมม่ าใชใ้ นการรกั ษา2 ซงึ่ ปจั จบุ นั ปญั หาแบคทเี รยี
กระบวนการสังเคราะห์ DNA เม่ือยาไปยับย้ังการ ดื้อยามีแนวโน้มเพ่ิมมากข้ึน ต้ังแต่การค้นพบ
สร้างและการท�ำงานของกรดโฟลิก ส่งผลให้การ penicillin ในช่วงทศวรรษท่ี 1920 ปี ค.ศ. 1928 โดย
สร้างสารพันธุกรรมของแบคทีเรียถูกรบกวน เซลล์ Sir Alexander Fleming ซง่ึ เป็นยาปฏชิ วี นะตวั แรก
แบคทีเรียหยุดการเจริญเติบโต12 ยาในกลุ่มนี้ ได้แก่ ไดม้ กี ารนำ� ยา penicillin มาใชใ้ นการรกั ษาการตดิ เชอ้ื
sulfonamides และ trimethoprim แบคทีเรยี นับเปน็ ประโยชนม์ หาศาลในการรักษาโรค
เชื้อแบคทีเรียดอื้ ยาปฏชิ วี นะ ที่เกิดจากเช้ือแบคทีเรีย ท�ำให้อัตราการรอดชีวิต
การดอื้ ยาปฏชิ วี นะ (antibiotic resistance) ของผู้ป่วยจากการติดเช้ือเพ่ิมมากขึ้น จนกระท่ัง
คือ การท่ียาปฏิชีวนะมีความสามารถในการท�ำลาย ปี ค.ศ. 1943 เริ่มพบเชื้อท่ีด้ือต่อยา penicillin
หรอื ยบั ยงั้ การเจรญิ เตบิ โตของแบคทเี รยี ลดลง ความไว ซึ่งในช่วงเวลาดังกล่าวมีการค้นพบยาปฏิชีวนะ
ตวั ใหม่ ๆ เพมิ่ ขน้ึ อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง เชน่ cephalosporins,

130 J Med Health Sci Vol.27 No.2 August 2020

carbapenems และ fluoroquinolones เป็นต้น spectrum beta-lactamases; ESBL) ส่งผลให้
แต่ในขณะเดียวกันแบคทีเรียจะเกิดการปรับตัวเพื่อ เกิดการด้ือยากลุ่มดังกล่าวในแบคทีเรียแกรมลบ
การมีชีวิตรอดอยู่ตลอดเวลาเม่ือได้รับยาปฏิชีวนะ (gram negative bacteria)13,14 นับตงั้ แต่เริ่มมกี ารใช้
ทไี่ มเ่ หมาะสมจนเกดิ การดอื้ ตอ่ ยา เชน่ vancomycin- ยา penicillin พบวา่ Escherichia coli เปน็ แบคทเี รยี
resistant enterococci (VRE), carbapenem- แกรมลบชนดิ แรกทมี่ กี ารสรา้ ง beta-lactamases มา
resistant enterobacteriaceae (CRE) และ ทำ� ลายยา15 จะเห็นได้ว่าการดือ้ ยาปฏชิ ีวนะเกิดขน้ึ มา
methicillin-resistant Staphylococcus aureus เปน็ เวลาชา้ นาน2 (รูปที่ 4) ซงึ่ เชือ้ แบคทีเรียดอื้ ตอ่ ยา
(MRSA) เป็นต้น นอกจากนี้ ยังพบว่าเช้ือแบคทีเรีย ปฏิชีวนะนับเป็นปัญหาทางด้านสาธารณสุขที่ต้องได้
บางชนิด เช่น Escherichia coli และ Klebsiella รับการป้องกันและควบคุมการเกิดการดื้อยาดังกล่าว
pneumoniae จะสรา้ งเอนไซม์ beta-lactamases อยา่ งเคร่งครดั
มาท�ำลายยากลุ่ม beta-lactams (extended-

รปู ท่ี 4 ชว่ งเวลาการคน้ พบยาปฏชิ วี นะ และชว่ งเวลาที่แบคทีเรียเกิดการด้อื ยา2

กลไกการดอ้ื ยาปฏชิ วี นะของแบคทีเรีย 1. intrinsic resistance คือ การท่ียา
การดื้อยาปฏิชีวนะของแบคทีเรีย เกิดจาก ปฏิชีวนะบางชนิดไม่สามารถท�ำลายหรือยับย้ังการ
แบคทีเรียมีการปรับตัวต่อยาปฏิชีวนะท่ีได้รับเพ่ือ เจริญเติบโตของแบคทีเรียบางชนิดได้ เน่ืองจาก
ความอยรู่ อดดว้ ยกลไกตา่ ง ๆ ดังน้ี ธรรมชาติของแบคทีเรียชนิดน้ันไม่มี target sites

