หน่วยการเรียนที่ 2
ลักษณะทางกายภาพ
กับภัยพิบัติใน
ประเทศไทย
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม รายวิชา ภูมิศาสตร์
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ภัยพิ บัติ
ความหมายและประเภทของภัยพิ บัติ
ภัยพิบัติ คือ ภัยที่ก่อให้เกิดความเสียหายต่อชีวิต และทรัพย์สิน โดย
ส่งผลกระทบต่อภาวะเศรษฐกิจ และวิถีชีวิตของผู้คนในสังคมทั้งในระยะสั้น
และระยะยาว ภัยพิบัติแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ ภัยพิบัติทางธรรมชาติ
และภัยพิ บัติที่มนุษย์สร้างขึ้น
ภัยพิบัติทางธรรมชาติ คือ ภัยที่มีสาเหตุมาจากธรรมชาติ อาทิ
แผ่นดินไหว อุทกภัย อัคคีภัย พายุ การระเบิดที่กล่าวถึงนี้คือการ
ระเบิดของแก๊สที่ธรรมชาติปล่อยออกมาสู่ภายนอก นอกจากนี้ภัยพิบัติ
ทางธรรมชาติยังรวมถึงภัยจากนอกโลกด้วย เช่น อุกกาบาต
ภัยพิบัติที่มนุษย์สร้างขึ้น คือ ภัยพิบัติที่มีสาเหตุมาจากมนุษย์ เช่น
การสูบน้ำใต้ดินปริมาณมากจนส่งผลให้เกิดการทรุดตัวของพื้นดิน การ
ปล่อย ก๊าซเรือนกระจก ปริมาณมากจากโรงงานอุตสาหกรรมจนส่งผลให้
ระดับน้ำทะเลเพิ่มสูงขึ้นและท่วมพื้นที่ในระดับต่ำ การเปลี่ยนทางน้ำจน
ทำให้เกิดภัยแล้งในบางพื้นที่ เป็นต้น รวมถึงการทดลองทาง
วิทยาศาสตร์ เช่น การทดลองระเบิดนิวเคลียร์ใต้ดิน ซึ่งส่งผลต่อชั้นหิน
ใต้เปลือกโลก โดยอาจมีผลกระทบต่อโลกในระยะยาว เป็นต้น
ภัยพิ บัติ
ภัยพิ บัติในประเทศไทย
เมื่อพิจารณาลักษณะการเกิดภัยพิบัติประเภทต่าง ๆ จะพบว่ามีความ
สัมพันธ์โดยตรงกับลักษณะทางกายภาพของพื้นที่ เช่น อุทกภัยมักเกิดใน
บริเวณที่ราบลุ่ม ดินโคลนถล่มมักเกิดในบริเวณที่ราบเชิงเขา
ประเทศไทยประสบปัญหาภัยพิบัติเป็นประจำทุกปี และมีระดับความรุน
แรงที่แตกต่างกันออกไปภัยพิบัติที่เคยเกิดขึ้นในประเทศไทย ได้แก่
สึนามิ อุทกภัย วาตภัย ภัยแล้ง ดินโคลนถล่ม และแผ่นดินไหว
สึนามิ
สึนามิ คืออะไร ? สาเหตุของการเกิดสึนามิใน
ประเทศไทย
สึนามิ คือ เป็นภัยธรรมชาติที่เกิดจาก
การที่คลื่นทะเลขนาดใหญ่ที่เคลื่อนตัว มาจากการเกิดแผ่นดินไหว
เข้าหาชายฝั่ งอย่างรวดเร็วและมีพลังมาก รุนแรง บริเวณนอกชายฝั่ งของ
เกาะสุมาตรา ประเทศอินโดนีเซีย
สาเหตุการเกิดสึนามิ ทำให้เกิดคลื่นขนาดใหญ่เคลื่อนที่
ด้วยความเร็วเข้าสู่พื้นที่ชายฝั่ ง
สึนามิมีต้นกำเนิดจากการเกิดแผ่นดินไหว รอบ ๆ มหาสมุทรอินเดีย เป็นเหตุ
