เครื่องแขวน
ดอกไมส้ ด
ครศู รณั ยู
เครื่องแขวนดอกไม้สดเป็นศิลปะการวัดดอดไม้ ของไทยแบบหนึ่ง
ที่มคี วามสวยสดงดงามอย่างวิจิตรตระการตา ด้วยลกั ษณะเป็นพวงดอกไม้
กระเช้าดอกไม้ รูปทรงต่าง ๆ แขวนอยู่ ตามเพดาน ช่องประตู
ช่องหน้าต่าง มองดูชวนให้รู้สึกอ่อนโยน สละสลวย ละมุนละไม
เม่ือมีลมโชยพัดพากล่ินหอม ระรวยอบอวลในห้อง มีการรวบรวมข้อมูล
ของเคร่อื งแขวนไว้ดังนี้
ประวัติ และท่ีมา
เครื่องแขวนดอกไม้สด
เครือ่ งแขวนดอกไม้สดเป็นศลิ ปะการจัดดอกไม้ของไทยแบบหนึ่ง ท่ีมีความสวยสด
งดงามอย่างวิจิตร ตระการตา ด้วยลักษณะเป็นพวงดอกไม้ กระเช้าดอกไม้
รูปทรงต่าง ๆ แขวนอยู่ตามเพดาน ช่องประตู ช่องหน้าต่าง มองดูชวนให้รู้สึก
อ่อนโยนสละสลวยละมุนละไมย่ิงนัก เมื่อมีลมโชยพัดพากล่ินหอมระรื่นระรวย
อบอวลในห้องน้ันให้ชื่นใจ ทั้งท่วงทีการแกว่งไกวไหวโอนตามแรงลมโชยอ่อน ๆ
ดูน่าอภิรมย์ เพียงธรรมชาติของดอกไม้แต่ละชนิด ก็สวยงามละเอียดอ่อนทาให้
ให้ผพู้ บเห็นตะลงึ ชมแล้วเกดิ ความชน่ื บานขนึ้ ไดอ้ ยา่ งประหลาด ผนวกกับศลิ ปะ
การจัดร้อยกรองอย่างประณีตบรรจง ความงามเครื่องแขวนไทย
ดอกไม้สดหรอื โคมแขวนของไทยจึงยากท่ี จะพรรณนาให้ผู้อ่านรู้สึก
อย่างที่สัมผัสด้วยตาตนเองได้ในการคิดนาดอกไม้สดมาประดิษฐ์
ตกแต่งน้ีคงได้แบบมาจากธรรมชาติ เพราะในธรรมชาตินั้น
มพี วงดอกไมท้ หี่ อ้ ยแขวนอยู่ในลกั ษณะตา่ ง ๆ มากมาย
โดยเหตุท่ีชาวไทยเป็นผู้นิยมในการประดิษฐ์ร้อยกรองดอกไม้เป็น
พุทธบูชาอยู่เป็นประจา โดยเฉพาะคืนที่มีพระจันทร์เต็มดวง
ซึ่ ง ถื อ เ ป็ น วั น ส า คั ญ ยิ่ ง เ ช่ น วั น ม า ฆ บู ช า วั น วิ ส า ข บู ช า
และวันอาสาฬหบชู า จึงไดค้ ิดประดษิ ฐเ์ คร่อื งแขวน
อาจารย์เย้ือน ภานุทัต เคยรับราชการในพระบรมมหาราชวัง
เป็นผหู้ น่งึ ทม่ี ฝี มี อื ในงานชา่ งสตรที ุกแขนงได้กลา่ วว่า เครอ่ื งแขวนดอกไม้สดน้ี
ได้เจริญรุ่งเรืองมาตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 4 ด้วยเหตุที่ทรงมีเจ้าจอมมาก
จานวนกว่า 200 องค์ และน้าหนักก็ตั้งใจประดิษฐ์ดอกไมถ้ วายพระเจ้าอยู่หัว