J Med Health Sci Vol.27 No.2 August 2020 131

ส�ำหรับยาปฏิชวี นะ12 เชน่ ยาในกลมุ่ beta-lactams ตา่ งจาก PBP โดยการสรา้ ง PBP2a ถูกกําหนดโดยยีน
ไม่สามารถออกฤทธ์ิยับยั้งเช้ือแบคทีเรียแกรมบวกได้ mecA ที่อยู่บน staphylococcal chromosome
(gram positive bacteria) เน่ืองจากแบคทีเรีย cassette mec (SCCmec) ของ MRSA ท�ำให้
แกรมบวกไมม่ ี penicillin binding protein (PBP) ยาปฏิชีวนะไม่สามารถไปจับกับ PBP ได้ หรือจับได้
ซ่ึงเป็นเป้าหมายของยา หรือยา metronidazole น้อยลง จึงออกฤทธ์ิท�ำลายแบคทีเรียไม่ได้ ส่งผลให้
ไม่สามารถท�ำลายเชื้อแบคทีเรียท่ีต้องการออกซิเจน เชือ้ เกดิ การด้ือยา22
(aerobic bacteria) เน่ืองจากแบคทีเรียเหล่าน้ี
ไมส่ ามารถเปล่ียนยาใหอ้ ยใู่ นรปู ออกฤทธิไ์ ด1้ 6 การถา่ ยโอนยนี ด้อื ยา (horizontal gene
2. acquired resistance เมื่อได้รับยา transfer; HGT)
ปฏิชีวนะท่ีไม่เหมาะสม ท�ำให้เช้ือแบคทีเรียมีกลไก กลไกการถ่ายโอนยีนดื้อยาปฏิชีวนะ แบ่ง
การปรบั ตวั ต่อยาปฏิชวี นะทีไ่ ดร้ บั เพอ่ื การมีชีวติ รอด ออกเปน็ 3 กลไก ดงั น้ี
ส่งผลให้เกิดการด้ือยาตามมาและการใช้ยาปฏิชีวนะ 1. conjugation เป็นการถ่ายทอดสาร
ต่อเช้ือที่ดื้อจึงไม่ได้ผล โดยแบคทีเรียบางชนิดอาจใช้ พนั ธกุ รรมหรอื พลาสมดิ (เปน็ สารพนั ธกุ รรมสว่ นเลก็ ๆ
หลายกลไกรว่ มกนั ในการดือ้ ยา ซึ่งแบ่งออกเป็นกลไก ที่แยกออกมาจากโครโมโชมหลักของแบคทีเรีย
ยอ่ ย ดงั น1ี้ 2,17,18 เรียกว่า extrachromosomal DNA) ท่ีมียีนด้ือยา
- แบคทีเรียสร้างเอนไซม์มาท�ำลายยา โดยแบคทีเรียมาสัมผัสกัน และมีการถ่ายทอด
(drug inactivation / modification) เช่น แบคทเี รยี พลาสมิดผ่านทาง pili หรือ adhesins การถา่ ยทอด
กลมุ่ gram negative bacilli สรา้ ง beta-lactamase ลักษณะน้ีจะเกิดระหว่างแบคทีเรียสปีชีส์เดียวกัน
มาทำ� ลายพันธะทเ่ี ชอ่ื มเป็น beta-lactam ring ของ ส่งผลให้แบคทีเรียท่ีได้รับพลาสมิดท่ีมียีนด้ือยา
ยาเพนิซิลลนิ ปฏชิ ีวนะ เกิดการดอื้ ยาปฏชิ วี นะข้ึน23 มีการรายงาน
- ลดการน�ำยาเข้าสู่ภายในเชื้อแบคทีเรีย พบว่า Enterobacteriaceae มีพลาสมิดประมาณ
และมีการสร้าง efflux pumps เพื่อขับยาออกจาก 28 ชนิดท่ีถ่ายทอดยีนดื้อยา ท่ีพบบ่อย ได้แก่ IncF,
แบคทเี รยี ท�ำใหป้ รมิ าณยาในแบคทีเรียลดลง จึงเกดิ IncI, IncA/C, IncL, IncN และ IncH เป็นต้น24
การดอื้ ยาตามมา โดย efflux pumps จะแบง่ ออกเปน็ นอกจากน้ี ยงั พบยนี ดอื้ ยาอน่ื ๆ ในแบคทเี รยี หลายชนดิ
5 กลุ่มใหญ1่ 8,19 ดงั น้ี ATP-binding cassette (ABC) ท่ถี ่ายทอดผ่านพลาสมดิ เชน่ Escherichia coli มยี นี
superfamily, major facilitator superfamily (MFS), mcr-1 (plasmid-mediated colistin resistance)
multidrug and toxic-compound extrusion ท�ำให้ใช้ยา colistin ไม่ได้ผล25 Escherichia coli,
(MATE) family, small multidrug resistance (SMR) Klebsiella pneumoniae, Enterobacter cloacae,
family และ resistance nodulation division (RND) Acinetobacter baumannii และ Pseudomonas
family (รปู ท่ี 5) เชน่ Escherichia coli และแบคทเี รยี Dspeplh.i-mมียeีนtalblol-abNeMtDa-1-laทc่ีคtaวmบaคsุมeกs า(รNสDรM้า-ง1) New
แกรมลบอืน่ ๆ ส่วนใหญจ่ ะสรา้ ง AcrAB-TolC ซง่ึ เป็น หรือ
efflux pump ที่อยู่ใน RND family20,21 carbapenemases ส่งผลให้แบคทีเรียดื้อต่อยากลุ่ม
- แบคทีเรียมีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้าง carbapenems26
ของเป้าหมายยา (alteration of target site) เช่น 2. transformation เป็นการเคล่ือนย้าย
การดอื้ ตอ่ ยา methicillin ใน MRSA มกี ลไกการดอ้ื ยา สารพันธุกรรมจากแบคทีเรียที่มียีนด้ือยาไปยัง
จาก PBP ถูกสร้างข้ึนใหม่เปน PBP2a ซง่ึ มีโครงสร้าง แบคทีเรียท่ีไม่มียีนดื้อยา โดยสารพันธุกรรมจะถูก

