The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

2564_การพัฒนาแหล่งเรียนรู้ในยุคดิจิทัล_วัยแรงงาน ใช้เพื่อทางการศึกษาเท่านั้น

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by tanmicro, 2022-01-26 19:31:38

2564_การพัฒนาแหล่งเรียนรู้ในยุคดิจิทัล_วัยแรงงาน

2564_การพัฒนาแหล่งเรียนรู้ในยุคดิจิทัล_วัยแรงงาน ใช้เพื่อทางการศึกษาเท่านั้น

แนวทางการพฒั นาแหลง่ การเรียนรู้
ในยคุ ดจิ ทิ ลั ท่เี หมาะสมกบั ผู้เรยี นวัยแรงงาน

ส�ำ นกั งานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศกึ ษาธิการ

371.33 สำ� นักงานเลขาธิการสภาการศึกษา
ส 691 น แนวทางการพัฒนาแหลง่ การเรยี นรใู้ นยคุ ดิจทิ ัลที่เหมาะสม
กบั ผู้เรียนวยั แรงงาน
กรุงเทพฯ : สกศ., 2563
20 หนา้
ISBN : 978-616-270-262-4
1. แหล่งการเรียนรใู้ นยุคดิจิทลั ท่ีเหมาะสมกบั ผู้เรียนวยั แรงงาน
2. ชื่อเร่อื ง

แนวทางการพฒั นาแหล่งการเรยี นรู้ในยคุ ดจิ ทิ ลั ทีเ่ หมาะสม
กับผูเ้ รยี นวยั แรงงาน
สง่ิ พมิ พ์ สกศ. อนั ดบั ท่ี 34/2563
ISBN 978-616-270-262-4
พิมพค์ รง้ั ที่ 1 พฤศจกิ ายน 2563
จ�ำนวนพิมพ ์ 2,000 เล่ม
พิมพ์เผยแพรโ่ ดย กลมุ่ มาตรฐานการศึกษา
สำ� นกั มาตรฐานการศึกษาและพัฒนาการเรยี นรู้
ส�ำนักงานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา
99/20 ถนนสุโขทัย เขตดสุ ติ กรุงเทพฯ 10300
โทรศพั ท์ : 0 2668 7123 ต่อ 2528, 2529
โทรสาร : 0 2243 1129
Website : www.onec.go.th
พมิ พ์ท ่ี บรษิ ทั 21 เซน็ จรู ่ี จ�ำกัด
19/25 หมู่ 8 ถนนเตม็ รัก-หนองกางเขน
ตำ� บลบางคูรัด อ�ำเภอบางบัวทอง จงั หวดั นนทบุรี 11110
โทรศพั ท์ : 0 2150 9676-8
โทรสาร : 0 2150 9679
E-mail : [email protected]
Website : www.21century.co.th

คำ� น�ำ

สำ� นกั งานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษาไดด้ ำ� เนนิ การศกึ ษาวจิ ยั รปู แบบและแนวทาง
การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้สมัยใหม่ในยุคดิจิทัลที่เหมาะสมกับผู้เรียนวัยแรงงาน
ร่วมกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ โดยมีวัตถุประสงค์
เพื่อส�ำรวจ/ศึกษารูปแบบ การใช้งานและผลสัมฤทธ์ิของแหล่งการเรียนรู้
สมยั ใหมใ่ นยคุ ดจิ ทิ ลั ทเ่ี หมาะสมกบั ผเู้ รยี นวยั แรงงาน และวเิ คราะหท์ ศิ ทาง แนวโนม้
การพฒั นาแหลง่ การเรยี นรสู้ มยั ใหมฯ่ รวมถงึ พฒั นารปู แบบ และแนวทางการพฒั นา
แหล่งการเรียนรู้สมัยใหม่ในยุคดิจิทัลที่เหมาะสมกับผู้เรียนวัยแรงงาน และ
สอดคล้องกับบริบทที่เปล่ียนแปลงไปของสังคมไทยและสังคมโลก โดยเอกสาร
เร่ือง “แนวทางการพัฒนาแหล่งการเรียนรู้ในยุคดิจิทัลที่เหมาะสมกับผู้เรียน
วยั แรงงาน” ฉบบั นี้ จดั ทำ� ขนึ้ เพอื่ ใหบ้ คุ ลากรทางการศกึ ษา และหนว่ ยงานทเี่ กยี่ วขอ้ ง
กับการจัดการศึกษาและพัฒนาแหล่งการเรียนรู้ส�ำหรับผู้เรียนวัยแรงงาน
น�ำไปเป็นแนวทางในการด�ำเนินงานพัฒนาแหล่งการเรียนรู้ท่ีเหมาะสมกับผู้เรียน
ในชว่ งวัยดังกล่าว
ส�ำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา ขอขอบคุณคณะนักวิจัยที่ได้ด�ำเนิน
การศึกษาวิจัยรูปแบบ และแนวทางการพัฒนาแหล่งการเรียนรู้สมัยใหม่ในยุค
ดิจิทัลท่ีเหมาะสมกับผู้เรียนวัยแรงงาน และหวังเป็นอย่างย่ิงว่ารายงานเอกสาร
ฉบับน้ี จะเป็นประโยชน์ต่อบุคลากรทางการศึกษา และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
กับการจัดการศึกษาและพัฒนาแหล่งการเรียนรู้ท่ีเหมาะสมและส่งเสริมการเรียนรู้
ของผู้เรยี นวัยแรงงาน ตอ่ ไป

