The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

09.เครื่องเทศและสมุนไพร

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ศรัณยู พรมใจสา, 2021-12-15 23:00:19

09.เครื่องเทศและสมุนไพร

09.เครื่องเทศและสมุนไพร

เครื่องเทศและสมนุ ไพร

ครูศรณั ยู

กรอบเนอื้ หา

- ความหมายและความสาคัญของเครื่องเทศ
และสมุนไพร

- ชนิดของเครอื่ งเทศและสมนุ ไพรท่ใี ช้
ในการประกอบอาหาร

- หลกั การเลอื กและเก็บรกั ษาเครื่องเทศ
และสมุนไพร

อาหารไทยมจี ุดเด่นอยทู่ ี่กลิ่น รสของอาหาร
มีความหลากหลาย

ใช้เครื่องเทศและสมุนไพรเปน็ สว่ นประกอบ
ทาใหเ้ ปน็ อาหารเพื่อสุขภาพ

ความหมายของเคร่ืองเทศ

เครอื่ งเทศ ( Spice)
หมายถึง ส่วนต่าง ๆ ของพืชท่ีถูกนามาใช้เพ่ือปรุงอาหารให้สี กล่ิน และ
รสชาติ (Flavoring agent) แก่อาหาร หรือใช้เป็นเครื่องหอม เน่ืองจาก
มีกลน่ิ หอมจากนา้ มันระเหยและรสชาติเฉพาะตวั เช่น ขงิ ข่า กระชาย

ลักษณะพิเศษของเครือ่ งเทศ
คือมีน้ามันระเหยและมีความเผ็ดร้อน ได้มาจากส่วนต่าง ๆ
ของพืช เชน่ ผล ราก ใบ เปลือก เมลด็ ดอก หัว



1. เคร่ืองเทศมีน้ามันระเหย (Essential oil) บางชนิดมีฤทธิ์เป็นสารต้านออกซิเดชัน
(Antioxidant) มีฤทธเ์ิ ป็นสารกันเสยี (Preservative)

2. เครื่อ งเทสเป็ น ตั วท่ีทาใ ห้เกิ ด ก ลิ่น ร ส เผ็ด ร้อ น ข้ึน ใน อ าหาร หรือ เคร่ือ งด่ืม
ทาใหเ้ กิดความรสู้ ึกนา่ รับประทานและรสชาติดีขนึ้

3. นอกจากนีย้ ังมีคา Condiments ซ่ึงหมายถึง เคร่ืองเทศที่ใช้ใส่หรือโรยอาหารที่ปรุงสุกแล้ว
และ Seasonings หมายถึง เครอื่ งเทศทใี่ ช้ใสใ่ นอาหารขณะปรงุ

ชนดิ ของเครื่องเทศ

เครื่องเทศสด

ได้แก่ พืชสวนครัวที่มีน้ามันระเหยในขณะท่ียังสดอยู่
และจะค่อย ๆ ระเหยจางไปกับความแห้ง ซ่ึงจะทาให้
ความหอมลดลงหรือหมดไป เช่น ผักชฝี รง่ั โหระพา
แมงลัก ขึ้นฉ่าย กะเพรา สะระแหน่ ขิง ข่า
หอมแดง ใบมะกรูด ตะไคร้

ชนิดของเครอ่ื งเทศ

เครือ่ งเทศแห้ง

จะใหน้ ้ามันหอมระเหยเมื่อแห้ง และยิ่งหอมมากขึ้น
เมื่อได้รับความร้อน ซ่ึงจะกระต้นให้คายกลิ่นหอม
ออกมา ดังนั้นก่อนนาไปใช้ปรุงอาหารจงึ นิยมนาไป
คั่วก่อน ได้แก่ อบเชย จันทน์เทศ โป๊ยกั๊ก
กระวาน พริกไทยดา ดีปลี กานพลู ย่หี ร่า

แหล่งท่มี าของเคร่อื งเทศ

ราก เชน่ กระชาย

เหงา้ เชน่ ขิง ขา่ ขมิน้
หัว เชน่ หัวหอม กระเทียม

ต้น เช่น ตะไคร้
เปลอื ก เช่น อบเชย
ใบ เชน่ กระเพรา แมงลัก โหระพา
ดอก เชน่ ดอกจันทน์ กานพลู
ผล เชน่ ลกู ผกั ชี ยห่ี รา่ ลูกกระวาน โป๊ยก๊ัก พรกิ
เมล็ด เชน่ พรกิ ไทย