ใต้พื้นมหาสมุทร หรือการเกิดระเบิดของ ให้ทุกภูมิภาคที่มีพื้ นที่ติดต่อกับ
ภูเขาไฟใต้พื้นมหาสมุทร จึงทำให้มวลน้ำใน มหาสมุทรอินเดีย ได้รับผลกระทบ
มหาสมุทรได้รับแรงสั่นสะเทือนอย่างรุนแรง และเกิดความเสียหาย
เกิดเป็นคลื่นกระจายตัวออกไปจาก
ศูนย์กลางของการสั่นละเทือน และเคลื่อนเข้า การเตรียมตัวและป้องกันตัว
สู่ชายฝั่ งอย่างรวดเร็ว จากสึนามิ
ลักษณะภูมิประเทศที่เสี่ยงต่อการเกิดสึนามิ ติดตามการเสนอข่าวของทาง
ราชการอย่างใกล้ชิดและต่อเนื่อง
บริเวณพื้นที่เสี่ยง คือ ชายฝั่ ง เมื่อรู้สึกว่ามีการสั่นไหวเกิดขึ้น
ทะเลที่มีลักษณะเป็นทะเลปิด ไม่มีเกาะ ขณะที่อยู่ในทะเลหรือบริเวณ
อยู่ในบริเวณใกล้ ๆ จะมีความเสี่ยงที่ ชายฝั่ ง ให้รีบออกจากบริเวณ
จะเกิดเหตุสึนามิพัดเข้าชายฝั่ งได้ ชายฝั่ ง
หากเกิดภัยจากคลื่นสึนามิ
ผลกระพบที่เกิดจากสึนามิ พยายามตั้งสติ
ให้หนีห่างจากชายฝั่ งให้ไกลที่สุด
สำหรับประเทศไทยเกิดเหตุการณ์ ไปยังพื้ นที่สูงที่คาดว่าปลอดภัย
ห้ามลงไปชายหาด เพื่อไปดูคลื่น
สึนามิดรั้งแรก เมื่อวันที่ 26 เดือน ธันวาคม สึนามิ
พ.ศ. 2547 บริเวณชายฝั่ งด้านตะวันตก
ของประเทศ ในบริเวณจังหวัดระนอง
พังงา ภูเก็ต และกระบี่ ก่อให้เกิดความ
เสียหายขั้นรุนแรง และมีผู้เสียชีวิตเฉพาะใน
ประเทศไทย 5395 คน
อุทกภัย
อุทกภัย คืออะไร ? ผลกระพบที่เกิดจากอุทกภัย
อุทกภัย คือ ภัยและอันตรายที่เกิดจาก อุทกภัยสร้างความเสียหายทำให้
สภาวะน้ำท่วมหรือน้ำท่วมฉับพลัน มีสาเหตุ ทรัพย์สิน อาคารบ้านเรือน เส้นทาง
มาจากการเกิดฝนตกหนักหรือฝนต่อเนื่อง คมนาคม พื้นที่การเกษตร และผลผลิต
เป็นเวลานาน ไม่สามารถระบายน้ำออกจาก ทางการเกษตรได้เกิดความเสียหาย
พื้ นที่ได้ทันมีทั้งแบบฉับพลันเนื่องจากฝน รวมทั้งก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพของ
ตกหนักบริเวณที่สูงทำให้มีน้ำไหลบ่าลงมา ผู้ประสบภัย ในกรณีที่เกิดน้ำท่วมขังเป็น
อย่างรวดเร็ว และอุทกภัยที่เกิดขึ้นช้า ๆ เวลานาน เช่น ก่อให้เกิดโรคทางเดิน
จากน้ำล้นตลิ่ง อาหาร โรคผิวหนัง หรืออาจก่อให้เกิด
อุบัติเหตุไฟฟ้ารั่ว ไฟฟ้าดูด จนทำให้
สาเหตุการเกิดอุทกภัย เสียชีวิตได้
อุทกภัยในประเทศไทย มีสาเหตุหลักมาจาก การเตรียมตัวและป้องกันตัว
สภาพพื้นที่และปริมาณ น้ำฝน หากมีฝนตกหนัก จากอุทกภัย
หรือมีพายุพัดเข้าสู่ประเทศไทยหลายลูก ทำให้มี
ความเสี่ยงต่อการเกิดอุทกภัยขึ้นในประเทศ เชื่อฟังคำเตือนอย่างเคร่งครัดและ