(นายสุภทั ร จ�ำปาทอง)
เลขาธิการสภาการศกึ ษา

สารบญั

หน้า

แหลง่ การเรยี นรู้ในยุคดจิ ทิ ัลส�ำหรบั ผเู้ รียนวัยแรงงานมคี วามส�ำคญั อยา่ งไร ? 1

การใช้งานแหลง่ การเรยี นรู้ในยุคดิจทิ ลั ของผู้เรยี นวยั แรงงาน 3

ท ิศทา ง แ นวโน ม้ ของการใช แ้ ละก ารพฒั นาแหลง่ การเรียนรู้ในยุคดิจิทัล 7
สำ� หรบั ผเู้ รียนวัยแรงงาน

รูปแบบและแนวทางการพัฒนาแหลง่ การเรียนรู้ในยุคดจิ ิทัล 9
ทเ่ี หมาะสมกับผ้เู รยี นวยั แรงงาน

ตัวอย่างแหลง่ การเรยี นรู้ในยคุ ดิจทิ ลั ของผูเ้ รียนวยั แรงงาน 14

แหล่งการเรยี นรู้ในยุคดจิ ิทลั
ส�ำหรับผเู้ รียนวัยแรงงานมคี วามสำ� คญั อยา่ งไร ?

ประเทศไทยก�ำลังประสบปัญหาคุณภาพ
ของกำ� ลังแรงงานอายุ 15 ปขี นึ้ ไป ยงั ไม่ตรง
กับความต้องการของตลาดแรงงาน
โ ด ย ผ ล ก า ร ส� ำ ร ว จ ค ว า ม ต ้ อ ง ก า ร
แรงงานของผู้ประกอบการ พบว่า
แรงงานไทยทั้งท่ีเป็นแรงงานฝีมือ
และแรงงานก่ึงฝีมือ ยังมีทักษะ
ต่�ำกว่าความคาดหวังของผู้ประกอบการ
ทั้งทักษะด้านภาษาต่างประเทศ การใช้
คอมพิวเตอร์ คณิตศาสตร์ และการค�ำนวณ ทักษะการส่ือสาร การบริหารจัดการ
และความสามารถเฉพาะในวิชาชีพ (แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 - 2579,
2560) จึงเป็นความจ�ำเป็นเร่งด่วนในการพัฒนาก�ำลังคนในวัยแรงงานให้มี
ทักษะและสมรรถนะที่สามารถสร้างผลิตภาพ (Productivity) ที่สูงข้ึน โดยส่งเสริม
การเรียนรู้ตลอดชีวิตของผู้เรียนวัยแรงงานผ่าน แหล่งการเรียนรู้ที่หลากหลาย
เพื่อการเรียนรู้และพัฒนาตนเองตลอดเวลาให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลก
ในยคุ ดจิ ทิ ัลและตอบโจทย์ความตอ้ งการของตลาดแรงงานในปจั จบุ ัน

แนวทางการพัฒนาแหล่งการเรยี นรู้ 1
ในยุคดิจิทลั ท่เี หมาะสมกับผ้เู รียนวัยแรงงาน

แหลง่ การเรยี นรู้ในยุคดิจทิ ลั คอื อะไร ?

