The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

งานวิจัยส่งโรงเรยน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by chalorn, 2019-12-16 22:26:57

งานวิจัยส่งโรงเรยน

งานวิจัยส่งโรงเรยน

รายงานผลการวจิ ัย

การเปรียบเทยี บผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนก่อนเรียนและหลงั เรียน
เรื่อง เซต โดย การจัดการเรียนการสอนแบบ “บุปเฟ่ ต์”

รายวชิ าคณิตศาสตร์พืน้ ฐาน ค31103
ช้ันมัธยมศึกษาปี ที่ 4

นายเจริญ พลิ กึ
ครู วทิ ยฐานะ ครูชานาญการ

กล่มุ สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ โรงเรียนวชั รวทิ ยา
สานักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต 41

คานา

เอกสารรายงานผลการวจิ ยั ฉบบั น้ีจดั ทาข้ึนจากการรวบรวมและเรียบเรียงผลการดาเนินการ
วจิ ยั ในช้นั เรียน เร่ือง การเปรียบเทียบผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนก่อนเรียนและหลงั เรียน เรื่องเซต
โดยการจดั กิจกรรมการเรียนการสอนแบบ บุปเฟ่ ต์ รายวชิ าคณิตศาสตร์พ้นื ฐาน ค31103 ช้นั
มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 ซ่ึงแสดงถึงผลจากการพฒั นาผเู้ รียนดว้ ยการจดั กิจกรรมการเรียนการสอนที่เนน้
ผเู้ รียนเป็นสาคญั ท่ีสุด โดยผเู้ รียนไดร้ ่วมคิด วางแผน ลงมือปฏิบตั ิคน้ ควา้ แสวงหาความรู้จาก
วทิ ยากรและแหล่งเรียนรู้ตา่ ง ๆ ดว้ ยตนเอง รู้จกั การทางานเป็นทีม ตลอดจนสามารถ แกไ้ ขปัญหา
ไดด้ ว้ ยตนเอง และเพ่ือนาไปพฒั นาการจดั การเรียนการสอนในโอกาสต่อไป

เอกสารเล่มน้ีจะเสร็จสมบูรณ์ไดด้ ว้ ยการสนบั สนุนใหค้ วามร่วมมือและเป็นกาลงั ใจจาก
บุคคลหลายฝ่ าย เอกสารคน้ ควา้ อา้ งอิงทุกเล่ม นกั เรียน การนิเทศจากหวั หนา้ กลุ่มสาระ โปรแกรม
วเิ คราะห์ขอ้ มูลไดร้ ับความอนุเคราะห์จากหวั หนา้ ฝ่ ายวชิ าการของโรงเรียน และการนิเทศจากรอง
ผอู้ านวยการฝ่ ายวชิ าการ จึงขอขอบคุณไว้ ณ โอกาสน้ี

เจริญ พลิ ึก
30 มิถุนายน 2560

สารบัญ หน้า
บทท่ี
2
บทท่ี 1 บทนา 4
บทที่ 2 หลกั การ แนวคิด ทฤษฎีท่ีเกี่ยวขอ้ ง 9
บทที่ 3 วธิ ีดาเนินการวจิ ยั 12
บทท่ี 4 ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูล 14
บทที่ 5 สรุปผลการวจิ ยั อภิปรายผล และขอ้ เสนอแนะ
บรรณานุกรม 17
ภาคผนวก 24
28
ภาคผนวก ก คะแนนก่อนเรียน หลงั เรียน
ภาคผนวก ข แบบทดสอบ
ประวตั ิยอ่ ของผวู้ ิจยั

สารบัญตาราง
ตาราง หน้า

ตารางท่ี 1 แสดงค่าเฉลี่ย (X ) และคา่ เบี่ยงเบนมาตรฐาน

และวเิ คราะห์ค่าความเชื่อมน่ั ช้นั ม.3/1 10

ตารางที่ 2 แสดงค่าเฉล่ีย (X ) และคา่ เบี่ยงเบนมาตรฐาน

และวเิ คราะห์ค่าความเชื่อมนั่ ช้นั ม.3/2 12

ตารางที่ 3 แสดงคา่ เฉล่ีย (X ) และค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน

และวเิ คราะห์ค่าความเช่ือมน่ั ช้นั ม.3/3 14

ตารางที่ 4 แสดงค่าเฉลี่ย (X ) และคา่ เบ่ียงเบนมาตรฐาน

และวเิ คราะห์ค่าความเช่ือมน่ั ช้นั ม.3/4 16

ตารางที่ 3 ความแตกตา่ งของการประเมินผลก่อนเรียนและหลงั เรียน

ตามการจดั กิจกรรมการเรียนการสอนแบบบุปเฟ่ ต์ 18

1

บทคัดย่อ

การจดั กิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์ จาเป็นตอ้ งอาศยั วธิ ีการในการจดั กิจกรรมการเรียนรู้
ที่หลากหลายและมีความเหมาะสมกบั ผเู้ รียน การจดั กิจกรรมการเรียนรู้แบบ “บุปเฟ่ ต”์ น้ีเป็น
กิจกรรมท่ีช่วยใหก้ ารเรียนการสอนวชิ าคณิตศาสตร์มีประสิทธิภาพยงิ่ ข้ึน การวจิ ยั คร้ังน้ีมีความมุ่ง
หมายเพ่อื เพอื่ ใหผ้ เู้ รียนไดเ้ รียนรู้กบั กิจกรรมการเรียนการสอนที่หลากหลายและเพอื่ เปรียบเทียบ
ผลสัมฤทธ์ิก่อนเรียนและหลงั เรียน รายวชิ าคณิตศาสตร์พ้ืนฐาน ค31103 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 4 เรื่อง
เซต โดยการจดั กิจกรรมการเรียนการสอนแบบ “บุปเฟ่ ต”์ กลุ่มตวั อยา่ งที่ใชใ้ นการวจิ ยั คร้ังน้ี ไดแ้ ก่
นกั เรียนช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 โรงเรียนวชั รวทิ ยา จานวน 119 คน ไดม้ าโดยการสุ่มอยา่ งง่าย
เครื่องมือที่ใชใ้ นการวจิ ยั ไดแ้ ก่ แผนแผนการจดั การเรียนรู้แบบบุปเฟ่ ต์ จานวน 1 แผน และ
แบบทดสอบก่อนเรียนและ หลงั เรียน เป็ นแบบทดสอบปรนยั ชนิดเลือกตอบ 4 ตวั เลือก จานวน
40 ขอ้ สถิติท่ีใชใ้ นการวเิ คราะห์ขอ้ มูลไดแ้ ก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน และ
ทดสอบสมมติฐานดว้ ย t –test (Dependent Sample)