นอกจากนี้ยังมีการตัดไม้ทำลายป่า หรือการ ติดตามรายงานของกรม
ระบายน้ำไม่ดีก็อาจจะทำให้เกิดอุทกภัยได้ อุตุนิยมวิทยาอย่างต่อเนื่อง
เตรียมข้าวของเครื่องใช้ใน
ลักษณะภูมิประเทศที่เสี่ยงต่อการเกิด สถานการณ์ฉุกเฉินเมื่อเกิดอุทกภัย
อุทกภัย เช่น น้ำดื่ม เครื่องอุปโภคบริโภค
ไฟฉาย ยา และ แบตเตอรี่ให้พร้อม
บริเวณที่มีความเสี่ยง ได้แก่ บริเวณ การนำถุงทรายมาทำเขื่อน เพื่อ
ที่ราบลุ่มหรือที่ต่ำ โดยเฉพาะบริเวณที่ราบ ป้องกันอุทกภัย
ริมฝั่ งแม่น้ำ บริเวณที่ราบหุบเขา เคลื่อนย้ายคน สัตว์เลี้ยง
และบริเวณปากแม่น้ำ จะมีความเสี่ยงต่อ ยานพาหนะ และสิ่งของไปอยู่ในที่สูง
การเกิดอุทกภัย
วาตภัย
วาตภัย คืออะไร ? ผลกระทบที่เกิดจากวาตภัย
วาตภัย คือ ภัยที่เกิดขึ้นจากพายุลมแรง เป็นภัยที่เกิดจากลมพั ดอย่าง
จนทำให้เกิดความเสียหายแก่อาคารบ้านเรือน รุนแรง เช่น พายุดูร้อน จนทำให้เกิดาม
ต้นไม้ และสิ่งก่อสร้าง เสียหายต่อชีวิต ทรัพย์สิน อาคาร
บ้านเรือน และสิ่งก่อสร้างต่าง ๆ
สาเหตุการเกิดวาตภัย การเกิดพายุฤดูร้อน มักเกิดขึ้นในช่วง
จากการเกิดพายุฤดูร้อน ลักษณะทาง เดือนมีนาคมและเดือนเมษายนโดย
เฉพาะบริเวณภาคเหนือและภาคตะวัน
กายภาพของประเทศไทยอยู่ใกลัเส้นศูนย์สูตร ออกเฉียงเหนือ
ทำให้มีอุณหภูมิเฉลี่ยค่อนข้างสูงในฤดูร้อน
ซึ่งมวลอากาศร้อนจะยกตัวสูงขึ้น ทำให้ การเตรียมตัวและป้องกันตัว
มวลอากาศเย็นพัดเข้ามาแทนที่ เมื่ออากาศ จากอุทกภัย
ร้อนและอากาศเย็นเคลื่อนที่เข้ามาปะทะกัน
จะทำให้เกิดความแปรปรวนของอากาศ ติดตามข่าวและประกาศคำเตือนจาก
ก่อให้เกิดพายุฝนฟ้าคะนองมีลมกระโชกแรง กรมอุตุนิยมวิทยา
และบางครั้งอาจเกิดลูกเห็บตกลงมา พั กในอาคารที่มั่นคงตลอดเวลาขณะ
เกิดวาตภัย
ลักษณะภูมิประเทศที่เสี่ยงต่อการเกิด ปิดประตู หน้าต่างทุกบาน รวมทั้ง
วาตภัย ยึดประตูและหน้าต่างให้มั่นคง
แข็งแรง
บริเวณที่มีความเสี่ยง คือ แนวบริเวณที่ ไม่ควรใช้อุปกรณ์ไฟฟ้และไม่สวม
ร่องลมมรสุม ทั้งลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ เครื่องประดับโลหะขณะเกิดฝนฟ้า
และลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือพั ดผ่าน คะนอง
ภัยแล้ง
ภัยแล้ง คืออะไร ? ลักษณะภูมิประเทศที่เสี่ยงต่อ
การเกิดภัยแล้ง
ภัยที่เกิดจากการขาดแคลนน้ำใน
พื้นที่ใดพื้นที่หนึ่งเป็นเวลานาน จนก่อให้ บริเวณที่มีความเสี่ยง คือ