บ้างแขวนเรียงรายที่ระเบียงโบสถ์ วัด พระศรีรัตนศาสดารามในวันสาคัญ
ทางศาสนา
จากการสันนิษฐานว่า โคมหวด โคมจีน ระย้าน้อย ระย้าแปลง
คงเกิดขึ้นในรัชกาลท่ี 5 ซึ่งเริ่มได้รับอารยธรรมและวัฒนธรรม
จากชาวจีนและชาวตะวันตก จึงนามาประยุกต์เป็นพวงแก้ว พวงกลาง
ระย้าใหญ่ ซึ่งจาลองมาจากโคมไฟฝรั่ง โคมไฟจีน และปรับปรุง
เปล่ียนแปลงให้สอดคล้องไปกับขนาดเล็กและขนาดใหญ่ของดอกไม้ไทย
ที่ได้นามาทดลองเย็บ มัด ปัก ร้อยกรอง ออกเป็นแบบต่าง ๆ
ดว้ ยความประณีตวจิ ติ รพิสดารจนกลืนเข้ามาเป็นศิลปวัฒนธรรมประจาชาติ
ซ่งึ แทบจะไม่หลงเหลือเค้าโครง ของโคมไฟฝรั่งและโคมไฟจนี อยเู่ ลย
งานเครื่องแขวนดอกไม้สด
เป็นงานประดิษฐ์ที่ทาขึ้นเพื่อใช้ในการประดับตกแต่งอาคาร สถานที่
และส่ิงเคารพบูชา มรี ปู ร่างเปน็ ชอ่ เป็นพวงท่ีรังสรรค์ขึ้นจากการนาดอกไมเ้ ล็ก ๆ
มาเรียงร้อยรวมกันด้วยเส้นด้าย ประดิษฐ์เป็นเส้นลาย เป็นตาข่าย
รูปต่าง ๆ ท่มี ีอยดู่ ว้ ยกัน 2 ประเภท คอื แบบสองมิติ และแบบสามมติ ิ
แบบสองมิติ
เป็นแบบของเคร่ืองแขวนที่มีลักษณะแบน มองได้ท้ัง 2 ด้าน เช่น
แบบตาข่ายหน้าช้าง แบบบันไดแก้ว แบบวิมานแท่น เป็นต้น
ซ่ึงสว่ นใหญ่จะใชแ้ ขวนบริเวณหน้าต่างที่มีลมผ่าน เมือ่ ลมพัดเข้ามาในเคหะ
สถานที่ประดับด้วยเครื่องแขวนนี้ ก็จะอบอวลเป็นด้วยกล่ินดอกไม้ท่ีแขวน
อยูไ่ ปดว้ ย ผ้อู ยู่อาศัยก็เกดิ ความจรงุ ใจกับดอกไมไ้ ปดว้ ย
แบบสามมิติ
คือ แบบท่ีสามารถมองได้รอบทิศทาง เช่น แบบกลิ่นคว่า
แบบพวงแก้ว แบบพู่กล่ิน แบบระย้าทรงเคร่ือง เป็นต้น
งานประดิษฐ์แบบน้ีจะใช้แขวนประดับภายในบ้าน เพ่ือให้เกิด
ความสวยงามตอ่ ผ้ทู ่ีมาพบเห็น
เคร่ืองแขวนดอกไม้สดเป็นงานศิลป์ท่ีมีมาตั้งแต่สมัยอยุธยา
แต่งานศลิ ปะแขนงน้ีก็ต้องเส่ือมถอยไปเมอ่ื คราวเสียกรุงเป็นครั้งที่ 2
จ า ก นั้ น จึ ง เ ริ่ ม ถู ก ฟ้ื น ฟู อี ก ค รั้ ง เ มื่ อ เ ร่ิ ม ส ร้ า ง ก รุ ง รั ต น โ ก สิ น ท ร์
บุคคลสาคัญในวงการช่างดอกไม้ในยุคน้ัน คือ เจ้าจอมมารดาตานี
ธิดาเจา้ พระยาอรรคมหาเสนา (บุนนาค) เจ้าจอมในพระบาทสมเด็จ