132 J Med Health Sci Vol.27 No.2 August 2020

ปล่อยออกมานอกแบคทีเรีย (naked fragments 3. transduction เป็นการเคลื่อนย้ายยีน
of extracellular DNA) และเข้าไปสู่แบคทีเรีย ดอื้ ยาจากแบคทเี รยี เซลลห์ นง่ึ ไปยงั แบคทเี รยี อกี เซลล์
อีกเซลล์ ซึ่งสภาพแวดล้อมรอบแบคทีเรียต้อง หนึ่งโดยอาศัยไวรัสของแบคทีเรีย (bacteriophage)
เหมาะสม การถา่ ยทอดสารพนั ธกุ รรมลกั ษณะนเ้ี กดิ ได้ เช่น การเคลื่อนย้ายยีนดื้อยา tetracycline โดย
ทั้งในแบคทีเรียสายพันธุ์เดียวกันหรือต่างสายพันธุ์23 bacteriophage จาก Enterococcus gallinarum
เช่น vancomycin-resistant enterococci มีการ ไปยัง Enterococcus faecalis และยีนดื้อยา
เคลอ่ื นย้ายยนี vanA ท่อี ยู่บน Tn1546 transposon gentamicin จาก Enterococcus faecalis ไปยัง
ไปยัง Staphylococcus aureus ส่งผลให้เชื้อ Enterococcus faecium, Enterococcus durans
ดื้อต่อยา vancomycin (vancomycin-resistant และ Enterococcus casseliflavus29
Staphylococcus aureus; VRSA)27,28

รูปท่ี 5 กลไกการด้ือยาปฏิชีวนะ17 (ABC, ATP-binding cassette superfamily; MFS, major facilitator
superfamily; MATE, multidrug and toxic-compound extrusion family; SMR, small multidrug
resistance family และ RND, resistance nodulation division family)

133
J Med Health Sci Vol.27 No.2 August 2020

การควบคุมและป้องกันปัญหาเชอื้ ดื้อยา แบคทเี รียเหล่านี้วา่ superbug ซ่งึ ส่งผลใหอ้ ัตราการ
ปัญหาเชื้อด้ือยา นับเป็นปัญหาด้าน ตายจากการติดเช้อื แบคทีเรยี ดือ้ ยาเพ่ิมมากขนึ้ 3,4
สาธารณสขุ ระดบั โลกทมี่ หี ลายหนว่ ยงานใหค้ วามสนใจ ปัจจุบันท่ัวโลกมีผู้เสียชีวิตจากการติดเช้ือ
มีการส�ำรวจในสหรัฐอเมริกา พบว่า แต่ละปีจะพบ ดื้อยาประมาณ 700,000 คนต่อปี ซึ่งเป็นการ
ผู้ที่ติดเช้ือแบคทีเรียด้ือยาปีละประมาณ 2 ล้านคน ประมาณการณ์ท่ีต�่ำสุด (low estimate) และหาก
และเสียชีวิตประมาณ 23,000 คน นอกจากนี้ ยัง ปญั หาเชอ้ื ดอื้ ยายังไมไ่ ดร้ ับการควบคมุ ป้องกนั หรือ
สญู เสยี คา่ รกั ษาพยาบาล และคา่ ใชจ้ า่ ยอน่ื ๆ ประมาณ แกไ้ ข มกี ารคาดการณว์ า่ ในปี ค.ศ. 2050 จะมผี เู้ สยี ชวี ติ
20-35 พันล้านบาท ที่ส�ำคัญ คือ หากแบคทีเรีย จากเชื้อดอ้ื ยาสูงถึง 10 ล้านคน ซ่งึ สงู กว่าการตายจาก
เกิดการปรับตัวจนไม่มียาปฏิชีวนะตัวใดในโลกที่ โรคมะเรง็ (8.2 ลา้ นคน) โรคเบาหวาน (1.5 ลา้ นคน)
สามารถท�ำลายหรอื ยับยั้งการเจริญเตบิ โตได้ จะเรียก และทอ้ งเสยี (1.4 ล้านคน) ตามลำ� ดับ (รปู ท่ี 6)30