กระชาย

ก ร ะ ช า ย เ ป็ น ส่ ว น ข อ ง ร า ก ผิวรากบาง สีเหลืองน้าตาล รากสด ใช้ปรงุ อาหารเพ่อื ดับคาวปลา
ท่ี ข ย า ย ตั ว มี ข น า ด ใ ห ญ่ มนี ้ามนั หอมระเหย เช่น ขนมจนี น้ายา ผดั เผ็ดปลาดุก
ทาหนา้ ทส่ี ะสมอาหาร

ขิง

เป็นพืชท่ีมีเหง้าใต้ดิน ภายนอกเหง้าเป็นสีน้าตาลแกมเหลือง เนื้อในสีขาวหรือ
เหลืองอ่อน มักนามาปรุงอาหาร เพราะส่งกล่ินหอม เนื้อช้ันนอกติดเปลือก
มีน้ามันหอมระเหย เน้ือชั้นในมีรสเผ็ดร้อน ช่วยขับลม แก้ท้องอืด ท้องเฟ้อ
ขิงแก่ มรี สเผด็ ร้อน

ขา่

นิยมใช้ทั้งข่าอ่อน และข่าแก่ปรุงแต่งกลิ่น
รสอาหาร มีนา้ มนั หอมระเหย และรสเผด็ ร้อน

ขา่ ออ่ นทัง่ เหง้าและหนอ่ รับประทานเป็นผัก
เช่น ไก่ต้มข่า ผักจ้ิมน้าพริก เป็นส่วนประกอบ
ของเครอ่ื งนา้ พริกแกง

ขม้ิน

เนอ้ื ข้างในสเี หลืองสด มสี ารสีเหลอื ง พวกเคอร์คิวมิน
(Curcumin) ซึ่ ง เ ป็ น สี เ ห ลื อ ง จ า ก ธ ร ร ม ช า ติ
ละมีกลิ่นหอมระเหย ใช้แต่งสีอาหาร เช่น ข้าวหมกไก่
แกงเหลอื ง ขนมเบอื้ งญวน

หวั หอม

เป็นพืชหัว มีน้ามันหอมระเหย ซึ่งเป็นสารกามะถัน
ก ลิ่ น ร ส ฉุ น จั ด แ ล ะ ร ะ ค า ย เ คื อ ง ท า ใ ห้ แ ส บ ต า
ใช้รับประทานเป็นผัก หรือ แต่งกล่ินอาหาร เช่น
เป็นเครือ่ งเทศในน้าพริกแกง

กระเทยี ม

มหี ลายพนั ธุ์ กระเทยี มไทยหวั เล็ก กลน่ิ ฉุน กระเทียมจีนหวั ใหญ่
มีสารประกอบพวกอัลลิซัน (Allicin) เป็นสารประกอบกามะถัน
มกี ลน่ิ ฉุน แต่ไม่คงตัว สลายได้งา่ ยเมอ่ื ถกู ความร้อน

ตะไคร้

ส่ ว น ต้ น แ ล ะ ก้ า น ใ บ มี ก ลิ่ น ห อ ม
ของน้ามนั หอมระเหย

เป็นส่วนประกอบของอาหารหลายชนิด
เช่น ต้มยา เครื่องแกง พล่า ไก่อบ
ตะไคร้ ทาเครอื่ งดื่ม

กระเพรา

มี 2 ชนิดคือ กะเพราขาว และกะเพราแดง โดยกะเพรา
แดงมฤี ทธท์ิ แี่ รงกว่ากะเพราขาว

ในสรรพคุณทางยา จึงนิยมใช้กะเพราแดง โดยส่วนท่ีนามาใช้ทา
เ ป็น ย า สมุ น ไพ ร ไ ด้ แก่ ส่ ว น ข องใ บ ย อด แล ะ ทั้งต้ น
แต่ถ้านามาใช้ประกอบอาหารจะนิยมใช้กะเพราขาวเป็นหลกั

โหระพา

อยู่ในวงค์เดียวกับแมงลักและกะเพราใบสด โหระพา
ใช้เป็นน้ามันหอมระเหย ช่วยในการเจริญอาหาร
ช่วยในการย่อยอาหาร แก้อาการจุกเสียด แน่นท้อง
เพราะใบโหระพาชว่ ยขบั ลมในลาไสไ้ ด้เป็นอย่างดี