ผลการวจิ ยั ปรากฏดงั น้ี
ผลการวเิ คราะห์ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนก่อนเรียนและหลงั เรียน พบวา่ การประเมินผล
ก่อนเรียนและหลงั เรียนมีผลสัมฤทธ์ิแตกตา่ งกนั อยา่ งมีนยั สาคญั ท่ีระดบั 0.01 นอกจากน้ียงั พบวา่
การประเมินผลก่อนเรียนมีคา่ เฉล่ียรวมทุกหอ้ ง 10.50 ในขณะที่การประเมินผลหลงั เรียนมีคา่ เฉลี่ย
14.50 ซ่ึงเป็นคา่ ท่ีสูงข้ึน เม่ือพิจารณาคา่ เบ่ียงเบนมาตรฐานของการประเมินผลก่อนเรียน ซ่ึงมีคา่
1.37 ในขณะที่ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของการประเมินผลหลงั เรียนมีคา่ 1.33 ซ่ึงเป็นค่าที่ลดลง
แสดงใหเ้ ห็นวา่ หลงั เรียนนกั เรียนมีคะแนนเกาะกลุ่มใกลเ้ คียงกนั มากข้ึน หรือกล่าวอีกนยั หน่ึงวา่
การประเมินผลหลงั เรียนมีการกระจายนอ้ ยกวา่ การประเมินผลก่อนเรียน ซ่ึงเป็นเครื่องช้ีวา่ การจดั
กิจกรรมการเรียนการสอนแบบ บุปเฟ่ ต์ น้ี นอกจากจะเพิ่มผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนของนกั เรียน
สูงข้ึนแลว้ ยงั ทาใหน้ กั เรียนผา่ นผลการเรียนรู้ในระดบั ที่ใกลเ้ คียงกนั มากข้ึนดว้ ย จากค่าเฉลี่ยและ
ค่าเบ่ียงเบนมาตรฐานน้ี ผวู้ ิจยั ไดต้ รวจสอบประสิทธิภาพการสอนหรือคุณภาพการสอนดว้ ยค่า
สัมประสิทธ์ิการกระจาย (C.V .) พบวา่ (C.V .) = 14.33 ซ่ึงแสดงวา่ มีคุณภาพการสอนในระดบั ดี
จึงกล่าวไดว้ า่ การจดั กิจกรรมการเรียนการสอนโดยใชก้ ิจกรรมการเรียนการสอนแบบ
บุปเฟ่ ต์ น้ี มีประสิทธิภาพในการพฒั นาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนรายวชิ าคณิตศาสตร์ใหส้ ูงข้ึนเป็นที่
น่าพอใจ จากสมมติฐานจะไดว้ า่ ผลสัมฤทธ์ิหลงั เรียนสูงกวา่ ผลสัมฤทธ์ิก่อนเรียน

1.

2

บทที่ 1
บทนา

ความเป็ นมาและสภาพปัญหา
จากสภาพปัจจุบนั ท่ีปรากฏพบวา่ รายวชิ าคณิตศาสตร์ เป็นวชิ าที่มีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน

ต่า มีนกั เรียนติด 0, ร, มส. เป็นจานวนมาก (สรุปผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนฝ่ ายวิชาการ โรงเรียนวชั
รวิทยา : 2549) นกั เรียนส่วนใหญ่ไมใ่ หค้ วามสนใจในกรเรียนวชิ าคณิตศาสตร์ เพราะเป็นวชิ าท่ี
ยาก ผวู้ จิ ยั ในฐานะที่เป็นผสู้ อนวชิ าคณิตศาสตร์พ้นื ฐาน ค31103 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 3 จึงคิดคน้
รูปแบบและวธิ ีการในการจดั กิจกรรมการเรียนการสอนแบบใหม่เพอื่ ใหผ้ เู้ รียนไดส้ นใจและผเู้ รียน
ไดอ้ อกแบบในการจดั กิจกรรมดว้ ยตนเองใหส้ อดคลอ้ งกบั ผลการเรียนรู้และสาระการเรียนรู้ ผวู้ จิ ยั
มุ่งหวงั วา่ เมื่อนกั เรียนไดเ้ รียนรู้ตามกระบวนการจดั การเรียนการสอนดงั กล่าว นกั เรียนจะมี
ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนสูงข้ึน การวจิ ยั ในคร้ังน้ี จึงเป็นการวจิ ยั ท่ีดาเนินการตามกระบวนการ
จดั การเรียนการสอนและแสดงผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูลตามกระบวนการดงั กล่าว
ปัจจยั หรือสาเหตุที่ทาใหน้ กั เรียนไมป่ ระสบผลสาเร็จในการเรียนเพราะครูเป็ นศูนยก์ ลางของ
หอ้ งเรียนตลอดเวลา นกั เรียนไม่มีโอกาสร่วมกิจกรรมทาใหน้ กั เรียนขาดความสามารถในการแสดง
ความคิดเห็น การตดั สินใจ การทางานร่วมกนั เป็ นหมูค่ ณะและการแสวงหาความรู้ (กิตตินนั ท์
แวงคา : 2549)ในฐานะท่ีเป็ นเป้าหมายสาคญั ของหลกั สูตรในโรงเรียนครูจาเป็นตอ้ งสร้าง
บรรยากาศในช้นั เรียนและคานึงวา่ สานึกทางดา้ นจานวนเป็นส่ิงท่ีสามารถพฒั นาข้ึนไดโ้ ดยผา่ นทาง
กิจกรรมตา่ งๆ ที่มีเป้าหมายและมีความหมายเกี่ยวกบั (1) การคานวณ (Calculating) (2) การวดั
(Measuring) (3) การประมาณค่า (Estimating) ( สมทรง สุวพานิช 2546 : 84)