พระพุทธยอดฟา้ จฬุ าโลกมหาราช ผมู้ ฝี ีมือเชงิ ช่างดอกไม้
ประเภทของเครอ่ื งแขวน
ดอกไม้สด
1. เครื่องแขวนจ๋วิ
เป็นเครื่องแขวนที่มีเส้นผ่าศูนย์กลาง 5 -15
เซนติเมตร ยาว 8 - 45 เซนติเมตร ได้แก่
เครอื่ ง จานท่ีรอ้ ยด้วยโครงลวดเส้นเลก็ เป็นรปู วงกลม
วงรี สามเหลี่ยม สเี่ หล่ียม พวงดอกไม้ ดวงดาว ปลา
2. เครือ่ งแขวนขนาดเล็ก
เป็นเครื่องแขวนท่ีมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางต้ังแต่
9 - 12 น้วิ ความยาว 15 - 40 นิ้ว
1. ตาขา่ ยหนา้ ช้าง
2. บันไดแก้ว บนั ไดเงนิ บันไดทอง
3. กล่ินตะแคง กลน่ิ จนี กลิน่ จระเข้ กล่นิ คว่า
4. ชอ่ งวิมาน
5. พู่กลนิ่
6. พดั จีน
3. เคร่อื งแขวนขนาดกลาง
เป็นเครอ่ื งแขวนที่มลี ักษณะของโครงและกระเช้ารปู ทรง
ต่าง ๆ มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง ต้ังแต่ 5-20 น้ิว
มคี วามยาว 40 - 60 นว้ิ
1. โคมหวด
2. ระยา้
3. พวงแกว้
4. เครอื่ งแขวนขนาดใหญ่
เ ป็ น เ ค รื่ อ ง แ ข ว น ที่ มี ข น า ด ใ ห ญ่ เ ป็ น พิ เ ศ ษ
มีเส้นผ่าศูนย์กลางตั้งแต่ 20 - 30 น้ิว
มีความยาว 50 - 100 นว้ิ ได้แก่
1.ระยา้ ใหญ่
2.พวงแก้วใหญ่
3.โคมจนี
4.โคมประยกุ ต์
ส่วนประกอบของเคร่ืองแขวน ขนาดกลาง
เคร่ืองแขวนขนาดกลาง เป็นเคร่ืองแขวนท่ีไม่ใหญ่
เกินไปและ ไม่เล็กจนเกินไป ขนาดพอเหมาะ
มีสว่ นประกอบต่าง ๆ ที่สาคัญ ดังน้ี
สว่ นประกอบตา่ ง ๆ ของเครื่องแขวนขนาดกลาง
หมายถึง การใช้เข็มร้อยดอกไม้เล็ก ๆ เช่น
พุด มะลิม ดอกรัก เป็นลวดลายคล้ายตาข่าย
หรือผืนผ้าลูกไม้ โปร่ง ๆ ใช้สาหรับหุ้มโครง
ของเครื่องแขวน ใช้เป็นพ้ืน สาข่ายที่แต่งตัวสวยงาม
และช่วยยกแยง่ แบบเฟ่ืองระบาย
แบบ
หมายถงึ การนาใบตองมาชอ้ นสลบั กัน 4-10 ชน้ั ในทิศทางต่างกันแล้ว
นามาตัดตามรูปแบบท่ีต้องการ จากนั้นนาดอกไม้ กลีบดอกไม้
และใบไม้ มาเรียงหรือจับจีบเย็บลงไปตามแบบ ได้แก่ แบบสวน
แบบเฟ้อื ง แบบทดั หู แบบฟกู่ ล่ิน ฯลฯ ช่วยปิดบังหรือพรางขอบโครง
และชว่ ยใหส้ วยงามเพิม่ สีสัน ใหม้ ีความกลมกลืน
หมายถึง สายโยงเชื่อมระหว่างมุมหรือ เฟื่อง
ระหว่างอุบะ หรือระหว่างช่วงแบ่งขอบโครง