ใบแมงลกั

ลักษณะคล้ายกับกะเพรา แต่ปลายใบแหลม
ใบช่อดอก และยอดอ่อน มีกลิ่นหอมจากน้ามันหอมระเหย
ใช้แต่งกล่ินอาหาร เชน่ แกงเลียง ขนมจีนน้ายา

ดอกท่ีปลายยอด ภายในจะมีเม็ดแมงลัก
ลักษณะคล้ายงา เมื่อแก่จะมีสีดา เม่ือถูกน้าจะอมน้า
และพวงตวั มีเมอื กขาวหมุ้ อยู่

ใบยีห่ ร่า

เป็นพืชในวงค์กะเพรา เป็นใบเดี่ยว สีเขียว ขอบใบหยัก
แบบใบเลื่อย มีกลิ่นหอมเฉพาะ มีรสชาติเผ็ดร้อน
มักนามาปรุงอาหารร่วมกับเน้ือสัตว์ที่มีกลิ่นแรงและช่วยดับ
กล่นิ คาวได้ เช่น เนือ้ ผดั ใบย่หี รา่ แกงเผด็ ปลาดุกใบย่หี ร่า
ไก่ผดั พริกแกงใต้หยี่หร่า แกงค่ัวหอยขม แกงอ่อม เป็นต้น
หรือจะกนิ ใบสดร่วมกับอาหารก็ไดเ้ ชน่ กนั

ตน้ หอม ต้นหอมเป็นพืชล้มลุกขนาดเล็กตระกูลเดียวกับกระเทียม มีหัวสีขาวปน
สีม่วงอยู่ใต้ดิน ใบเป็นท่อยาว ปลายแหลม ภายในกลวง ดอกสีขาว
ออกเปน็ ชอ่

ต้นหอมกินได้ท้ังใบ ดอก และหัว มีกล่ินฉุนและรสซ่า นิยมนาไปกิน
เป็นผกั เคยี งกับอาหารชนิดอ่ืน ๆ เช่น ข้าวหมูแดง ส่วนใบใช้ตกแต่งโรย
หน้าอาหาร และใส่ในตม้ ผดั ยา แกงตา่ ง ๆ หรือนาไปดอง

ผกั ชี

เปน็ ไมล้ ม้ ลุกท่ีมลี าตน้ ตง้ั ตรง ภายในกลวง และมกี ิ่งกา้ นทเ่ี ลก็ ลาต้นสเี ขียว ใบจะเรียงคลา้ ยขนนก

- นิยมใช้ลาต้น รากผักชี และลูกผักชี ซ่ึงมีกล่ินเฉพาะตัว ใช้เป็นเคร่ืองเทศผสมเครื่องแกง ผักดอง
ไส้กรอก แตง่ กล่ินอาหารต่าง ๆ

- ใบทาเป็นผักแนมรับประทานกับอาหารอื่นๆ หรือแต่งหน้าอาหาร มีฤทธิ์เผ็ดร้อน ช่วยขับลม
บารุงธาตุ เจริญอาหาร

มะกรูด

- ทั้งใบและผิวของลูกมะกรูดมีน้ามันหอมระเหยอยู่มาก
ใชแ้ ตง่ กลน่ิ ในน้าพรกิ แกง

- ใบมะกรูดใส่ในต้มยา ต้มข่า แต่งหน้าห่อหมกปลา ฉู่ฉ่ีปลา
ทอดมัน ลกู มะกรูดผา่ ซกี แต่งกล่นิ ในขนมจีนน้าพริกและแกงค่วั

อบเชย

- มีสาระสาคัญคือ ซินนามิก แอลดีไฮด์ ใช้แต่งกลิ่นอาหาร ได้แก่
เคร่อื งพะโล้ โดนัท ขนมอบบางชนิด และผลติ ภณั ฑ์อาหาร

- มี 3 ชนิด คือ อบเชยญวน อบเชยเทศ และอบเชยจีน
ให้กลน่ิ หอมแตกต่างกนั

กานพลู

- ใช้ดอกคมู แห้ง มสี ยี ้าตาลแดง กา้ นดอกมีน้ามนั หอมระเหยอย่มู าก
- มกี ล่นิ หอมแรง และรสเผด็ ร้อน
- มีฤทธิ์ในการฆ่าเชื้อและยับย้ังการเจริญของจุลินทรีย์ จึงนิยมใช้ใน