พ้นื ฐานของมาตรฐานคณิตศาสตร์ไม่ใช่แคก่ ารมองดู หรือความรู้สึกท่ีเห็นหรือสังเกต
ไดใ้ นช้นั เรียน หากแต่ตอ้ งเป็ นส่ิงที่เกิดข้ึนจริง เด็ก ๆ ท่ียก ตวั อยา่ งขา้ งตน้ น้นั ไดน้ าเครื่องมือและ
กระบวนการ ท่ีไดเ้ รียนแลว้ มาใชป้ ระโยชนอ์ ยา่ งมีนยั สาคญั ในคณิตศาสตร์ เป็นการสะทอ้ นผลการ
สอนของครู ฉะน้นั ขณะท่ีท่านวางแผนสาหรับบทเรียนในอนาคต กค็ วรที่จะพยายามหาทางหลายๆ
ทางที่ใหน้ กั เรียนไดม้ ีส่วนเก่ียวขอ้ ง และไปใหเ้ หนือกวา่ ข้นั การใชท้ กั ษะและกระบวนการ พยายาม
ส่งเสริมใหน้ กั เรียนบรรลุถึงเป้าหมายของคาวา่ มาตรฐาน คือการคิดและการใหเ้ หตุผลอยา่ ง
คณิตศาสตร์(สสวท. : เวบ็ ไซด์)

และจากการจดั กิจกรรมการเรียนการสอน รายวชิ าคณิตศาสตร์พ้ืนฐาน ค 31103

ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 ในบางกิจกรรมน้นั ผเู้ รียนยงั ไมม่ ีความเขา้ ใจ ยงั ขาดขอ้ มูลพ้นื ฐานประกอบ
(บนั ทึกหลงั แผนการจัดการเรียนรู้ ปี 2559)ในการจดั การเรียนการสอนซ่ึงขอ้ มูลพ้ืนฐานบางอยา่ ง
น้นั ผเู้ รียนสามารถฝึกและคน้ ควา้ ไดด้ ว้ ยตนเอง และหาแหล่งขอ้ มูลไดต้ ามอธั ยาศยั ถามใครก็ได้

3
ครู ผปู้ กครอง หรือคน้ ควา้ จากอินเทอร์เนต หอ้ งสมุด โทรทศั น์ มุมความรู้ในหอ้ งเรียนหรือ
แหล่งขอ้ มูลอื่น ๆ เพื่อเป็ นการเปรียบเทีบผลท่ีอาจแตกต่างออกไป หรือการพฒั นาท่ีดีข้ึนผสู้ อนจึง
ไดจ้ ดั ทาโครงการวจิ ยั ในช้นั เรียนช่ืองานวจิ ยั “การเปรียบเทยี บผลสัมฤทธ์ิก่อนเรียนและหลงั เรียน
เรื่อง “เซต โดยการจัดการเรียนการสอนแบบ บุปเฟ่ ต์”

วตั ถุประสงค์ของการวจิ ัย
1. เพ่อื ใหผ้ เู้ รียนไดเ้ รียนรู้กบั กิจกรรมการเรียนการสอนท่ีหลากหลาย
2. เพ่อื เปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิกอ่ นเรียนและหลงั เรียน รายวชิ าคณิตศาสตร์พ้ืนฐาน

ค31103 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 เร่ืองเซต โดยการจดั กิจกรรมการเรียนการสอนแบบ บุปเฟ่ ต์

สมมตฐิ านการวจิ ัย
ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนหลงั เรียนสูงกวา่ ผลสมั ฤทธ์ิก่อนเรียน

ขอบเขตของการวจิ ัย
ประชากร นกั เรียนช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 โรงเรียนวชั รวทิ ยา ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา

2560 จานวน 6 หอ้ งเรียน 235 คน
กลุ่มตวั อยา่ ง นกั เรียนช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 โรงเรียนวชั รวิทยา ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา

2560 จานวน 3 หอ้ ง 118 คน ไดม้ าโดยการสุ่มอยา่ งง่าย

ระยะเวลาดาเนินการวจิ ัย
1- 30 มิถุนายน 2560 ( 4 สัปดาห์ )

นิยามศัพท์เฉพาะ
การจดั การเรียนการสอนแบบ “บุปเฟ่ ต”์ หมายถึง การใหผ้ เู้ รียนไดเ้ ลือกเรียนรู้ คน้ ควา้

และเลือกวธิ ีการวดั ผลประเมินผลการเรียนตามแบบความพอใจของตนเอง โดยครูและนกั เรียน
ร่วมกนั ออกแบบกระบวนการที่หลากหลายน้นั ร่วมกนั นกั เรียนเก่งกเ็ ลือกกิจกรรมการเรียนตาม
ความสามารถของตนเอง นกั เรียนอ่อนก็เลือกกิจกรรมท่ีเหมาะสมกบั ตวั เองท่ีสุด

ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนหมายถึง คะแนนของนกั เรียนท่ีไดจ้ ากการประเมินผลก่อนเรียน
และหลงั เรียน โดยใชแ้ บบทดสอบท่ีครูสร้างข้ึนเองและไดต้ รวจสอบคุณภาพแลว้

4
ประโยชนทค่ี าดว่าจะได้รับ

1. ผลที่ไดจ้ ากการจดั กิจกรรมการเรียนการสอน นกั เรียนไดส้ ร้างสื่อเองในการจดั
กิจกรรม จะเป็นแนวทางในการพฒั นาการเรียนการสอนใหม้ ีผลสัมฤทธ์ิสูงข้ึน

2. ครูผสู้ อนไดม้ ีโอกาสพฒั นาคุณภาพการจดั การเรียนการสอน และนกั เรียนไดม้ ี
ส่วนร่วมในการคิดวเิ คราะห์ การออกแบบการจดั การเรียนการสอนดว้ ยตนเอง น้นั คือนกั เรียนเป็ น
สาคญั มากท่ีสุด

5

บทที่ 2
หลกั การ แนวคดิ ทฤษฎที เี่ ก่ยี วข้อง

ความรู้เกย่ี วกบั กระบวนการ

กระบวนการคือ แนวทางดาเนินการในเร่ืองใดเร่ืองหน่ึง อยา่ งมีลาดบั ข้นั ตอนที่ต่อเน่ือง

ต้งั แต่ตน้ จนแลว้ เสร็จตามวตั ถุประสงคท์ ี่กาหนดไว้ ข้นั ตอนดงั กล่าวมีการทดลองใชแ้ ลว้ พบวา่

ช่วยใหด้ าเนินการมีประสิทธิภาพ นาไปสู่ความสาเร็จตามเป้าหมาย (สสวท. : เวบ็ ไซด์)

สาระที่ 6 : ทกั ษะ / กระบวนการทางคณติ ศาสตร์

มาตรฐาน ค 6.1 : มีความสามารถในการแก้ปัญหา

ช่วงช้ันที่ 1(ป. 1 – ป. 3) ช่วงช้ันท่ี 2(ป. 4 – ป. 6) ช่วงช้ันท่ี 3(ม. 1 – ม. 3) ช่วงช้ันท่ี 4 (ม. 4 – ม. 6)

1. ใชว้ ธิ ีการที่ 1. ใชว้ ธิ ีการท่ี 1. ใชว้ ธิ ีการท่ี 1. ใช้วธิ ีการที่

หลากหลาย หลากหลาย หลากหลาย หลากหลาย
แกป้ ัญหาได้ แกป้ ัญหาได้ แกป้ ัญหาได้ แก้ปัญหาได้
2. ใชค้ วามรู้ทาง 2. ใชค้ วามรู้ทาง 2. ใชค้ วามรู้ ทกั ษะ 2. แก้ปัญหาในสถาน
คณิตศาสตร์ คณิตศาสตร์และ กระบวนการทาง การณ์จริงโดยใช้
แกป้ ัญหาใน เทคโนโลยี คณิตศาสตร์ และ ความรู้ทาง
สถานการณ์จริงได้ แกป้ ัญหาใน เทคโนโลยใี นการ คณติ ศาสตร์ได้
สถานการณ์จริงได้ แกป้ ัญหาใน ใช้ความรู้ ทกั ษะ
สถานการณ์ตา่ ง ๆ กระบวนการทาง
ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม คณติ ศาสตร์ และ

เทคโนโลยใี นการ

แก้ปัญหาได้อย่าง

เหมาะสม

6

สาระที่ 6 : ทกั ษะ / กระบวนการทางคณติ ศาสตร์

มาตรฐาน ค 6.2 : มคี วามสามารถในการให้เหตุผล

ช่วงช้ันที่ 1(ป. 1 – ป. 3) ช่วงช้ันที่ 2(ป. 4 – ป. 6) ช่วงช้ันท่ี 3(ม. 1 – ม. 3) ช่วงช้ันที่ 4(ม. 4 – ม. 6)

1. อธิบายและใหเ้ หตุ- 1. อธิบายและให้ เลือกใชข้ อ้ มูล ต่าง ๆ 1. นาวธิ ีการให้เหตุผล

ผลประกอบการ เหตุผล ในการคิดและตดั สินใจ แบบอปุ นัยและ

ตดั สินใจ และ ประกอบการ ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม และ นิรนัยมาช่วยในการ

สรุปผลไดอ้ ยา่ ง ตดั สินใจ และ สามารถแสดงเหตุผล ค้นหาความจริง

เหมาะสม สรุปผลไดอ้ ยา่ ง โดยการอา้ งอิงความรู้ หรือข้อสรุป และ
เหมาะสม ขอ้ มูลหรือขอ้ เทจ็ จริง ช่วยในการตดั สินใจ
หรือสร้างแผนภาพ บางอย่างได้

สาระท่ี 6 : ทกั ษะ / กระบวนการทางคณติ ศาสตร์

มาตรฐาน ค 6.3 : มคี วามสามารถในการสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณติ ศาสตร์ และการ

นาเสนอ

ช่วงช้ันท่ี 1(ป. 1 – ป. 3) ช่วงช้ันที่ 2(ป. 4 – ป. 6) ช่วงช้ันที่ 3(ม. 1 – ม. 3) ช่วงช้ันท่ี 4 (ม. 4 – ม. 6)