เกิดความแห้งแล้งและส่งผลกระทบต่อ บริเวณที่เป็นเขตเงาฝน บริเวณที่มี
การดำรงชีวิตของประชาชนในพื้ นที่และ ดินเป็นดินทรายไม่อุ้มน้ำ บริเวณที่มี
การทำเกษตรกรรม การตัดไม้ทำลายป่าจำนวนมาก
บริเวณที่ได้รับอิทธิพลจากมรสุมน้อย
สาเหตุการเกิดภัยแล้ง
ผลกระทบที่เกิดจากภัยแล้ง
ภัยแล้งในประเทศไทยมีสาเหตุมาจากปัจจัย
หลายประการ เช่น ส่งผลให้ประชาชนในพื้ นที่
ขาดแคลนน้ำในการอุปโภคบริโภค ไม่มี
ฝนไม่ตกตามฤดูกาล ทำการเกษร ทำให้ผลผลิตทางการ
การตัดไม้ทำลายป่า จนทำให้ไม่มีความชื้น เกษตรเสียหาย ส่งผลต่อการเลี้ยงสัตว์
หรือไอน้ำเพื่ อก่อตัวเป็นเมฆฝนในพื้ นที่ ในพื้นที่ ดินขาดความชุ่มชื้นทำให้ดิน
การเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิ ทำให้เกิดภาวะ เสื่อมสภาพ เกิดการกัดเซาะพังทลาย
โลกร้อน ของดิน
ลักษณะพื้ นที่ที่มีสภาพเป็นดินทราย
ไม่สามารถกักเก็บน้ำบนผิวดินได้ดีเท่าที่ควร พื้ นที่ในประเทศไทยที่มักประสบปัญหา
บริเวณเขตเงาฝนที่มีปริมาณน้ำฝนตกลง ภัยแล้งเป็นประจำ เช่น จังหวัดเชียงราย
มาน้อย ลำพู น ชัยภูมิ ขอนแก่น กาพสินธุ์ ร้อยเอ็ด
สิงห์บุรี อ่างทอง สระแก้ว
การเตรียมตัวและป้องกันตัว
จากภัยแล้ง
ไม่ตัดไม้ทำลายป่า
ร่วมกันปลูกป่าทดแทนให้มากขึ้น
เพื่ อให้เกิดความชุ่มชื้นและช่วยให้ฝน
ตกต้องตามฤดูกาล
ควรจัดหาพื้ นที่กักเก็บน้ำไว้ใช้นอกฤดู
เช่น การสร้างเขื่อน
ทำฝนเทียมเพื่ อแก้ปัญหาการ
ขาดแคลนน้ำจืด
ดินโคลนถล่ม
ดินโคลนถล่ม คืออะไร ? ผลกระทบที่เกิดจากภัยแล้ง
เป็นภัยธรรมชาติที่จะเกิดควบคู่กับปรากฏ
ดินโคลนถล่ม เป็นภัยพิบัติที่มี
การณ์ฝนตกหนักหรือฝนตกติดต่อกันเป็นระยะ ความรุนแรงและก่อให้เกิดความเสียหาย
เวลาหลายวัน ส่งผลให้ดินหรือหินเคลื่อนหลุด ต่อชีวิต อาคาร บ้านเรือน ปัญหาดิน
หรือพั งทลายลงมาตามแรงโน้มถ่วงของโลก โคลนถล่มจากอิทธิพลของลมพายุหมุน
เขตร้อนในประเทศไทย มักเกิดขึ้น
สาเหตุการเกิดดินโคลนถล่ม บริวณป่าต้นน้ำลำธาร ซึ่งมีลักษณะ
ภูมิประเทศเป็นภูเขาสูง บริเวณที่มัก
สาเหตุมาจากการที่มีฝนตกติดต่อกัน เกิดเหตุดินโคลนถล่ม คือ บริเวณตอน
เป็นเวลานาน มีปริมาณน้ำฝนมาก ทำให้ บนของประเทศ
ดินและพื ชไม่สามารถอุ้มน้ำได้กลายสภาพ
เป็นดินโคลนที่ขาดสมดุลในการยึดเกาะ การเตรียมตัวและป้องกันตัวจาก
จึงไหลลงตามความลาดชันของพื้ นที่ ดินโคลนถล่ม
ไปยังบริเวณที่ต่ำกว่า
ไม่ปลูกบ้านหรือสิ่งก่อสร้างขวางทาง