การหมกั เนอื้ สัตว์ แล้เป็นส่วนผสมของเนื้อตนุ๋

ลูกผักชี

เม็ดผักชีจะมีลักษณะเป็นลูกกลมเล็ก ๆ สีน้าตาลอมเหลือง มีกลิ่นหอม
รสของลูกผักชีจะมรี สซ่าอ่อน ๆ คลา้ ยชะเอม ก่อนนามาผสมอาหาร ควรนามา
คั่วและบดก่อน ลูกผักชีใช้แต่งกลิ่นอาหารเพ่ือดับกล่ินคาว และเพิ่มกลิ่นหอม
ให้กับอาหาร มักนามาประกอบอาหารประเภทเครื่องตุ๋นต่าง ๆ นิยมใช้ร่วมกับ
เมลด็ ย่หี รา่

ยหี่ รา่

เป็นพืชในวงค์ผักชี ใช้ผลแห้งเป็นเคร่ืองเทศ เมล็ดย่ีหร่ามีรูปร่างยาว รี
สีน้าตาล เปลือกนอกมีขนส้ัน ๆ แข็ง ๆ มีกล่ินหอม รสชาติขมและเผ็ดร้อน
โดยบดเป็นผงเพ่ืองปรุงอาหาร เชน่ แกงพะโล้ แกงมัสมนั่ แกงเนื้อ แกงป่า

ผลสุกแหง้ มนี ้ามนั หอมระเหย

โป๊ยกก๊ั

ผลเป็นกลีบโดยรอบ ทาใหม้ องเห็นเปน็ รูปดาว มี 5 – 13 พู ท่พี บมากมักเป็น 8 พู

ผลแห้งมีกลีบหนาแขง็ สนี า้ ตาลเขม้ กวา้ ง 0.3–0.5 เซนติเมตร ยาว 1-2 เซนติเมตร
หนา 0.6– 1 เซนตเิ มตร ผิวนอกไมเ่ รยี บ สนี า้ ตาลแดง ผิวดา้ นในเรียบสีนา้ ตาลออ่ น
มนั เงา ก้านผลโคง้ ยาว 3 – 4 เซนตเิ มตรติดที่ฐาน ผลตรงกลาง แต่มกั หลดุ ไป

เมลด็ รปู ไข่แบน สนี า้ ตาล เรียบ และเปน็ เงา แต่ละพูมีเมล็ด 1 เมล็ด ยาวประมาณ
6 มิลลเิ มตร ผลมกี ล่นิ หอม รสชาตเิ ผ็ดร้อน และหวาน

พริกไทย

ผลแก่ตากแห้งทั้งเปลือก เรียกว่า พริกไทยดา ส่วนผลแก่เอาเปลือกออกเหลือแต่เม็ดเรียกว่า พริกไทยขาว
หรอื พรกิ ไทยล่อน กลิน่ หอม ค่อนขา้ งฉุน รสเผด็ รอ้ น
สรรพคุณทางยา ขบั เหงอ่ื ขบั ลม แกท้ ้องอดื ทอ้ งเฟอ้ แก้ท้องผูก ปวดฟัน ชว่ ยเจริญอาหาร
ใชท้ ัง้ เมลด็ หรอื นาไปป่นละเอยี ด ใช้แตง่ กล่นิ อาหาร ช่วยดับกลิ่นคาว ใช้ถนอมอาหารประเภทเนื้อสัตว์
และเป็นสว่ นประกอบของนา้ พรกิ แกง และใชพ้ ริกไทยขาวใสใ่ นแกงจดื

พริกแหง้

พริกแห้ง ถือเป็นเครื่องปรุงสาคัญในน้าพริกแกง ก่อนที่จะนาไปใช้ต้อง
นาไปแชน่ า้ ก่อน เพือ่ ให้พริกนุ่ม โขลกงา่ ย
โดยมากเรยี กกนั ตามชอ่ื พนั ธุ์ แหลง่ ปลกู แตกตา่ งกนั ไปในแต่ละทอ้ งถ่นิ
การเลือกซื้อพริกแหง้ ให้ดตู รงผิว ตอ้ งแดงสม่าเสมอ ไม่มีสีขาวหรือ
สีดาแซม ถ้าเป็นพริกแห้งตากเสร็จใหม่ ๆ จะมีสีแดงสด พอเก็บไว้
นานวันสีจะเร่มิ คลา้
สารแคปไซซิน เป็นตวั วัดความเผด็ ในเมด็ พริก