เคร่ืองแขวน และจะปิดปมด้ายผูกเฟ้ือง
ด้วยดอกทัดหู ใช้เป็นเคร่ืองประดับ หรือ
เครือ่ งแต่งตัวของงานดอกไมส้ ด ท่ีสาคัญมาก
ชน้ิ หนึ่ง ช่วยให้ดอู อ่ นโยน ชดช้อย หรูหรา
โครงเคร่อื งแขวน
หมายถึง วัสดุท่ีนามาใช้ทาอาจเป็นไม้หรือเป็นเหล็ก
และจะต้องมีความแข็งแรง เพียงพอท่ีจะรองรับน้าหนัก
ข อ ง เ ค ร่ื อ ง แ ข ว น โ ด ย ข น า ด ข อ ง โ ค ร ง ข้ึ น อ ยู่ กั บ
ขนาดของเครือ่ งแขวน (มณีรตั น์, 2527)
หมายถึง ดอกไม้ท่ีร้อยเป็นเส้นสาหรับห้อยให้เกิดชาย
ที่แกว่งไกวไหวตัวให้ความรู้สึกสบาย นุ่มนวล ใช้สาหรับ
ห้อยหรือรัดท่ีปากพานดอกไม้ ใช้ผูกส่วนปลาย
ข อ ง พ ว ง ม า ลั ย ใ ช้ ผู ก ส่ ว น ล่ า ง ข อ ง เ ฟ้ื อ ง ร ะ ย้ า
ระบายต่าง ๆ และ ผกู ตามมมุ เพ่ือแขวนดอกไม้สด
งานเคร่ืองแขวนดอกไมส้ ด เป็นหสั ถศิลป์ อันวจิ ิตร
ของไทย เป็นศิลป์อีกแขนงหน่ึงที่เชิดหน้าชูตา
มาของแผ่นดิน ก่อให้เกิดความภาคภูมิใจในหัตถศิลป์
อั น ท ร ง คุ ณ ค่ า ท่ี ไ ด้ บ่ ม เ พ า ะ ภู มิ ปั ญ ญ า
มาอยา่ งตอ่ เน่ืองจากรนุ่ สรู่ นุ่
ตาข่ายหน้าช้าง
สันนิฐานวา่ เป็นเครื่องแขวนที่คิดขึ้นมาเป็นแบบแรก
เพราะโครงสร้างเป็นแบบเส้น ตรงเส้นเดียว
ไม่สลับซับซ้อน นอกจากใช้แขวนประดับสถานท่ีแล้ว
ยังใช้คลุมหน้าผากช้างสาคัญเวลาเข้าพิธี เช่น
พธิ ถี วายชา้ งสาคัญ หรอื สมโภชชา้ ง เป็นต้น
พดั หน้านาง
ลักษณะคล้ายพัดหน้านาง หรือตาลปัตร
ของพระภิกษุ ตัวพัด ร้อยเป็นสายด้วยดอกพุดแผ่รัศมี
ออก คลา้ ยพัดใบลาน ส่วนบนและลา่ งตกแต่งด้วยอุบะ
และตุ้งต้ิง เหมาะสาหรับแขวนประดับช่องประตู
หน้าต่างหรอื ตามฝาผนงั
พดั จามร
นอกจากพัดหน้านางแล้ว พัดจามรถือเป็น
พัดไทยที่มีรูปลักษณ์อ่อนช้อยงดงาม เหมาะที่จะ
นามาดัดแปลงเป็นเครื่องแขวน เม่ือนามา
ตกแต่งด้วยดอกไม้สีสันสดใส จะเพิ่มความสะดุด
ตาชวนมอง
กลิน่ จระเข้
รูปร่างคล้ายจระเข้ ประกอบด้วยรูปสี่เหล่ียม
ขนมเปียกปูน สามอันซ้อนทับกัน โดยอันกลาง
มีขนาดใหญ่กว่าอันบนและล่างเล็กน้อย ใช้เส้น
รอบรูปท่ีเกิดขึ้นใหม่ บรรจุลายและตกแต่งตาม
มุมด้วยอุบะใหด้ วู จิ ิตร