รปู ที่ 6 การคาดการณจ์ ำ� นวนผเู้ สยี ชวี ติ ทว่ั โลกจากการตดิ เชอื้ ดอื้ ยา เมอื่ เปรยี บเทยี บกบั โรคอน่ื ๆ ในปี ค.ศ. 205030

ส�ำหรับประเทศไทย พบอัตราการติดเชื้อ ข้อมูลจากศูนย์เฝ้าระวังเช้ือดื้อยาต้าน
ดื้อยาประมาณ 100,000 คนต่อปี และอัตราการ จุลชีพแห่งชาติ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข
เสียชีวิต 38,481 คนต่อปี อัตราของผู้ป่วยที่ต้อง ในปี พ.ศ. 2562 รายงานว่า Escherichia coli เป็น
นอนโรงพยาบาลนานข้ึนเป็น 3.24 ล้านวันต่อปี แบคทีเรียก่อโรคที่พบมากที่สุดในคน รองลงมาเป็น
สญู เสยี ทางเศรษฐกจิ ประมาณ 2,539 - 6,084 ลา้ นบาท เช้อื Klebsiella pneumoniae, Staphylococcus,
ตอ่ ป3ี 1,32 Acinetobacter baumannii และ Pseudomonas

134 J Med Health Sci Vol.27 No.2 August 2020

aeruginosa ตามล�ำดับ โดยพบวา่ Escherichia coli จะต้องใช้ colistin ในการรักษา33 เนื่องจากยังไม่มี
สว่ นใหญจ่ ะดอื้ ยากลมุ่ beta-lactams (ESBL) แตเ่ ชอื้ ยาปฏชิ วี นะขนานใหม่ท่มี ปี ระสทิ ธิภาพต่อเชอื้ เหล่าน้ี
ยังไวต่อยากลุ่ม carbapenems เช่น ertapenem, จากการรายงานขอ้ มลู สถานการณเ์ ชอื้ ดอ้ื ยา
imipenem และ meropenem ในขณะท่ี Klebsiella จุลชีพของศูนย์เฝ้าระวังเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพแห่งชาติ
pneumoniae เกิดการดื้อยากลุ่ม beta-lactams ในช่วงปี พ.ศ. 2543-2562 จากโรงพยาบาลจ�ำนวน
ทั้งหมด และความไวต่อยากลุ่ม carbapenems 79 แห่ง ในประเทศไทย34 พบว่า แบคทีเรียมีการ
นอ้ ยลง มเี พียงยา colistin และ amikacin ที่ใช้ไดผ้ ล ด้ือยาปฏิชีวนะหลายชนิด และอัตราการดื้อยาเพ่ิม
ส่วน Acinetobacter baumannii และ มากขึ้นหรือคงที่ ดังตารางท่ี 1
Pseudomonas aeruginosa ทีด่ ื้อต่อยาหลายกลุ่ม

ตารางท่ี 1 การด้ือยาปฏิชีวนะ 3 ชนิดแรกของเชื้อแบคทีเรีย ต้ังแต่ ปี พ.ศ. 2543-2562 จากโรงพยาบาล
จ�ำนวน 79 แหง่

แบคทเี รีย ยาปฏชิ ีวนะทีเ่ ชอ้ื เกดิ การดอื้ ร้อยละของการดือ้ ยา
Enterococcus spp. 3 ลำ�ดบั แรก พ.ศ. 2543 พ.ศ. 2562
Staphylococcus spp.
Streptococcus pneumoniae 1. tetracycline 79.70 90.00
Acinetobacter spp. 2. erythromycin 58.40 63.90
Pseudomonas aeruginosa 3. penicillin G 40.50 52.90
Escherichia coli 1. erythromycin 28.00 33.80
Klebsiella pneumoniae 2. cefoxitin 35.60 (พ.ศ. 2548) 32.50
3. clindamycin 13.30 28.00
1. erythromycin 26.60 34.50
2. oxacillin 45.80 32.40
3. penicillin G 15.90 29.30
1. cefepime 36.50 58.00
2. ciprofloxacin 44.30 37.40
3. imipenem 5.80 42.70
1. norfloxacin 54.90 36.50
2. imipenem 10.70 18.70
3. ceftazidime 22.20 16.70
1. ampicillin 75.20 83.70
2. ciprofloxacin 29.40 52.20
3. gentamicin 21.50 33.30
1. nitrofurantoin 35.00 36.50
2. ciprofloxacin 12.60 37.90
3. gentamicin 22.00 17.50