แหล่งการเรียนรู้ในยุคดิจิทัลหมายถึง พื้นท่ี หรืออาณาบริเวณ ส่ิงของ
บคุ คล เหตกุ ารณท์ เี่ ออ้ื อำ� นวยใหเ้ กดิ การเรยี นรขู้ องผเู้ รยี น แบง่ เปน็ พน้ื ทที่ างกายภาพ
ท่ีผู้เรียนสามารถจับต้องได้จริง และพ้ืนท่ีเสมือนหรือพื้นท่ีดิจิทัลท่ีผู้เรียนสามารถ
เขา้ ถงึ ไดผ้ า่ นเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร จ�ำแนกเปน็ 2 ประเภท ได้แก่

1. แหล่งการเรียนรู้ทางกายภาพ
1) แหลง่ การเรียนรปู้ ระเภทสถานท่ี
2) แหลง่ การเรียนรู้ประเภทบคุ คล
3) แหลง่ การเรียนร้ปู ระเภทวัสดุ
4) แหลง่ การเรยี นรปู้ ระเภทอุปกรณ์
5) แหล่งการเรียนรปู้ ระเภทกิจกรรม/เหตุการณ์

2. แหลง่ การเรยี นร้ดู จิ ิทัล
1) แหล่งการเรียนร้ปู ระเภทเครอื่ งมือค้นหาข้อมลู และแปลภาษา
2) แหล่งการเรียนรู้ประเภทเครอ่ื งมอื การจัดการและจัดเก็บขอ้ มูล
3) แหลง่ การเรยี นรู้ประเภทเครือ่ งมอื การสร้างเนื้อหานำ� เสนอและเผยแพร่
4) แหล่งการเรียนรปู้ ระเภทเครื่องมือการเรียนร้ทู างไกล
5) แหลง่ การเรียนรู้ประเภทเครือขา่ ยสงั คม/ชุมชนการเรยี นรู้ออนไลน์

ผเู้ รียนวยั แรงงานคือใคร ?

ผเู้ รยี นรทู้ ม่ี อี ายรุ ะหวา่ ง 15 - 59 ปี ทอี่ ยใู่ นตลาดแรงงานทง้ั ในระบบและนอกระบบ

2 แนวทางการพัฒนาแหลง่ การเรยี นรู้
ในยคุ ดิจทิ ลั ท่ีเหมาะสมกับผูเ้ รียนวัยแรงงาน

การใชง้ านแหลง่ การเรียนรู้
ในยุคดจิ ทิ ัลของผู้เรยี นวัยแรงงาน

ผเู้ รยี นวยั แรงงานนิยมใชแ้ หลง่ การเรยี นรู้ประเภทตา่ ง ๆ ดงั นี้

แหล่งการเรยี นรู้ทางกายภาพ

แหล่งการเรยี นรู้ประเภทสถานที่

แหลง่ การเรยี นรปู้ ระเภทบุคคล สพถืน้ าทน่ีหทรีท่ ือ�ำสงถาานน/ท่ี
เพ่อื นรว่ มงานในองคก์ ร
แรงงาน แหล่งการเรียนร้ปู ระเภทวัสดุ หนงั สอื
ในระบบ สมาร์ทโฟน
(กTจิ rกaiรnรinมgก)ารฝกึ อบรม
แหล่งการเรียนรูป้ ระเภทอุปกรณ์

แเหหตุ ลก่งากราณรเร์ ียนรปู้ ระเภทกจิ กรรม/

แนวทางการพัฒนาแหลง่ การเรยี นรู้ 3
ในยคุ ดิจิทัลทเ่ี หมาะสมกบั ผู้เรียนวยั แรงงาน

แรงงาน แหลง่ การเรียนรู้ประเภทสถานท่ี ทีพ่ ักอาศยั
นอกระบบ แหลง่ การเรียนร้ปู ระเภทบคุ คล เพือ่ นร่วมงานในองค์กร
แหลง่ การเรียนรู้ประเภทวัสดุ หนงั สอื
แหล่งการเรยี นรปู้ ระเภทอุปกรณ์ สมาร์ทโฟน
แเหหตุ ลก่งากราณรเร์ ยี นรปู้ ระเภทกจิ กรรม/ ก(Tิจrกaiรnรinมgก)ารฝึกอบรม