พกู่ ลน่ิ
เป็นพวงดอกไม้มีลักษณะคล้ายพู่ คือ ตรงกลางป่อง
หัวและเท้าเรียว ใช้แขวนห้องเพื่อความสวยงาม
และส่งกล่ินหอมอบอวลของดอกไม้สด พู่กลิ่นมีหลาย
ขนาดต้ังแต่ 3-7 ช้ัน ในงานมงคลใช้พู่กลิ่นจานวนชั้น
เป็นเลขค่ี และใช้จานวนชัน้ เปน็ เลขคู่สาหรบั งานศพ
บนั ไดแกว้
ลักษณะคล้ายข้ันบันได 3 ขั้น นามาผูกโยงกันด้วย
สายร้อยด้านข้าง และสายร้อยไขว้กากบาท ตกแต่งด้วย
ตุ้งติ้ง ใช้ดอกไม้สีขาวนวลท้ังหมด เพื่อให้ความรู้สึกคล้าย
บันไดแก้ว ซ่ึงเชื่อกันว่าเป็นบันไดเนรมิต โดยเทวฤทธ์ิ
แห่งท้าวโกลยี ์ รับองค์พระพุทธเจ้าเสดจ็ ลงจากดาวดงึ ส์
บันไดเงิน
ลัก ษณ ะ คล้ า ยบั น ได แ ก้ว แ ต กต่ า งกั น ท่ีสี สั น
ของดอกไม้ ซึ่งใช้ดอกสีฟ้าคราม ขาว นวล อมเทาบ้าง
และลวดลายตกแต่งท่ีแปลกออกไป ตามพุทธประวัติน้ัน
พรหมท้ังหลายใช้บันไดเงิน ตามส่งเด็จพระพุทธเจ้าลงจาก
ดาวดึงส์ โดยท่านท้าวมหาพรหม ทรงกนั้ เศวตฉตั รถวาย
บนั ไดทอง
ลั ก ษ ณ ะ ค ล้ า ย บั น ไ ด แ ก้ ว แ ล ะ บั น ไ ด เ งิ น
หากแต่ใช้ดอกไม้สีเหลอื งทอง เพอ่ื ให้ความรสู้ ึก
คล้ายบันไดทอง ซึ่งเทพยดา ใช้ตามส่งเสด็จ
พระพุทธเจ้า ลงจากดาวดึงส์สู่พื้นพิภพ
โดยมีท้าวโกลยี ์ถือบาตนาเสดจ็
กลิ่นจีน
ลักษณะคล้ายต่ังหูจีน เป็นแบบที่ดัดแปลงมาจากกล่ิน
ตะแคง คือรูปดาวหกแฉกอยู่ตรงกลาง ส่วนบนเป็นดาว
คร่ึงดวง ส่วนล่างเป็นรูปส่ีเหล่ียมติดกัน 2 อัน นาทุก
ส่ ว น ม า ผู ก โ ย ง เ ชื่ อ ม กั น แ ล้ ว ผู ก อุ บ ะ แ ล ะ ตุ้ ง ต้ิ ง
ให้ความรู้สึกที่โปร่งบางเบา เมื่อมีลมพัดเพียงเล็กน้อยจะ
เกดิ อาการเคล่ือนไหว
วมิ านแทน่
ลักษณะเป็นกรอบสี่เหล่ียมสองช้ัน คล้ายช่อง
หน้าต่าง มีตาข่ายหน้าช้าง เป็นรูปสี่เหลี่ยมหน้า
จ่วั อยสู่ ว่ นบน ตรงมุมของกรอบส่ีเหลย่ี มมีดอกเย็บ
แบบทัดท้ัง 4 มุม ใช้สีสันสดใสให้เด่นสะดุดตา
วิมานแทน่ บางทา่ นเรียกวา่ ช่องวมิ าน
วิมานพระอนิ ทร์
ใช้ประดับประตูหน้าต่าง ประดิษฐ์เพิ่มเติมจากตา
ข่ายหน้าช้าง ระหว่างจ่ัวบนและจ่ัวล่าง จะเป็น
กรอบส่ีเหลี่ยมผืนผ้าคล้ายช่องหน้าต่าง ตรงกลาง