J Med Health Sci Vol.27 No.2 August 2020 135

แบคทเี รยี ดอ้ื ยามกั เกดิ การดอื้ ตอ่ ยาปฏชิ วี นะ สารคดั หลง่ั ผปู้ ว่ ย และสง่ิ แวดลอ้ มรอบตวั ผปู้ ว่ ย ผปู้ ว่ ย
หลายชนิด ส่งผลให้การรักษาต้องใช้ยาขนานใหม่ ตอ้ งไดร้ บั อาหารและนำ�้ ทสี่ ะอาดไมม่ กี ารปนเปอ้ื นของ
ท่ีมีฤทธ์ิต่อเชื้อ เช่น linezolid, tigecycline และ แบคทเี รยี
daptomycin เป็นต้น ซึ่งยาเหล่าน้ีมีราคาค่อนข้าง 3. หยดุ แพรเ่ ชอื้ ดอื้ ยา: บคุ ลากรทางการแพทย์
แพง และโอกาสท่ีแบคทีเรียจะด้ือยาขนานใหม่เพิ่ม ต้องล้างมือทุกคร้ังที่สัมผัสผู้ป่วย การแยกผู้ป่วยท่ี
มากข้นึ จากกลไกการดื้อยาและการถา่ ยโอนยีนดื้อยา ติดเชื้อดื้อยา ใช้หลักการ sterile technique และ
ผ่านพลาสมิดที่ได้กล่าวมาข้างต้น ส่งผลให้การดื้อยา aseptic technique ในการดูแลผู้ป่วย รวมถึงวัสดุ
ปฏิชีวนะเกิดข้ึนอย่างรวดเร็วและต่อเนื่อง ความ อุปกรณท์ างการแพทยต์ ้องปราศจากเชอ้ื
รุนแรงของเช้ือด้ือยาเพ่ิมมากขึ้น การติดเช้ือด้ือยา นอกจากน้ี โรงพยาบาลควรมีนโยบาย
ปฏิชีวนะหลายขนานท�ำให้การรักษายากข้ึน รวมถึง แนวทาง แนวปฏิบัติในการป้องกัน ควบคุม และ
มีโอกาสเสียชีวิตได้สูง เน่ืองจากเชื้อเหล่าน้ีมักไม่มี เฝ้าระวังการแพร่กระจายเชื้อดื้อยา เช่น แนวทาง
ยาปฏิชีวนะที่มีประสิทธิภาพเพียงพอในการต้านเช้ือ ในการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยท่ีติดเช้ือดื้อยา การจัดการ
หรือเป็นยาท่ีผลข้างเคียงสูง นอกจากน้ี ส่งผลให้การ ผา้ เปอ้ื น อปุ กรณเ์ ครอื่ งใชท้ างการแพทยท์ ใ่ี ชก้ บั ผปู้ ว่ ย
ควบคุมโรคตดิ เชอ้ื ทำ� ไดย้ ากขึ้น เพิม่ อัตราเส่ียงในการ ติดเชื้อด้ือยา การจัดการสิ่งแวดล้อมข้างเตียงผู้ป่วย
แพรก่ ระจายเชอื้ ดอ้ื ยาไปยงั ผอู้ น่ื มากขนึ้ นบั เปน็ ปญั หา การเขียนป้ายหรือท�ำสัญลักษณ์ส�ำหรับผู้ป่วยติดเชื้อ
ใหญ่ทางด้านการแพทย์และสาธารณสุข ผลท่ีตามมา ดื้อยา และการใชห้ ลกั standard precautions ใน
นอกเหนือจากผลกระทบทางด้านสุขภาพ ยังส่งผล การดูแลผู้ป่วยทุกราย รวมถึงควรมีการจัดอบรม