1. ใชภ้ าษาและ 1. ใชภ้ าษาและ 1. ใชภ้ าษาและ 1.ใช้ภาษาและ

สัญลกั ษณ์ทาง สญั ลกั ษณ์ทาง สญั ลกั ษณ์ทาง สัญลกั ษณ์ทาง

คณิตศาสตร์ในการ คณิตศาสตร์ในการ คณิตศาสตร์ในการ คณติ ศาสตร์ในการ
สื่อสาร สื่อความ- สื่อสาร ส่ือความ-
หมาย และนาเสนอ หมาย และนาเสนอ สื่อสาร ส่ือความ- ส่ือสาร สื่อความหมาย
ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งและ ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งและ หมาย และนาเสนอ และนาเสนอได้อย่าง
เหมาะสม เหมาะสม ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง ถูกต้อง ชัดเจน และ
ชดั เจน และรัดกุม รัดกุม

7

สาระที่ 6 : ทกั ษะ/กระบวนการทางคณติ ศาสตร์
มาตรฐาน ค 6.4 : มีความสามารถในการเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ทางคณติ ศาสตร์และเช่ือมโยง

คณติ ศาสตร์กบั ศาสตร์อื่น ๆ ได้

ช่วงช้ันท่ี 1(ป. 1 – ป. 3) ช่วงช้ันที่ 2(ป. 4 – ป. 6) ช่วงช้ันที่ 3(ม. 1 – ม. 3) ช่วงช้ันท่ี 4 (ม. 4 – ม. 6)
1. เชื่อมโยงความคดิ
1. นาความรู้ทาง 1. นาความรู้ทาง 1. เช่ือมโยงความรู้ รวบยอด หลกั การ
คณิตศาสตร์ไป คณิตศาสตร์ไป เน้ือหาต่าง ๆ ใน และวธิ ีการทาง
เชื่อมโยงในการ เช่ือมโยงในการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ และ คณติ ศาสตร์และศาสตร์
เรียนรู้เน้ือหาต่าง ๆ เน้ือหาตา่ ง ๆ ในวชิ า นาความรู้ หลกั การ อื่น ๆ เพ่ืออธิบาย
ในวชิ าคณิตศาสตร์ คณิตศาสตร์และ กระบวนการทาง ข้อสรุปหรือเรื่องราว
และเช่ือมโยง เชื่อมโยงคณิตศาสตร์ คณิตศาสตร์ไป ต่าง ๆ ได้
คณิตศาสตร์กบั วชิ า กบั วชิ าอ่ืนได้ เชื่อมโยงกบั ศาสตร์ 2. นาความรู้และ
อ่ืนได้ 2. นาความรู้และ อ่ืน ๆ ทกั ษะทไี่ ด้จากการ เรียน
ทกั ษะจากการเรียน คณติ ศาสตร์
คณิตศาสตร์ไปประยกุ ต์ 2. นาความรู้และ ไปประยุกต์ใน
ในการเรียนรู้ส่ิงตา่ ง ๆ ทกั ษะท่ีไดจ้ ากการเรียน การเรียนรู้ในงาน
และในชีวติ จริงได้ คณิตศาสตร์ไปประยกุ ต์ และในการดารงชีวติ
ในการเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ
และในการดารงชีวิต

สาระที่ 6 : ทกั ษะ / กระบวนการทางคณติ ศาสตร์

มาตรฐาน ค 6.5 : มีความคดิ ริเริ่มสร้างสรรค์

ช่วงช้ันที่ 1(ป. 1 – ป. 3) ช่วงช้ันที่ 2(ป. 4 – ป. 6) ช่วงช้ันท่ี 3(ม. 1 – ม. 3) ช่วงช้ันที่ 4 (ม. 4 – ม. 6)

1. สามารถคิดไดห้ ลาย 1. สามารถคิดไดห้ ลาย 1. มีความคิดริเริ่ม 1. มคี วามคิดริเร่ิม

วธิ ี วธิ ี สร้างสรรค์ สร้างสรรค์

2. สามารถสร้าง 2. สามารถสร้าง

ผลงานแปลกใหม่ ผลงานแปลกใหม่

ไดห้ ลากหลาย ไดห้ ลากหลาย
3. สามารถพฒั นา สามารถพฒั นาความคิด
ริเร่ิมสร้างสรรค์
ความคิดริเร่ิม
สร้างสรรค์

8
กระบวนการดงั กล่าว มีข้นั ตอนไวเ้ ป็ นแนวทางการปฏิบตั ิ ดงั น้ี
การบวนการเรียนรู้ความเขา้ ใจ ใชก้ บั การเรียนเน้ือหาเชิงความรู้จริง มีข้นั ตอนดงั น้ี

1. สังเกต ตระหนัก
พิจารณาขอ้ มูล สาระความรู้ เพ่อื สร้างความคิดรวบยอด กระตุน้ ใหต้ ้งั คาถาม

ต้งั ขอ้ สงั เกต สงั เคราะห์ขอ้ มูล เพ่อื ทาความเขา้ ใจในสิ่งที่ตอ้ งการเรียนรู้และกาหนดเป็ น
วตั ถุประสงค์ เป็นแนวทางท่ีจะแสวงหาคาตอบต่อไป

2. วางแผนปฏิบตั ิ
นาวตั ถุประสงคห์ รือคาถามท่ีทุกคนสนใจหาคาตอบจากแหล่งความรู้มาวางแผนเพ่ือ
กาหนดแนวทางปฏิบตั ิที่เหมาะสม

3. ลงมือปฏิบัติ
กาหนดใหส้ มาชิกในกลุ่มยอ่ ย ๆ ไดแ้ สวงหาคาตอบจากแหล่งความรู้ดว้ ยวธิ ีต่าง ๆ

เช่น คน้ ควา้ สัมภาษณ์ ศึกษานอกสถานท่ี หาขอ้ มูลจากองคก์ รในชุมชนท่ีวางแผนไว้

4. พฒั นาความรู้ความเข้าใจ
นาความรู้ท่ีไดม้ ารายงานและอภิปรายเชิงแปลความ ตีความ ขยายความ นาไปใช้