หน้าจ่ัวอาจติดแบบพระอินทร์ และติดแบบ
กระหนกบนจ่วั ลา่ ง หรืออาจจะไมต่ ดิ แบบเลยก็ได้
กลิ่นตะแคง
ลักษณะคล้ายดาวหกแฉกหรือรูปหกเหล่ียม ตกแต่ง
อุบะตามมุม นิยมร้อยทั้งดอกรักและดอกพุด ใช้แขวน
ประดับสถานท่ี เพ่ือเพ่ิมความสวยงามสดชื่น ประดิษฐ์
สีสนั ได้ตามความเหมาะสม
โคมกระเช้าดุสติ
โครงสร้างตัวโคมและฝาโคม นาใบโพธิ์พอกย้อมสี
ผนึกกับโครง ถักตาข่ายด้วยดอกพุดกับใบโพธ์ิอีกครั้ง
ส่วนบนของฝาเป็นรูปเจดีย์ ตกแต่งด้วยเมล็ดพืช
ผูกอุบะตุ้งต้ิง ส่วนล่างของโคมเป็นรูปดอกบัว
ตกแตง่ ด้วยเมลด็ พืช ติดกนก 4 มุม ตัวโคมประดับ
พระปรมาภไิ ธยย่อ ภปร. ประดิษฐานบนครุฑ
โคมกระเชา้ หน้านาง
โครงสร้างตัวโคมนาใบโพธิ์พอกย้อมสีมาผนึก ถักตา
ข่ายด้วยดอกพุดทับอีกครั้ง ส่วนบนถักตาข่ายโปร่ง
ตลอดติดผูกอุบะตุ้งต้ิง ขอบฝาโคมประดับแบบกนก
หัวมน ผูกอุบะประดิษฐ์ลายสมอเรือ ติดทัดหูกลม
ท่ีตัวโคม แบ่งช่วงผูกอุบะและประดับแบบกนก
ชายประดบั พุ่มดอกรัก และอบุ ะสร้อยสน
โคมฝร่ัง
โครงสร้างเป็นรูปวงกลมหลายขนาด มีแกนกลาง
เชื่อมติดกันแต่ละชั้น ชั้นล่างมีวงกลมซ้อนกัน 2 วง
ตัวโคมร้อยด้วยดอกรักผูกเป็นสายให้ได้จังหวะ ส่วนบน
เป็นรูปโคง้ มน ติดด้วยดอกรัก หอ้ ยอุบะตุ้งตงิ้ ที่ขอบบน
และช้ันที่ 2 ชั้นล่างสุดห้อยอุบะตุ้งติ้งสามแถว
ตามขอบวงกลมทกุ ช้นั เดินสวนด้วยดอกรกั
โคมจีน
โครงสร้างเป็นรูปทรงกระบอก 6 เหลี่ยม
ตัวโคมถักตาข่ายดอกรัก ขอบบนและล่างถักตา
ข่ายดอกพุด ตรงมุมบนร้อยดอกรักเป็นสายผูก
รวบเข้าด้วยกัน ตรงกลางผูกอุบะไทยทรงเครื่อง
ตามมุมประดับด้วยเฟ่ืองประดิษฐ์ ประดับอุบะ
แบบต่างหูจีน ตรงมุมติดทัดหูรูปดาว 6 กลีบ
ชายล่างประดบั ดว้ ยอบุ ะตุ้งต้ิง
กลน่ิ ควา่
โครงสร้างเป็นกล่ินตะแคง 6 แฉก ถักด้วยดอกรัก
ส่วนบนและล่างร้อยดอกรักเป็นสายผูกรวบด้วยกัน
ประดับด้วยเฟ่ืองมาลัยแบนลูกโซ่ด้วยดอกกล้วยไม้
ตามมุมห้อยอุบะด้วยสร้อยสนจากดอกกล้วยไม้ และ
ติดทัดหูกลมดอกกุหลาบ ส่วนชายห้อยอุบะไทย
ทรงเครือ่ งดว้ ยกลบี กลว้ ยไม้
ระยา้ ทรงเคร่ือง
โครงสร้างรูปดาว 8 แฉก ส่วนบนถักตาข่ายจอมแห
ส่วนล่างถักตาข่ายดอกรัก ผูกอุบะตุ้งต้ิงประดับเฟ่ือง