ต่อการสูญเสียทางเศรษฐกิจอย่างมหาศาล เช่น การ ใหค้ วามรเู้ กยี่ วกบั เชอื้ ดอื้ ยากบั บคุ ลากรทางการแพทย์
จา่ ยคา่ รักษาพยาบาลในราคาที่สงู การจดั ซ้ือจดั หายา อย่างสม่�ำเสมอ
ขนานใหมซ่ งึ่ มรี าคาแพง การผลติ ยาขนานใหม่ รวมถงึ ท้ังน้ีหน่วยงานต่าง ๆ ท่ีเกี่ยวข้องใน
การวิจัยพัฒนาคิดค้นยาขนานใหม่ ประเทศไทยได้มีการวางแผน เพ่ือจัดการปัญหาเรื่อง
การแพร่กระจายเชื้อดื้อยาในโรงพยาบาล เช้ือดื้อยาอย่างจริงจัง ได้มีนโยบาย แผนยุทธศาสตร์
มักเกิดขนึ้ อย่างรวดเร็ว สว่ นใหญ่จะสัมพนั ธ์กับการได้ และโครงการต่าง ๆ เก่ียวกับการจัดการเชื้อดื้อยา
รบั ยาปฏิชีวนะท่ีไม่เหมาะสม และการไดร้ บั เช้อื ด้ือยา ซึ่งการแก้ปัญหาเชื้อดื้อยาในประเทศไทยมีการ
ปฏิชีวนะจากผู้ป่วยรายหนึ่งไปยังผู้ป่วยอ่ืนจากการ ดำ� เนนิ การโดย 5 ภาคส่วน37 ดังน้ี
ท่ีบุคลากรทางการแพทย์ไม่ได้ปฏิบัติตามมาตรการ 1. กระทรวงสาธารณสุข เช่น กรม
ควบคุมและป้องกันการแพร่กระจายเช้ือโรคอย่าง วิทยาศาสตร์การแพทย์ กรมควบคุมโรค ส�ำนักคณะ
เครง่ ครดั เชน่ การลา้ งมอื การใชว้ สั ดุ อปุ กรณท์ างการ กรรมการอาหารและยา กรมการแพทย์ และสำ� นกั งาน
แพทย์ อาหารหรือน�้ำดื่มท่ีมีเช้ือแบคทีเรียด้ือยา ปลดั กระทรวงสาธารณสขุ
ปนเปื้อน และสิ่งแวดล้อมภายในโรงพยาบาล ดังนั้น 2. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เช่น กรม
แนวทางเพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่กระจายเชื้อ ปศุสัตว์ กรมประมง และส�ำนักงานมาตรฐานสินค้า
ด้ือยา ดงั นี้ เกษตรและอาหารแห่งชาติ
1. หยุดสร้างเชื้อดื้อยา: การใช้ยาปฏิชีวนะ 3. หน่วยงานรัฐอ่ืน ๆ เช่น ส�ำนักงานหลัก
ให้เหมาะสม และสมเหตุผล ไม่ซ้ือยาปฏิชีวนะ ประกันสุขภาพแห่งชาติ สถาบันรับรองคุณภาพ
มารบั ประทานเอง โดยไม่มใี บสงั่ ยาจากแพทย์ สถานพยาบาล (องค์การมหาชน) ส�ำนักงานกองทุน
2. หยดุ รบั เชอ้ื ดอ้ื ยา: บคุ ลากรทางการแพทย์ สนบั สนนุ การสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ และสถาบนั วจิ ยั ระบบ
ควรสวมถุงมือและต้องล้างมือทุกครั้งท่ีสัมผัสผู้ป่วย สาธารณสขุ