3

4 แนวทางการพัฒนาแหล่งการเรยี นรู้
ในยุคดิจทิ ลั ทเี่ หมาะสมกับผเู้ รยี นวัยแรงงาน

แหลง่ การเรียนรดู้ ิจิทลั

แกหาลรจง่ กดั ากราเรรแยี ลนะรแปู้ปรละภเภาทษเาครือ่ งมือ

กแหาลรจ่งกัดากราเรรแียลนะรจปู้ ดั รเกะเ็บภขท้อเคมรลู ื่องมือ Google Search
Google Chrome
แรงงาน กแหารลส่งรก้าางรเนเรือ้ ยีหนารนปู้ำ� เรสะนเภอทแลเคะเรผ่ือยงแมพอื ร่ Microsoft
ในระบบ Learning Playlist
Facebook
แหล่งการเรยี นรปู้ ระเภทเครื่องมอื
การเรยี นรทู้ างไกล

แชหุมลชง่นกกาารรเเรรียยี นนรรู้ปู้อรอะนเภไลทนเค์ รอื ขา่ ยสังคม/

แนวทางการพัฒนาแหลง่ การเรียนรู้ 5
ในยุคดจิ ิทัลทีเ่ หมาะสมกบั ผเู้ รยี นวัยแรงงาน

แรงงาน กแหาลรจง่ กัดากราเรรแียลนะรแ้ปูปรละภเภาทษเาครอื่ งมือ Google Search
นอกระบบ กแหาลรจ่งกัดากราเรรแียลนะรจปู้ ดั รเกะเบ็ภขทอ้ เคมรูลื่องมือ Google Chrome
แหล่งการเรยี นรปู้ ระเภทเคร่ืองมอื YouTube
การสร้างเนอ้ื หา น�ำเสนอ และเผยแพร่ Learning Playlist
กแหาลรเ่งรกยี านรรเรทู้ ียานงไรกู้ปลระเภทเครื่องมอื Facebook
แหลง่ การเรียนรูป้ ระเภทเครือข่ายสังคม/
ชุมชนการเรียนรูอ้ อนไลน์

6 แนวทางการพฒั นาแหล่งการเรียนรู้
ในยคุ ดจิ ทิ ัลทเ่ี หมาะสมกบั ผเู้ รยี นวยั แรงงาน

ทศิ ทางแนวโน้มของการใช้และการพฒั นาแหล่งการเรียนรู้
ในยคุ ดจิ ทิ ัลส�ำหรับผู้เรยี นวัยแรงงาน

1. การเขา้ ถงึ และการใช้ประโยชน์จากแหลง่ การเรียนรูส้ มัยใหม่ในยุคดจิ ทิ ลั

 แหล่งการเรียนรทู้ างกายภาพทีม่ ีแนวโนม้ ถูกนำ� มาใช้มากทสี่ ดุ
ตามลำ� ดับ ได้แก่
(1) ประเภทอุปกรณ์ เช่น สมาร์ทโฟน คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ คอมพิวเตอร์

พกพา (แล็ปทอ็ ป/โน๊ตบคุ๊ )
(2) ประเภทสถานท่ี
(3) ประเภทบุคคล
(4) ประเภทกิจกรรม/เหตุการณ์
 แหลง่ การเรยี นรดู้ จิ ทิ ลั 3 อนั ดบั แรกทม่ี แี นวโนม้ ถกู นำ� มาใชม้ ากทส่ี ดุ ไดแ้ ก่
(1) ประเภทเครอื ขา่ ยสงั คม/ชมุ ชนการเรยี นรอู้ อนไลน์เชน่ Facebook,LINE,

Instagram,Twitter, Facebook, Messenger
(2) ประเภทเครื่องมือคน้ หาข้อมูลและแปลภาษา (Google Search)
(3) ประเภทเคร่อื งมือการเรียนรู้ทางไกล (Learning Playlist on Youtube)

2. เปา้ หมายของการพัฒนาแหลง่ การเรียนรู้สมยั ใหม่ในยคุ ดจิ ิทัล

 เป้าหมายของการพฒั นาแหล่งการเรียนรู้สมยั ใหม่ในยคุ ดิจทิ ลั 3 อนั ดบั แรก
ไดแ้ ก่