ชนิดของพริกแหง้

พรกิ บางชา้ งหรอื พรกิ มนั บางชา้ ง พรกิ พชิ ชัย พรกิ จินดา
ผลใหญ่ เนื้อหนา เมล็ดน้อย ผิวสี รสชาติไม่เผ็ดมาก สีสวย มีกลิ่น ผลเล็ก เรียวยาว เม่ือตากแห้ง
แดงสด เป็นมันวาว รสไม่เผ็ด หอมเฉพาะตัว แต่ราคาแพง และ แ ล้ ว มี แ ด ง ส ว ย เ น้ื อ ก ร อ บ
มีกลิ่นหอม นิยมทาเป็นพริกป่น หาซ้ือยาก เพราะเป็นพริกพ้ืนบ้าน โขลกให้แหลกง่าย มีเมล็ดมาก
และใชเ้ ป็นเคร่อื งปรุงหลกั ในน้าพรกิ แกง ประจาถ่นิ

ชนิดของพริกแห้ง

พรกิ หวั เรอื พรกิ ห้วยสีทน พริกยอดสน
สี แ ด ง ส ด ก ล่ิ น ห อ ม เม็ดสีแดงเข้ม ผิวเรียบ เน้ือพริกบาง เมล็ดด้านในมาก
รสเผด็ กลาง เป็นมัน เม็ดเหยียดตรง เมื่อแห้งแล้วเปลือกจะออกสีแดงวาว
รสเผ็ดจัด นิยมทาเป็นพริกป่น เพราะรสเผ็ด
ปานกลางและมีกลน่ิ หอม

ชนิดของพริกแหง้

พรกิ อุบล พริกซูเปอรฮ์ อต พริกกะเหรี่ยง
ผิว ขรุขระ เน้ือบ า ง เ น้ื อ ผ ล ห น า แ ล ะ แ น่ น รสเผ็ดมาก มีกล่ินหอมเฉพาะตัว
รสเผ็ดร้อน มีกล่ินหอม นยิ มใช้ทาพริกปน่ ใช้ผสมกับพริกชนิดอ่ืนเพ่ือทาเป็น
เฉพาะตวั พริกปน่

การใช้เครอ่ื งเทศในอาหาร

เคร่ืองเทศไม่จัดเป็นอาหาร เพราะใช้ในปริมาณน้อยมาก มีคุณค่าทางโภชนาการน้อย
คณุ ค่าของเครือ่ งเทศอยู่ทกี่ ลนิ่ น้ามันหอมระเหย และสาระสาคัญคือ สารที่มีการศึกษา
แลว้ ว่ามีฤทธ์ิทางเภสัชวทิ ยาท่ีมอี ยใู่ นเครอ่ื งเทศน้ัน ๆ

การใช้เครอ่ื งเทศในอาหาร

เคร่ืองเทศมักจะมีน้ามันหอมระเหยเป็นองค์ประกอบเคร่ืองเทศแห้ง เช่น ลูกผักชี ย่ีหร่า
จะยิ่งมีกล่ินหอมมากขึ้นเม่ือถูกความร้อน ซึ่งจะไปกระตุ้นให้กลิ่นหอมมากข้ึนเม่ือถูกความร้อน
ซงึ่ จะไปกระตุน้ ใหก้ ลิ่นหอมออกมามาก จึงนิยมนามาค่ัวก่อนใช้ในการปรงุ อาหาร

น้ามันหอมระเหยได้จากส่วนต่าง ๆ ของพืช ได้แก่ เปลือกและลาต้น เช่น
อบเชย จากใบ เช่น กระวาน มะกรูด จากดอก เช่น กานพลู จากผล
เชน่ ผกั ชี พรกิ ไทย กระวาน และโป๊ยกก๊ั

การเลอื กเคร่อื งเทศและสมนุ ไพร

พริกแห้ง เลือกสีแดงเข้ม ไม่มีเช้ือรา ถ้าไม่ต้องการรสเผ็ดมาก
ให้ผ่าเอาไส้ในและเมล็ดออกก่อน นาไปแช่น้าจนนิ่ม ไม่ควรแช่
น้ารอ้ น เพราะสีและรสของพริกจะจางลง ก่อนนาไปโขลกบีบน้า
ออกใหห้ มด