136 J Med Health Sci Vol.27 No.2 August 2020

4. สมาคมวิชาชีพและสถาบันการศึกษา References
เช่น สมาคมโรคติดเชื้อแห่งประเทศไทย สมาคม 1. Nathwani D. Overview of AMR In:
เภสัชกรรมชุมชน (ประเทศไทย) สัตวแพทยสภา
คณะแพทยศาสตร์ คณะเภสัชศาสตร์ และคณะ Nathwani D, editor. Antimicrobial
สัตวแพทยศาสตร์ stewardship from principles to practice.
5. ภาคประชาสังคม เช่น ศูนย์วิชาการ 1st ed. United Kingdom: British Society
เฝ้าระวัง และพฒั นาระบบยา for Antimicrobial Chemotherapy (BSAC).
หนว่ ยงานดงั กลา่ วขา้ งตน้ ลว้ นเปน็ หนว่ ยงาน 2018. p.12-26.
ท่ีส�ำคัญในการขับเคลื่อนนโยบายต่าง ๆ พร้อมทั้ง 2. Zaman SB, Hussain MA, Nye R, et al. A
จัดการและป้องกันเช้ือด้ือยาในประชาชน วงการ review on antibiotic resistance: Alarm
แพทย์และสาธารณสุข รวมถึงในสัตว์ด้วย เน่ืองจาก bells are ringing. Cureus 2017;9(6):e1403.
มีการน�ำยาปฏิชีวนะไปใช้ในสัตว์อย่างแพร่หลาย 3. Uddin BM, Yusuf A, Ratan ZA. A review
จนเกดิ การดอ้ื ยาจากการใชใ้ นเกษตรกรรม ยาปฏชิ วี นะ of superbug: A global threat in health
บางสว่ นจะตกคา้ งมากบั ผลติ ภณั ฑจ์ ากสตั ว์ เมอื่ มนษุ ย์ care system. Bangladesh J Infect Dis
น�ำมาเป็นอาหาร อาจได้รับยาปฏิชีวนะเหล่าน้ี ซึ่ง 2017;4(1):25-8.
ดูแลโดยกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ดังนั้น ปัญหา 4. Alpert PT. Superbugs: Antibiotic
เช้ือด้ือยานับเป็นปัญหาส�ำคัญที่ทุกคนควรตระหนัก resistance is becoming a major public
เห็นความส�ำคัญของการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างถูกต้อง health concern. Home Health Care
เหมาะสมอย่างเคร่งครัด เพ่ือป้องกันและลดการ Manag Pract 2016;29(2):130-3.
สูญเสียดา้ นต่าง ๆ จากการติดเช้อื แบคทีเรียดอ้ื ยา 5. Kumar S. Morphology of bacteria:
สรุปผล textbook of microbiology. 1st ed. London:
ยาปฏิชีวนะเป็นยาต้านแบคทีเรียท่ีนับว่า Jaypee Brothers Medical Publishers;
มีประโยชน์มหาศาลต่อวงการแพทย์ การใช้ยาอย่าง 2012.
ถูกต้องน�ำไปสู่การรอดชีวิตของผู้ป่วยท่ีติดเช้ือ 6. Kumar A, Chordia N. Role of microbes
แบคทีเรีย แต่ในขณะเดียวกันหากใช้ยาปฏิชีวนะ in human health. Appli Microbiol 2017;
โดยไมจ่ ำ� เปน็ หรอื การใชย้ าอยา่ งพรำ�่ เพรอ่ื จะเปน็ การ doi:10.4172/2471-9315.1000131.
เพ่ิมโอกาสให้เชื้อแบคทีเรียเกิดการดื้อยาได้มากขึ้น 7. Venkova T, Yeo CC, Espinosa M. Editorial:
การตดิ เชอื้ แบคทเี รยี ดอื้ ยา สง่ ผลใหผ้ ปู้ ว่ ยตอ้ งใชร้ ะยะ The good, the bad, and the ugly:
เวลาในการรักษานานข้ึน สิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายในการ multiple roles of bacteria in human life.
รักษาโดยไม่จ�ำเป็น และอาจเส่ียงต่อการสูญเสียชีวิต Front Microbiol 2018;9(1702):1-4.
จากการติดเช้ือ ซึ่งเป็นปัญหาใหญ่ด้านสาธารณสุข 8. Kapoor G, Saigal S, Elongavan A. Action
จึงจ�ำเป็นอย่างย่ิงท่ีทุกคนควรให้ความส�ำคัญและ and resistance mechanisms of antibiotics:
ตระหนักในการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างถูกต้องและ A guide for clinicians. J Anaesthesiol Clin
เหมาะสม Pharmacol 2017;33(3):300-5.
9. Ullah H, Ali S. Classification of anti-
bacterial agents and their functions.
Antibact agents 2017; doi: 10.5772/65630.