วเิ คราะห์ สังเคราะห์ และประเมินค่า

5. สรุป
รวบรวมเป็นสาระท่ีควรรู้ บนั ทึกลงสมุดของผเู้ รียน ซ่ึงกระบวนการดงั กล่าว ไม่

ใช่วธิ ีสอน แต่เป็ นข้นั ตอนท่ีนาไปสู่เป้าหมาย หรือวตั ถุประสงคท์ ี่กาหนดไว้

ความรู้เกย่ี วกบั การออกแบบการจัดการเรียนรู้
ปราณี บญุ ชุ่ม : กล่าวถึงความสาคญั ในการออกแบบแผนการจดั การเรียนรู้ ไวด้ งั น้ี
1. การออกแบบแผนการจดั การเรียนรู้ ทาใหเ้ กิดการวางแผนวธิ ีการสอน วธี ีเรียน ท่ีมี

ความหมายยง่ิ ข้ึน เพราะเป็ นการผสมผสานเน้ือสาระการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้จากหลกั สูตร
ผสมกบั หลกั จิตวทิ ยาการศึกษา นวตั กรรมการเรียน การวดั ผลและประเมินผล ตลอดจนปัจจยั

อานวยความสะดวกของโรงเรียน สภาพปัญหา ความสนใจ ความตอ้ งการของผเู้ รียนผปู้ กครอง
และทรัพยากรทอ้ งถ่ิน

2. ผลจากการออกแบบการจดั การเรียนรู้ ไดแ้ ผนการจดั การเรียนรู้ ซ่ึงช่วยใหค้ รูมีคู่มือท่ี
ทาดว้ ยตนเองไวล้ ่วงหนา้ ส่งเสริมใหผ้ เู้ รียนเกิดการเรียนรู้ครบถว้ น สอดคลอ้ งกบั เวลาในแต่ละ
ภาคเรียน ช่วยใหค้ รูมีความมนั่ ใจในการสอนยง่ิ ข้ึน ( ปราณี บุญชุ่ม : 2555 )

9
บทท่ี 3
วธิ ีดาเนินการวจิ ัย
3.1 เทคนิคทใ่ี ช้ในการวจิ ัย
การวจิ ยั ในคร้ังน้ีดาเนินการตามรูปแบบการวจิ ยั เชิงทดลอง เป็นลกั ษณะการเปรียบเทียบ
ผลสัมฤทธ์ิก่อนเรียนและหลงั เรียน

3.2 ประชากรทใี่ ช้ในการวจิ ัย
นกั เรียนช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4 โรงเรียนวชั รวทิ ยา ปี การศึกษา 2560 จานวน 235 คน
กลุ่มตวั อย่าง นกั เรียนช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 3 โรงเรียนวชั รวิทยา ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา

2560 จานวน 3 หอ้ ง 118 คน ไดม้ าโดยการสุ่มอยา่ งง่าย

3.3 วธิ ีดาเนินการวจิ ัย
3.3.1 ทดสอบก่อนเรียน หน่วยการเรียนรู้ท่ี 2 เร่ืองเซต จานวน 40 ขอ้
3.3.2 ครูและนกั เรียนร่วมกนั ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ร่วมกนั
3.3.2.1 การคน้ ควา้ จากอินเทอร์เนต
3.3.2.2 การคน้ ควา้ จากหอ้ งสมุด
3.3.2.3 มุมความรู้ในห้องเรียนที่ครูจดั ให้
3.3.2.4 หอ้ งสมุดของกลุ่มสาระ
3.3.2.5 การสอบถามจากผรู้ ู้ ,วทิ ยากร, ผปู้ กครอง , ครู , รุ่นพี่
3.3.2.6 อื่น ๆ
3.3.3 การนาเสนอครูและนกั เรียนร่วมกนั ออกแบบวธิ ีการนาเสนอ
3.3.3.1 การอภิปรายหนา้ เรียน
3.3.3.2 นาเสนอในรูปป้ายนิเทศ
3.3.3.3 แบบสมั ภาษณ์
3.3.3.4 แผน่ พบั
3.3.3.5 รายงาน

3.3.3.6 แผนภูมิชาร์ท
3.3.4 นกั เรียนประเมิน
3.3.5 ครูประเมิน
3.3.6 ทดสอบหลงั เรียนโดยใชแ้ บบทดสอบเดียวกนั กบั ชุดก่อนเรียน

10
3.3 เครื่องมือทใี่ ช้ในการวจิ ัย

แผนการจดั การเรียนรู้แบบบุปเฟ่ ต์ จานวน 1 แผน
แบบทดสอบก่อนเรียนและ หลงั เรียน เป็ นแบบทดสอบปรนยั ชนิดเลือกตอบ 4 ตวั
เลือก จานวน 40 ขอ้ ผวู้ จิ ยั ซ่ึงเป็นผสู้ อนไดส้ ร้างข้ึนเอง และไดผ้ า่ นการตรวจสอบคุณภาพดงั
รายละเอียดต่อไปน้ี
(1) ความตรง(Valclidity) และความเป็นxioyp (Objectivity)
(2) โดยใชว้ ธิ ีการตรวจสอบโดยอาศยั ดุลยพินิจของผเู้ ชี่ยวชาญ จานวน 3 คน และ
วเิ คราะห์หาคา่ ดชั นีความสอดคลอ้ งของขอ้ คาถามกบั ผลการเรียนรู้ท่ีคาดหวงั (IOC)