(1) การเรียนรูเ้ พือ่ ปฏิบตั ไิ ด้จริง
(2) การเรยี นรทู้ ่จี ะอยรู่ ่วมกนั
(3) การเรียนรู้เพ่ือชวี ติ

แนวทางการพัฒนาแหลง่ การเรยี นรู้ 7
ในยุคดจิ ิทัลท่เี หมาะสมกับผู้เรียนวยั แรงงาน

3. รูปแบบของแหลง่ การเรยี นรู้สมยั ใหม่ในยุคดจิ ทิ ัล

 ลกั ษณะสำ� คญั ของแหลง่ การเรยี นรู้ 3 อนั ดบั แรกทมี่ แี นวโนม้ ถกู นำ� มาใช้
มากที่สุด ได้แก่
(1) ลกั ษณะเปน็ พ้ืนทีเ่ สมอื น ทผี่ เู้ รยี นสามารถเขา้ ถงึ ได้ผ่านเทคโนโลยี

สารสนเทศและการสื่อสาร
(2) ลักษณะแบบ ไร้รอยต่อ ท่ีเป็นการผสมผสานระหว่างสภาพแวดล้อม

ทางกายภาพและดิจทิ ัล
(3) ลกั ษณะเป็น พ้ืนที่ทางกายภาพ ท่ผี ู้เรยี นสามารถจบั ต้องได้จรงิ

4. เทคโนโลยกี ารพฒั นาแหลง่ การเรยี นรูส้ มัยใหม่ในยคุ ดิจิทัล

 เทคโนโลยที ี่มแี นวโนม้ ถูกนำ� มาใชพ้ ัฒนามากทส่ี ดุ ตามล�ำดับ ได้แก่
(1) ความเป็นจรงิ เสริม (Augmented Reality : AR)
ความเปน็ จรงิ เสมือน (Virtual Reality : VR)
ความเป็นจรงิ ผสม (Mixed Reality : MR)
เทคโนโลยกี ารประมวลผลแบบกลมุ่ เมฆ (Cloud Technology)
เทคโนโลยเี ช่อื มโยงทุกสรรพสิง่ (Internet of things : IoT)
(2) เวบ็ ไซต์ (website)
(3) ระบบห้องสมดุ อเิ ลก็ ทรอนิกส์ (e-Library)
(4) ควิ อารโ์ ค้ดเทคโนโลยี (QR Code Technology)
(5) แชทบอท หรือห่นุ ยนตส์ นทนา (Chatbot/Conversational Bot)
(6) ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence : AI)

8 แนวทางการพัฒนาแหล่งการเรยี นรู้
ในยคุ ดจิ ิทลั ท่เี หมาะสมกับผู้เรยี นวัยแรงงาน

รปู แบบและแนวทางการพฒั นาแหลง่ การเรยี นรู้
ในยคุ ดิจทิ ัลที่เหมาะสมกับผเู้ รยี นวยั แรงงาน

รปู แบบการพฒั นาแหลง่ การเรียนรู้
ในยคุ ดจิ ิทัลทเี่ หมาะสมกับผู้เรียนวยั แรงงาน

รูปแบบการพัฒนาแหล่งเรียนรู้ในยุคดิจิทัลที่เหมาะสมกับผู้เรียนวัยแรงงาน
โดยมอี งคป์ ระกอบและกระบวนการ ดังน้ี

รูปแบบ

องค์ประกอบ กระบวนการ 5 ขั้นตอน

เปา้ หมาย (1) การวเิ คราะหค์ วามต้องการ
รูปแบบ (2) การวางแผนและการออกแบบ
ผ้เู รยี นวยั แรงงาน (3) การสร้างตน้ แบบและทดสอบ
(4) การน�ำไปใชแ้ ละการตดิ ตาม
(5) การประเมินและรายงานผล

องคป์ ระกอบ 3 ส่วน
1. เป้าหมาย
 การเรยี นเพอ่ื รู้ (Learning to know)
 การเรียนเพื่อปฏบิ ตั ไิ ด้จรงิ (Learning to do)
 การเรยี นรู้ทจ่ี ะอยรู่ ว่ มกนั (Learning to live together)
 การเรียนร้เู พอ่ื ชีวติ (Learning to be)