มาลัยลกู โซ่แบน ด้วยดอกกลว้ ยไม้ ตามมุมผูกอุบะพู่
กล่ินบานไม่รู้โรย ชายพกู่ ลิ่นใช้อุบะสร้อยสนจากดอก
กลว้ ยไม้ ตรงกลางประดบั ด้วยพกู่ ล่นิ เช่นเดยี วกัน
พวงกลาง
โครงสร้างรูป 6 แฉก มีวงกลมซ้อนข้างใน 2 วง
ร้อยอุบะดอกชบาประดิษฐ์ด้วยดอกรัก เป็นสาย
ลดหล่ันกัน ส่วนรูปดาวอุบะลดหลั่นกันเป็น
สามเหลี่ยมหน้าช้าง ตามมุมประดับด้วยอุบะ
สร้อยสน และติดทัดหูกลม ส่วนบนร้อยดอกรัก
เปน็ สายผูกรวบ ประดบั อบุ ะสรอ้ ยสน
พวงแก้ว
โ ค ร ง ส ร้ า ง เ ป็ น รู ป 6 เ ห ลี่ ย ม ด้ า น เ ท่ า
สามอันร้อยอุบะดอกจาปีประดิษฐ์ ผูกให้ได้ขนาด
ลดหล่ันกันเป็นชั้น ประดับเฟื่องแบบกนก
ตามมมุ หอ้ ยอุบะแขกดอกจาปปี ระดิษฐ์ ตดิ ทัดหูรปู
ดาว ส่วนบนร้อยดอกรักเป็นสายผูกรวบติดกัน
หอ้ ยอบุ ะแขกตรงกลาง
กระเชา้ ทพิ ยม์ าลี
โครงสร้างกระเช้าเป็นรูปดาว 6 แฉก รัศมีเป็นรูปดาว
16 กลบี ตัวกระเช้าย่อส่วนจากกระเช้าสีดา รัศมตี ิดแบบให้
สอี ่อน-แกผ่ ูกตดิ กระเชา้ สว่ นกลางของรัศมีรอ้ ยดอกรักต่อกัน
แบบประดิษฐ์ รูปสมอเรือ ส่วนล่างประดับด้วยอุบะ
แบบประดิษฐ์รูปสมอเรือซอ้ นกนั
ระย้านอ้ ย
ประกอบด้วยโครงสร้างรูปดาว 5 แฉก ส่วนบนถักตา
ข่ายจอมแหด้วยดอกพุด ส่วนล่างถักตาข่ายดอกพุด
ชายห้อยอุบะตุ้งต้ิง ประดับเฟื่องมาลัยแบน ตามมุม
ตดิ อุบะไทย ทัดหูมาลัยซีก ส่วนล่างของระย้าประดับ
ด้วยอุบะไทย
โคมหวด
เป็นโครงสร้างตัวโคมเป็นรูปหวดน่ึงข้าว ปากหวดเป็น
รูปดาว 6 แฉก พร้อมฝาถักตาข่ายดอกพุดที่โครงสร้าง
รูปหวด ถักตาข่ายห้อยอุบะตุ้งต้ิง ส่วนบนใช้ดอกรัก
ประดับ ตามมุมห้อยอุบะไทย ตกแต่งด้วยเฟื่องกนกมน
ติดทัดหูกลม ส่วนล่างประดับด้วยดอกรัก ห้อยชายด้วย
อบุ ะไทยทรงเครอื่ ง และรัดขอ้ มาลัยซีก
กระเชา้ สดี า
โครงสร้างเป็นรูปดาว 6 แฉก ส่วนบนร้อยดอก
รักเป็นสาย ผูกรวบตรงกลางห้อยอุบะแขก
ตัวกระเชา้ ร้อยดอกรกั เปน็ สายผูกรวบ ที่ชายห้อย
อุบะพู่ ตามมุมประดับเฟื่องแบบกนก ติดอุบะ
ประดิษฐ์ที่กนก ผูกอุบะแบบประดิษฐ์ที่มุม
และตดิ ทดั หรู ปู ดาว
หน้าที่และประโยชน์
ของเคร่ืองแขวนดอกไม้สด