J Med Health Sci Vol.27 No.2 August 2020 137

10. Simon AD, Neil H, Metronidazole: an 16. Ali J, Rafiq QA, Ratcliffe E. Antimicrobial
update on metabolism, structure– resistance mechanisms and potential
cytotoxicity and resistance mechanisms. synthetic treatments. Future Sci OA
J Antimicrob Chemother 2018;73(2): 2018;4(4):FSO290.
265-79.
17. Peterson E, Kaur P. Antibiotic resistance
11. Ordoñez-Quiroz A, Ortega-Pierres MG, mechanisms in bacteria: relationships
Bazán-Tejeda ML, et al. DNA damage between resistance determinants of
induced by metronidazole in Giardia antibiotic producers, environmental
duodenalis triggers a DNA homologous bacteria, and clinical pathogens. Front
recombination response. Exp Parasitol Microbiol 2018;9(2928):1-21.
2018;194:24-31.
18. Munita JM, Arias CA. Mechanisms of
12. Dowling AM, Dwyer J, Adley C. Antibiotics: antibiotic resistance. Microbiol Spectr
Mode of action and mechanisms of 2015;4(2):1-24.
resistance. Nurs Stand 2011;25(42):49-55.
19. Sharma A, Gupta VK, Pathania R. Efflux
13. Ruh E, Zakka J, Hoti K, et al. Extended- pump inhibitors for bacterial pathogens:
spectrum β-lactamase, plasmid From bench to bedside. Indian J Med
mediated AmpC β-lactamase, Res 2019;149(2):129-45.
fluoroquinolone resistance, and
decreased susceptibility to carbapenems 20. Soto SM. Role of efflux pumps in
in Enterobacteriaceae: fecal carriage the antibiotic resistance of bacteria
rates and associated risk factors in embedded in a biofilm. Virulence
the community of Northern Cyprus. 2013;4(3):223-9.
Antimicrob Resist Infect Control
2019;10(8):98. 21. Alibert S, N’gompaza DJ, Hernandez J,
et al. Multidrug efflux pumps in gram-
14. Ur Rahman S, Ali T, Ali I, et al. The negative bacteria and their role in
growing genetic and functional diversity antibiotic resistance. Expert Opin Drug
of extended spectrum beta-lactamases. Metab Toxicol 2017;13(3):301-9.
Biomed Res Int 2018;26:9519718.
22. Sharon JP, Gavin KP. Mechanisms of
15. Day MJ, Hopkins KL, Wareham D, et methicillin resistance in Staphylococcus
al. Extended-spectrum β-lactamase- aureus. Annu Rev Biochem 2015;84(1):
producing Escherichia coli in human- 577-601.
derived and food chain-derived samples
from England, Wales, and Scotland: 23. von Wintersdorff CJ, Penders J, van
an epidemiological surveillance Niekerk JM, et al. Dissemination of
and typing study. Lancet Infect Dis antimicrobial resistance in microbial
2019;19(12):1325-35. ecosystems through horizontal gene
transfer. Front Microbiol 2016;19(7):173.

138 J Med Health Sci Vol.27 No.2 August 2020

24. Rozwandowicz M, Brouwer MSM, Fischer Review%20Paper%20-%20Tackling%20
J, et al. Plasmids carrying antimicrobial a%20crisis%20for%20the%20health%20
resistance genes in Enterobacteriaceae. and%20wealth%20of%20 nations_1.pdf.
J Antimicrob Chemother 2018;73(5): 31. National antimicrobial resistance
1121-37. surveillance center, Thailand (NARST)
[Internet]. Antimicrobial resistance
25. Gutiérrez C, Zenis J, Legarraga P, et al. situation in Thailand; 2013 [cited 2019
Genetic analysis of the first mcr-1 positive May 25]; Available from: http://narst.
Escherichia coli isolate collected from dmsc.moph.go.th/news001.html.
an outpatient in Chile. Braz J Infect Dis 32. Phumart P, Phodha T, Thamlikitkul V,
2019;23(3):203-6. et al. Health and economic impacts
of antimicrobial resistant infections in
26. Khan AU, Maryam L, Zarrilli R. Structure, Thailand: A preliminary study. JHSR
genetics and worldwide spread of New 2012;6(3):352-60.
Delhi Metallo-β-lactamase (NDM): a 33. National antimicrobial resistance
threat to public health. BMC Microbiol surveillance center, Thailand (NARST)
2017;17(1):101. [Internet]. Percentage of susceptible
organisms isolated from all specimen,
27. De Niederhäusern S, Bondi M, Messi 49 hospitals, Jan-Sep 2019 [cited 2020
P, et al. Vancomycin-resistance February 16]; Available from: http://narst.
transferability from VanA enterococci to dmsc.moph.go.th/antibiograms/2019/9/
Staphylococcus aureus. Curr Microbiol Jan-Sep2019-All.pdf.
2011;62(5):1363-7. 34. National antimicrobial resistance
surveillance center, Thailand (NARST)
28. Cong Y, Yang S, Rao X. Vancomycin [Internet]. Antimicrobial resistance 2000-
resistant Staphylococcus aureus 2019 (6M) [cited 2020 February 16];
infections: A review of case updating Available from: http://narst.dmsc.moph.
and clinical features. J Adv Res 2020; go.th/data/AMR%202000-2019-06M.pdf.
21:169-76. 35. Sumpradit N, Suttajit S, Poonpolsub S,
et al. Landscape of antimicrobial
29. Mazaheri NFR, Barton MD, Heuzenroeder resistance situation and action in
MW. Bacteriophage-mediated Thailand. National Action Plan on
transduction of antibiotic resistance Antimicrobial Resistance. 2014; Oct 8;
in enterococci. Lett Appl Microbiol Nontaburi, Thailand. Aksorn graphic and
2011;52(6):559-64. design publisher; 2015. p. 1-143.

30. O’Neill J. Antimicrobial Resistance:
Tackling a crisis for the health and wealth
of nations [Internet]. 2014 [cited 2019
May 25]; Available from: https://amr-
review.org/sites/default/files/AMR%20

J Med Health Sci Vol.27 No.2 August 2020 139


Click to View FlipBook Version