แนวทางการพัฒนาแหล่งการเรียนรู้ 9
ในยคุ ดจิ ทิ ลั ที่เหมาะสมกับผเู้ รยี นวยั แรงงาน

2. รูปแบบ
แหล่งการเรียนรู้ทางกายภาพ (Physical
Learning Resources) และ แหล่งการเรียนรู้
ดิจิทลั (Digital Learning Resources)
3. ผ้เู รยี นวยั แรงงาน
เป็นองค์ประกอบส�ำคัญในการก�ำหนดกลุ่มเป้าหมาย (Target Group) เช่น
ผู้เรียนท่ีก�ำลังเข้าสู่วัยแรงงาน ผู้เรียนวัยแรงงานท้ังใน/นอกระบบ ผู้เรียนวัยแรงงาน
ตามสาขาอาชีพ

กระบวนการ 5 ข้นั ตอน

ข้ันตอนที่ 1 การวิเคราะหค์ วามต้องการ
 วเิ คราะห์ความต้องการของหน่วยงาน/องค์กร
 วิเคราะหค์ วามต้องการของกลุ่มเปา้ หมายผูเ้ รยี นวยั แรงงานแตล่ ะกลุ่ม
 ก�ำหนดวัตถุประสงค์ของการพัฒนาแหล่งการเรียนรู้ โดยใช้ผลที่ได้จาก

การวิเคราะห์ ความต้องการท้ังของหน่วยงาน/องค์กร และความต้องการ
ของกล่มุ เป้าหมาย
ขนั้ ตอนท่ี 2 การวางแผนและการออกแบบ
 สร้างแนวคิดใหม่ให้ตรงกับความต้องการ และประเมินความเป็นไปได้
เพอื่ เลอื กแนวคิดที่ดแี ละเหมาะสมไปใช้
 การจัดท�ำแผนพัฒนาแหล่งการเรียนรู้ฯ อาจจัดท�ำเป็นแผนระยะยาว
ระยะปานกลาง หรอื ระยะสนั้ ทง้ั นขี้ น้ึ อยกู่ บั แนวปฏบิ ตั ขิ องหนว่ ยงาน/องคก์ ร
ทคี่ รอบคลมุ 4 ประเดน็ ไดแ้ ก่ กลมุ่ เปา้ หมาย เปา้ หมาย/วตั ถปุ ระสงค์ ขอบเขต
และระยะเวลา

10 แนวทางการพฒั นาแหล่งการเรยี นรู้
ในยคุ ดจิ ทิ ัลท่เี หมาะสมกับผ้เู รยี นวัยแรงงาน

 ก�ำหนดวิธีการติดตามและประเมินผลความส�ำเร็จของการใช้แหล่งการเรียนรู้
สมัยใหม่ แบ่งเปน็ 2 ลกั ษณะ ไดแ้ ก่

1) การประเมนิ ที่ยดึ เปา้ หมายเป็นหลกั
2) การประเมินทไ่ี มย่ ึดเปา้ หมายเปน็ หลกั
ขั้นตอนท่ี 3 การสรา้ งต้นแบบและทดสอบ
 สร้างต้นแบบแหล่งการเรียนรู้สมัยใหม่ให้สอดคล้องกับแผนพัฒนาแหล่ง

การเรียนรู้ฯ แบง่ เปน็ 3 ลักษณะ ไดแ้ ก่ การสรา้ งต้นแบบแหลง่ การเรียนรู้
ทางกายภาพ ทางดิจทิ ลั และแบบ
ไร้รอยต่อ
 การตรวจสอบคณุ ภาพและทดสอบ
แหล่งการเรียนรฯู้ โดยผ้เู ช่ยี วชาญ
 การปรับปรุงคุณภาพของแหล่ง
การเรียนรู้ฯ ตามข้อคิดเห็นของ
ผู้เชี่ยวชาญและกลุ่มเป้าหมาย
จนกว่าจะไดร้ บั การยอมรบั
ข้นั ตอนท่ี 4 การนำ� ไปใช้และการตดิ ตาม
 การประชาสมั พนั ธแ์ หลง่ การเรยี นรสู้ มยั ใหมผ่ า่ นทาง ชอ่ งทางการสอื่ สารตา่ ง ๆ
โดย มงุ่ สร้างความเขา้ ใจในการเข้าถงึ และใชป้ ระโยชนจ์ ากแหล่งการเรยี นรูฯ้
 การให้บริการและการจัดการแหล่งการเรียนรู้สมัยใหม่ เพ่ือตอบสนอง
ความตอ้ งการและสร้างความพอใจ นำ� ไปสูก่ ารยอมรับ
 การตดิ ตามผลการใชแ้ หลง่ การเรยี นรสู้ มยั ใหม่ โดยนำ� เครอ่ื งมอื ทางเทคโนโลยี
สารสนเทศและการสื่อสารมาใช้ในการติดตามผลการใช้บริการแหล่ง
การเรยี นรู้ฯ