3.5 สถติ ทิ ใี่ ช้ในการวจิ ัย
3.5.1 คา่ เฉลี่ย (X ) ใชว้ เิ คราะห์คะแนนเฉล่ียของแบบประเมินผลก่อนเรียนและหลงั เรียน
3.5.2 ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S .D.) ใชว้ เิ คราะห์การกระจายของคะแนนการประเมิน

ก่อนเรียนและหลงั เรียน
3.5.3 คา่ สมั ประสิทธ์ิการกระจาย (C.V .) ใชต้ รวจสอบประสิทธิภาพการสอนหรือคุณ

ภาพการสอนของครู
3.5.4 คา่ t  test ใชเ้ ปรียบเทียบความแตกตา่ งของการประเมินผลก่อนเรียนและหลงั

เรียนโดยกาหนดระดบั นยั สาคญั ที่ 0.01

การเกบ็ รวบรวมข้อมูล
- เก็บคะแนนสอบก่อนเรียน
- สอบหลงั เรียน โดยใชแ้ บบทดสอบชุดเดียวกนั

11

แผนการดาเนินโครงการ

ข้นั ตอน/กจิ กรรม 1-15 ม.ิ ย. 60 16-28 มิ.ย. 60 29 – 30 มิ.ย. 60
-ศึกษาปัญหา/วเิ คราะห์ปัญหา  
-กาหนดหวั ขอ้ เร่ืองที่ตอ้ งการ  
-จดั ทาโครงการวจิ ยั 
-เสนอผบู้ ริหารขออนุญาต  
-สร้างเครื่องมือ  
-ติดต่อหาผเู้ ชี่ยวชาญ 
-ตรวจสอบคุณภาพเคร่ืองมือ 
-ปรับปรุงเครื่องมือ 
-ดาเนินการทดลองสอนตามโครงการ 
-เกบ็ รวบรวมขอ้ มูล 
-วเิ คราะห์ขอ้ มูล
-เขียนรายงานการวจิ ยั
-ผเู้ ช่ียวชาญตรวจสอบ
-เผยแพร่รายงานการวจิ ยั

งบประมาณ -

12

บทที่ 4
ผลการวเิ คราะห์ข้อมูล

การวเิ คราะห์ข้อมูล
1. แจกแจงความถ่ีและคา่ ร้อยละของผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน ก่อนและหลงั เรียน
2. หาคา่ เฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน
3. เปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ก่อนและหลงั การสอนโดยใชส้ ถิติ T-test
Dependent

ตาราง 1 แจกแจงความถ่ีและคา่ ร้อยละของผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน ก่อนและหลงั เรียน

ผลสัมฤทธ์ิ ช้นั จานวน คะแนน คะแนน ร้อยละ คะแนน ร้อยละ
ทางการเรียน รวม เฉล่ีย(20) เฉลี่ย 28.8
5.76 69.38
ม.4/1 40 217 5.56 27.82
13.87
ก่อนเรียน ม.4/2 38 232 6.11 30.53

ม.4/3 41 230 5.61 28.05

ม.4/1 40 591 15.15 75.77

หลงั เรียน ม.4/2 38 537 14.13 70.66

ม.4/3 41 506 12.34 61.71

จากตารางท่ี 1 พบวา่ คะแนนก่อนเรียนมีคะแนนเฉล่ีย 5.76 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 28.80
เมื่อแยกเป็นรายช้นั พบวา่ ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 4/1 มีคะแนนเฉล่ีย 5.56 คะแนน คิดเป็ นร้อยละ 27.82
ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4/2 มีคะแนนเฉลี่ย 6.11 คะแนน คิดเป็ นร้อยละ 30.53 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 4/3 มี
คะแนนเฉล่ีย 5.61 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 28.05 และคะแนนหลงั เรียนมีคะแนนเฉลี่ย 13.87
คะแนน คิดเป็นร้อยละ 69.38 เม่ือแยกเป็นรายช้นั พบวา่ ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4/1 มีคะแนนเฉลี่ย 15.15

คะแนน คิดเป็นร้อยละ 75.77 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 4/2 มีคะแนนเฉล่ีย 14.13 คะแนน คิดเป็นร้อยละ
70.66 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 4/3 มีคะแนนเฉลี่ย 12.34 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 61.71

ตาราง 2 คา่ เฉล่ียและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานของผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน 13

ผลสัมฤทธ์ิ จานวน คะแนนรวม ค่าเฉล่ีย SD
ทางการเรียน ร้อยละ 3.32
39 591 75.77 2.15
ม.4/1 38 537 70.66 2.86
ม.4/2 41 506 61.71 2.78
ม.4/3 544.67 69.38

เฉลี่ย

จากตารางที่ 2 พบวา่ ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนโดยใชก้ ารสอนแบบบุฟเฟ่ มีคะแนนเฉล่ียร้อย

ละ 69.38 และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน(SD) เทา่ กบั 2.78 เมื่อแยกเป็นรายช้นั พบวา่ ช้นั มธั ยมศึกษา
ปี ท่ี 4/1 คะแนนเฉล่ียร้อยละ 75.77 และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน(SD) เทา่ กบั 3.32 ช้นั มธั ยมศึกษา
ปี ท่ี 4/2 คะแนนเฉล่ียร้อยละ 70.66 และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน(SD) เทา่ กบั 2.15 ช้นั มธั ยมศึกษา
ปี ท่ี 4/3 คะแนนเฉล่ียร้อยละ 61.71 และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน(SD) เท่ากบั 2.86

ตาราง 3 เปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ก่อนและหลงั การสอนโดยใชส้ ถิติ T-test
Dependent