พริดสด เลือกพริกที่ข่ัวยังเขียวสด ผิวเต่งตึง พริกช้ีฟ้าเลือกเน้ือหนา
เด็ดขว่ั ออก นาไปล้างให้สะอาด ห่ันหยาบ ๆ หรือบบุ พอแตก

ขา่ เลือกแงง่ ทีอ่ ว้ นสด เปลือกมสี ีขาวปนชมพู ไม่แข็งมาก สามารถใช้
เลบ็ จกิ ลงไปได้ ลา้ งใหส้ ะอาด แล้วนามาหน่ั ขวางบาง ๆ เตรียมไว้

ตะไคร้ เลือกต้นอวบ โคนต้นมีสีม่วงอ่อน ๆ กาบใบไม่เหี่ยวหมองคล้า
ล้างใหส้ ะอาด ลอกใบออกบ้าง แลว้ ซอยบาง ๆ เฉพาะส่วนลาตน้

ผวิ มะกรดู เลือกผลแก่จัด ผิวขรุขระเป็นมัน ใช้มีดคม ๆ ฝานเอาแต่ผิวสีเขียว
อยา่ ให้ติดผวิ สขี าว

หอมแดง เลือกหัวท่ียังไม่ฝ่อ ไม่มีเช้ือรา หัวที่มีเปลือกสีม่วงแดงข้ึนเงาจะให้
กล่ินฉุนมาก ส่วนหัวที่เปลือกมีสีเหลือง ๆ จะให้รสหวาน ปอกเปลือกออก
ล้างใหส้ ะอาดแลว้ ซอยบาง ๆ

กระเทียม เลือกหวั ที่สด อวบ เปลือกบาง ไม่มีเช้ือรา ล้างเอาส่ิงสกปรกท่ีติดมาออกให้หมด
ปอกเปลอื ก บุบพอแตก หรือหั่นเปน็ ชนิ้ เล็กเตรยี มไว้

รากผกั ชี เลือกรากขนาดกลาง เพราะรากใหญ่จะมีเส้นใยมาก ส่วนรากเล็กจะไม่ค่อยมีกลิ่นหอม
ควรตดั ให้ตดิ โคนตน้ ประมาณ 1/2 น้วิ นาไปล้างให้สะอาด หนั่ ให้เล็กลงก่อนนาไปโขลก

เครื่องเทศแห้ง ได้แก่ ลูกจันทน์ ลูกกระวาน กานพลู อบเชย ลูกผักชี ย่ีหร่า
ต้องนาไปคั่วไฟอ่อนให้หอมก่อน โดยแยกกันค่ัวทีละอย่าง เพราะเคร่ืองเทศแต่ละอย่าง
มขี นาดแตกตา่ งกนั จงึ ใช้เวลา ในการคั่วให้หอมไม่เทา่ กัน

วธิ ีการคั่วเคร่ืองเทศ

ลูกจนั ทน์ ทบุ เอาเปลือกแข็งออกกอ่ น แล้วทุบเน้อื ในให้พอแตกก่อนนาไปคั่ว
ลูกกระวาน นาไปคว่ั กอ่ นแล้วแกะเปลือกออก เลอื กใชแ้ ตเ่ มด็ ข้างใน
กานพลู เลอื กเอาเกสรออกกอ่ นนาไปคว่ั
อบเชย หกั เปน็ ชิ้นเล็ก ๆ ก่อนนาไปคว่ั
ลอเคกู่อรนผ่ือใกังหเชห้ทอีแศมแลกหอ่ ะ้งนยไี่หโดดร้แยกา่แ่ ยกลนกูกันาจันคไั่วทปทนีลค์ ะวั่ อลยไูก่าดกงร้เะลวเพายนราะเกคารนื่อพงเลทู ศแอตบ่ลเะชอยย่างลมูกีขผนักาชดี แตยี่กหตร่า่างกันต้องจนึงใาชไ้เปวคล่ัวาไใฟน
พการรกิค่ัวไใทหห้ ยอเมมไม็ดเ่ ท่ากันไมต่ อ้ งควั่ สามารถนาไปโขลกไดเ้ ลย

การเก็บรักษาเครอื่ งเทศ

เครื่องเทศท่ีใช้มักผ่านการทาแห้ง (Dehydration)
มีความชื้น (Moisture content) และวอเตอร์แอคทิวิตี้
(Water activity)ต่า เพอื่ ให้มีอายกุ ารเก็บรกั ษาได้นานขนึ้

Thanks !


Click to View FlipBook Version