แนวทางการพัฒนาแหลง่ การเรยี นรู้ 11
ในยคุ ดจิ ทิ ัลที่เหมาะสมกับผู้เรียนวัยแรงงาน

ขั้นตอนที่ 5 การประเมนิ และรายงานผล
 การประเมินและรายงานผลการตอบสนองต่อแหล่งการเรียนรู้ท่ีเก่ียวกับ

ความคิดเห็นและความพึงพอใจของกลุ่มเป้าหมายที่มีต่อการใช้บริการ
แหล่งการเรียนรฯู้
 การประเมินและรายงานผลการเรียนรู้ท่ีเก่ียวกับผลการเรียนรู้ของกลุ่ม
เป้าหมาย ตามเป้าหมายในการส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตของผู้เรียน
วยั แรงงาน ตลอดจนครอบคลมุ ทงั้ ดา้ นความรู้ (Knowledge) ทกั ษะ (Skills)
และเจตคติ (Attitude)
 การประเมนิ และรายงานผลลพั ธท์ เ่ี กดิ ขนึ้ กบั หนว่ ยงาน/องคก์ รทเ่ี กยี่ วกบั ผลลพั ธ์
หรือผลกระทบตอ่ หนว่ ยงาน/องค์กร

12 แนวทางการพฒั นาแหลง่ การเรยี นรู้
ในยคุ ดจิ ทิ ลั ท่ีเหมาะสมกบั ผเู้ รียนวยั แรงงาน

แนวทางการพัฒนาแหล่งการเรียนรู้
ในยคุ ดจิ ิทลั ท่เี หมาะสมกับผู้เรียนวยั แรงงาน

1. ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง/หน่วยงาน/องค์กร ที่ต้องการน�ำรูปแบบการพัฒนา
แ ห ล ่ ง ก า ร เ รี ย น รู ้ ส มั ย ใ ห ม ่ ใ น ยุ ค ดิ จิ ทั ล ส� ำ ห รั บ ผู ้ เ รี ย น วั ย แ ร ง ง า น ไ ป ใ ช ้
ควรท�ำความเข้าใจในองค์ประกอบท้ัง 3 ส่วนอย่างชัดเจน
(เป้าหมาย รูปแบบ และผู้เรียนวัยแรงงาน) รวมทั้ง
ควรทำ� ความเขา้ ใจเกยี่ วกบั บรบิ ทของกลมุ่ เปา้ หมาย
ในแต่ละอาชีพ เนื่องจากในแต่ละอาชีพ
มคี วามแตกต่างกัน
2. กระบวนการพัฒนาแหล่งการเรียนรู้ฯ
ท้ัง 5 ข้ันตอน มีลักษณะเป็นการ “วนซ�้ำ”
(Iterative) เพ่ือพัฒนารูปแบบแหล่งการเรียนรู้ฯ
ให้มีความเหมาะสมและมีความสมบูรณ์มากย่ิงข้ึน ซ่ึงเป็นไปตาม
สถานการณ์และช่วงเวลา ณ ขณะนนั้
3. ในกระบวนการพัฒนาแหล่งการเรียนรู้ฯ ทั้ง 5 ขั้นตอน สามารถเลือกใช้
เคร่ืองมือได้อย่างหลากหลายให้สอดคล้องกับการด�ำเนินงานในแต่ละข้ันตอน
และเลือกใช้ให้เหมาะสมตามบริบท ตามความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย หรือ
ความตอ้ งการของหน่วยงาน/องค์กรนั้น ๆ

แนวทางการพฒั นาแหล่งการเรียนรู้ 13
ในยุคดจิ ิทลั ท่เี หมาะสมกบั ผเู้ รยี นวยั แรงงาน