Mean S.D. คา่ เฉลี่ยของ S.D. t df Sig
ผลต่าง คา่ เฉลี่ยผลตา่ ง 1 tailed

ก่อนเรียน 5.75 3.099 8.09 4.338 20.265* 117 0.000
หลงั เรียน 13.85 3.037

จากตารางที่ 3 พบวา่ การทดสอบคะแนนของผเู้ รียน มีคะแนนก่อนเรียนเฉลี่ย เทา่ กบั 5.75
คะแนน และมีคะแนนหลงั เรียนเฉลี่ย เทา่ กบั 13.85คะแนน เมื่อเปรียบเทียบระหวา่ งคะแนนสอบ
ท้งั สองคร้ัง พบวา่ คะแนนสอบ หลงั เรียน สูงกวา่ ก่อนเรียนอยา่ งมีนยั สาคญั ทางสถิติที่ระดบั .05

14

บทที่ 5
สรุปผลการวจิ ัย อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ

การวจิ ยั เรื่อง “ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ก่อนเรียนและหลงั เรียน เรื่อง เซตโดยการจัดการ

เรียนการสอนแบบ บุปเฟ่ ต์” ปรากฏผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูล ดงั น้ี
ผลการวเิ คราะห์ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนก่อนเรียนและหลงั เรียน พบวา่ การประเมินผล

ก่อนเรียนและหลงั เรียนมีผลสมั ฤทธ์ิแตกตา่ งกนั อยา่ งมีนยั สาคญั ที่ระดบั 0.05 นอกจากน้ียงั พบวา่
การประเมินผลก่อนเรียนมีคา่ เฉลี่ยรวมทุกหอ้ ง 5.76 ในขณะที่การประเมินผลหลงั เรียนมีค่าเฉล่ีย
13.87 ซ่ึงเป็นค่าท่ีสูงข้ึน เมื่อพิจารณาคา่ เบ่ียงเบนมาตรฐานของการประเมินผลก่อนเรียน ซ่ึงมีคา่
3.37 ในขณะท่ีคา่ เบี่ยงเบนมาตรฐานของการประเมินผลหลงั เรียนมีค่า 2.78 ซ่ึงเป็นค่าที่ลดลง
แสดงใหเ้ ห็นวา่ หลงั เรียนนกั เรียนมีคะแนนเกาะกลุ่มใกลเ้ คียงกนั มากข้ึน หรือกล่าวอีกนยั หน่ึงวา่
การประเมินผลหลงั เรียนมีการกระจายนอ้ ยกวา่ การประเมินผลก่อนเรียน ซ่ึงเป็นเคร่ืองช้ีวา่ การจดั
กิจกรรมการเรียนการสอนแบบ บุปเฟ่ ต์ น้ี นอกจากจะเพิ่มผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนกั เรียน
สูงข้ึนแลว้ ยงั ทาใหน้ กั เรียนผา่ นผลการเรียนรู้ในระดบั ท่ีใกลเ้ คียงกนั มากข้ึนดว้ ย จากค่าเฉล่ียและ
คา่ เบ่ียงเบนมาตรฐานน้ี ผวู้ จิ ยั ไดต้ รวจสอบประสิทธิภาพการสอนหรือคุณภาพการสอนดว้ ยคา่
สมั ประสิทธ์ิการกระจาย (C.V .) พบวา่ (C.V .) = 14.33 ซ่ึงแสดงวา่ มีคุณภาพการสอนในระดบั ดี

จึงกล่าวไดว้ า่ การจดั กิจกรรมการเรียนการสอนโดยใชก้ ิจกรรมการเรียนการสอนแบบ
บุปเฟ่ ต์ น้ี มีประสิทธิภาพในการพฒั นาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนรายวชิ าคณิตศาสตร์ให้สูงข้ึนเป็นท่ี
น่าพอใจ จากสมมติฐานจะไดว้ า่ ผลสัมฤทธ์ิหลงั เรียนสูงกวา่ ผลสัมฤทธ์ิก่อนเรียน

15

บรรณานุกรม

สรุปผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนฝ่ ายวชิ าการ โรงเรียนวชั รวทิ ยา : 2549
มาตรฐานการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนวชั รวทิ ยา : 2550
กรมวชิ าการ. หลกั สูตรการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2544. พมิ พค์ ร้ังที่ 3

กรุงเทพ : โรงพิมพค์ ุรุสภาลาดพร้าว, 2545
กิตตินนั ท์ แวงคา. การเปรียบเทียบความรู้สึกเชิงจานวน : 2549
สสวท. สานกั งานส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตรคณิตศาสตรและเทคโนโลย.ี ทกั ษะ

กระบวนการทางคณิตศาสตร์ : 2550

ภาคผนวก

ประวตั ิย่อผู้รับการประเมิน
1.ข้อมูลทว่ั ไป

นายเจริญ พิลึก
เกิดเม่ือ วนั ที่ 21 กมุ ภาพนั ธ์ 2521 อายุ 39 ปี
ปฏิบตั ิหนา้ ท่ี โรงเรียนวชั รวทิ ยา ตาบลในเมือง อาเภอเมือง
จงั หวดั กาแพงเพชร สงั กดั สานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามธั ยมศึกษา เขต 41
ตาแหน่งปัจจุบนั ครู คศ.2 (ชานาญการ)
ปฏิบตั ิการสอนในกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

2. ประวตั กิ ารศึกษา
ระดบั การศึกษาสูงสุด ปริญญาโท
วฒุ ิการศึกษาสูงสุด วิการศึกษามหาบณั ฑิต วชิ าเอกบริหารการศึกษา (กศ.ม.)

3. ประวตั ิการรับราชการ/การปฏบิ ตั หิ น้าที่
เร่ิมปฏิบตั ิราชการเม่ือ วนั ที่ 10 สิงหาคม 2544 รวมอายุราชการ 16 ปี

นายเจริญ พลิ ึก
30 มิถุนายน 2560


Click to View FlipBook Version