ลักษณะภูมิประเทศที่เสี่ยงต่อการเกิด น้ำหรือใกล้ลำห้วยมากจนเกินไป
ดินโคลนถล่ม ไม่ตัดไม้ทำลายป่า
ในบริเวณที่ลาดเชิงเขา หากเกิดเหตุ
บริเวณที่มีความเสี่ยง คือ พื้นที่ที่มี ฝนตกหนักต่อเนื่องติดต่อกันเป็นเวลา
ความลาดชันค่อนข้างมาก หรือตามไหล่เขาที่ นาน ควรที่จะอพยพผู้คนออกจาก
ถูกบุกรุกเพื่อทำการเกษตร หรือสร้างที่อยู่ พื้ นที่
อาศัย ทำให้บริเวณนั้นมีดินค่อนข้างน้อย หากพลัดตกลงไปในกระแสน้ำ ห้ามว่าย
น้ำทวนกระแสน้ำเพื่ อหนีเป็นอันขาด
เพราะจะถูกต้นไม้และก้อนหินที่ไหลมา
กระแทกทำให้ได้รับอันตรายได้
แผ่นดินไหว
แผ่นดินไหว คืออะไร ? ผลกระทบที่เกิดจากแผ่นดินไหว
เป็นภัยธรรมชาติที่เกิดจากการเคลื่อนตัว แผ่นดินไหว สร้างความเสียหาย
ของแผ่นเปลือกโลกเนื่องจากอิทธิพลของ เป็นวงกว้างจะขึ้นอยู่กับความรุนแรง
หินหนืดใต้ชั้นเปลือกโลก ทำให้บริเวณรอย ของการสั่นสะเทือนจะทำให้เกิด
เลื่อนต่าง ๆ ของเปลือกโลกเคลื่อนตัว แผ่นดินถล่ม บ้านเรือน อาคาร
จนเกิดแรงสั่นสะเทือน สิ่งก่อสร้าง ถนนถล่มหรือแตกหัก
เสียหาย เกิดไฟไหม้ และอาจจะก่อให้
สาเหตุการเกิดแผ่นดินไหว เกิดอันตรายต่อชีวิตของประชาชนใน
พื้ นที่หากแผ่นดินไหวเกิดขึ้นใน
แผ่นดินไหวเกิดจากการเปลี่ยนแปลง มหาสมุทรอาจจะส่งผลให้เกิดสึนามิ
โครงสร้างทางธรณีวิทยา ทำให้เกิดการสั่น
สะเทือนจนก่อให้เกิดความเสียหาย จุดเริ่ม ตัวอย่างการเกิดแผ่นดินไหวใน
ต้นของแผ่นดินไหวมักอยู่ลึกลงไปใต้ดิน ประเทศ เช่น แผ่นดินไหวในอำเภอ
หรือใต้มหาสมุทร เป็นบริเวณที่จะได้รับ แม่ลาว จังหวัดเชียงราย
ความเสียหายมากที่สุด เมื่อห่างออกไป
ความรุนแรงของแผ่นดินไหวจะลดลง การเตรียมตัวและป้องกันตัว
จากแผ่นดินไหว
ลักษณะภูมิประเทศที่เสี่ยง
ต่อการเกิดแผ่นดินไหว ควรเตรียมอุปกรณ์ปฐมพยาบาล
เครื่องอุปโภค บริโภคในยามฉุกเฉิน
บริเวณที่มีความเสี่ยง ให้พร้อม
คือ บริเวณรอบ ๆ รอย ฝึกซ้อมการอพยพเพื่ อเตรียมรับมือ
เลื่อนต่าง ๆ ในประเทศที่ยัง กับเหตุแผ่นดินไหว
มีโอกาสเกิดแผ่นดินไหวได้ ติดตามข่าวสารจากหน่วยงานที่
อยู่หลายแห่ง เช่น กลุ่มของ เกี่ยวข้องขณะเกิดแผ่นดินไหว
รอยเลื่อนในภาคเหนือ และ หากอยู่ในอาคาร ให้หลบอยู่ใต้โต๊ะที่
กลุ่มของรอยเลื่อนในภาค มีความแข็งแรง
ตะวันตก
หากอยู่นอกอาคาร ให้รีบไปยังที่
โล่งแจ้ง ห่างจากตัวอาคาร
แนวกำแพง หรือเสาไฟฟ้า
จัดทำโดย
นางสาวธนภรณ์ บุญพลี
รหัสนักศึกษา 6180109204
คณะครุศาสตร์
สาขาสังคมศึกษา ปี 4 หมู่ 2