ตัวอ ่ยางแห ่ลงการเ ีรยน ้รูใน ุยค ิด ิจทัลของผู้เ ีรยน ัวยแรงงาน

14 แนวทางการพัฒนาแหล่งการเรียนรู้
ในยุคดจิ ิทัลทเ่ี หมาะสมกับผเู้ รียนวัยแรงงาน

คณะผ้จู ดั ทำ� เอกสาร

ทป่ี รกึ ษา เลขาธกิ ารสภาการศึกษา
ดร.สภุ ัทร จ�ำปาทอง รองเลขาธิการสภาการศึกษา
ดร.สมศักดิ์ ดลประสิทธิ ์ รองเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา
ดร.อุษณยี ์ ธโนศวรรย ์ ผู้อำ� นวยการสำ� นักมาตรฐาน
นายส�ำเนา เนือ้ ทอง การศึกษาและพฒั นาการเรยี นรู้


คณะผู้วจิ ยั
รองศาสตราจารย์ ดร.ปรชั ญนนั ท์ นิลสขุ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีพระจอมเกล้า
พระนครเหนอื
รองศาสตราจารย์ ดร.ปณติ า วรรณพิรุณ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้
พระนครเหนอื
นายณัฐภัทร แก้วรัตนภัทร์ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้า
พระนครเหนอื
นายพงศธร ปาลี มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยพี ระจอมเกล้า
พระนครเหนอื
นายสโิ รดม มณีแฮด มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้า
พระนครเหนอื
นายณฐั พล ธนเชวงสกุล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยพี ระจอมเกล้า
พระนครเหนอื
นายวิษณุ นิตยธรรมกุล มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีพระจอมเกล้า
พระนครเหนอื

แนวทางการพฒั นาแหลง่ การเรียนรู้ 15
ในยุคดิจทิ ัลทเ่ี หมาะสมกับผูเ้ รียนวัยแรงงาน

ผูพ้ จิ ารณารายงาน ผู้อ�ำนวยการกลมุ่ มาตรฐานการศกึ ษา
ดร.ประวีณา อัสโย

บรรณาธกิ ารและเรียบเรียงเอกสาร นักวชิ าการศกึ ษาชำ� นาญการ
ดร.วิภาดา วานิช นักวชิ าการศึกษาปฏบิ ตั ิการ
นางสาวสุชาดา กลางสอน นักวิชาการศกึ ษาปฏิบตั กิ าร
นางสาวภควดี เกดิ บัณฑติ

ผรู้ บั ผิดชอบโครงการ ผู้อ�ำนวยการกลุม่ มาตรฐานการศกึ ษา
ดร.ประวีณา อัสโย นกั วิชาการศกึ ษาชำ� นาญการพิเศษ
นางสาวกรกมล จงึ ส�ำราญ นักวิชาการศึกษาช�ำนาญการพิเศษ
นางสุวรรณา สวุ รรณประภาพร นักวชิ าการศึกษาช�ำนาญการ
ดร.วิภาดา วานชิ นักวิชาการศกึ ษาปฏิบตั กิ าร
นางสาวอุบล ตรรี ตั น์วชิ ชา นักวิชาการศกึ ษาปฏบิ ตั กิ าร
นายพรพรหม เทพเรืองชัย (ก.ย. 2560 – ม.ค. 2563)
นกั วชิ าการศึกษาปฏบิ ัติการ
นางสาวนูรียา วาจิ นักวชิ าการศกึ ษาปฏิบัตกิ าร
นางสาวสุชาดา กลางสอน นกั วชิ าการศกึ ษาปฏบิ ัตกิ าร
นางสาวภควด ี เกิดบัณฑิต

หน่วยงานทรี่ บั ผิดชอบ
กลมุ่ มาตรฐานการศกึ ษา
สำ� นกั มาตรฐานการศึกษาและพัฒนาการเรยี นรู้
ส�ำนกั งานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา กระทรวงศึกษาธกิ าร
โทรศัพท์ 0 2668 7123
โทรสาร 0 2243 1129
Website : www.onec.go.th

16 แนวทางการพัฒนาแหลง่ การเรยี นรู้
ในยคุ ดจิ ิทัลทเี่ หมาะสมกบั ผู้เรียนวัยแรงงาน


Click to View FlipBook Version