โครงงานอาชีพ
เรอ่ื ง การเขียนเครอื่ งเคลอื บมุกลายนำ้ ทอง
ประยกุ ต์ลายผา้ ซ่ินตนี จก (ชาตพิ นั ธุ์ลาวคร่งั )
ผจู้ ัดทำโครงงาน
เดก็ ชายภากร ขนุ ณรงค์
เด็กชายภาคนิ หางนาค
เด็กหญิงบุษยารตั น์ ร่างใหญ่
ครูทป่ี รกึ ษาโครงงาน
นายณัชพล กาฬภักดี
นางธัญญาเรศ จลุ ปานนท์
โรงเรยี นบ่อกรุวิทยา อำเภอเดิมบางนางบวช จังหวดั สพุ รรณบุรี
สำนกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษามัธยมศกึ ษาสพุ รรณบุรี
บทคดั ย่อ
โครงงานอาชพี เรื่อง การเขียนเครื่องเคลือบมกุ ลายนา้ ทอง ประยุกต์ลายผ้าซิ่นตีนจก (ชาติพนั ธุ์
ลาวครั่ง) มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาและปฏิบัติการเขียนเคร่ืองเคลือบมุกลายน้าทอง ประยุกต์ลาย
ผ้าซิ่นตีนจก (ชาติพันธ์ุลาวคร่ัง) 2) ศึกษาความพึงพอใจที่มีต่อผลงานการเขียนเครื่องเคลือบมุกลายน้า
ทอง ประยุกต์ลายผ้าซิ่นตีนจก (ชาติพันธ์ุลาวคร่ัง) 3) นาความรู้ท่ีได้จากการศึกษาและประสบการณ์
ปฏิบตั ิโครงงานอาชพี ไปใช้ประโยชนใ์ นการประกอบอาชีพไดอ้ ย่างเหมาะสม เพ่ือหารายได้ระหว่างเรียน
โดยการเขียนเครื่องเคลือบมุกลายน้าทองมีวิธดี าเนินงาน ดังนี้ นาเซรามกิ เคลอื บขาวมาวนมกุ นาเขา้ เตา
อบไฟฟ้าด้วยอุณหภูมิ 800 องศาเซลเซียส ใช้เวลา 4 ชวั่ โมง ปล่อยให้เย็นตัวเป็นเวลา 6-8 ชั่วโมง แล้ว
เขียนลวดลายลงบนภานะเซรามิกที่วนน้าทอง ลงลวดลายจนเสร็จ และนามาวนตามจุก ขอบ หูจับด้วย
น้าทอง แล้วนาเข้าเตาอบอีกครั้งด้วยเตาอบไฟฟ้าท่ีมีอุณหภูมิ 800 องศาเซลเซียส ใช้เวลา 4 ชั่วโมง
ปล่อยให้เย็นตัวเป็นเวลา 6-8 ช่ัวโมง จึงนาออกมาจาหน่ายหารายได้ระหว่างเรียน ประเมินความพึง
พอใจท่ีมีต่อผลงานการเขียนเคร่ืองเคลือบมุกลายน้าทอง ประยุกต์ลายผ้าซ่ินตีนจก (ชาติพันธ์ุลาวครั่ง)
จัดทารายงานและบอรด์ นาเสนอโครงงาน
ผลการศึกษาพบว่า สามารถเขียนได้ผลงานลงบนภาชนะได้ 4 รูปทรง ได้แก่ ผอบ แก้วกาแฟ
แก้วน้ามีฝาปิด และโถชั้น แต่ละรูปทรงเขียนลายผ้าซ่ินตีนจก (ชาติพันธุ์ลาวครั่ง) บนผลงาน 9 ลาย
ได้แก่ ลายขอเอส ลายขอระฆัง ลายดอกไม้ ลายผีเส้ือ ลายกาบกล้วย ลายหงส์ ลายนก ลายพญานาค
และลายปลา แล้วนาผลงานมาจาหน่ายหารายได้ระหว่างเรียน และระดับความพึงพอใจที่มีต่อผลงาน
การเขยี นเครอ่ื งเคลือบมุกลายนา้ ทองอยใู่ นระดับมากในทุกด้าน
ก
กติ ติกรรมประกาศ
โครงงานอาชพี เรื่อง การเขยี นเครอ่ื งเคลือบมุกลายน้าทอง ประยกุ ต์ลายผ้าซน่ิ ตีนจก (ลาวคร่งั )
สาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดีก็เพราะได้รับความช่วยเหลือจาก คุณครูณัชพล กาฬภักดี และคุณครูธัญญาเรศ
จลุ ปานนท์ ทีใ่ ห้คาปรึกษาและคาแนะนาตลอดเวลาของการดาเนินงาน ตามวัตถปุ ระสงค์ของโครงงาน
ทีไ่ ด้กาหนดไว้
ขอขอบพระคุณ คุณครูธัญญาเรศ จุลปานนท์ คุณครูท่ีปรึกษาชุมนุมการเขียนลายเบญจรงค์
ท่ีช่วยเหลือเร่ืองการฝึกการเขียนลายเครือ่ งเคลือบมุกลายน้าทอง ตลอดจนการนาเคร่ืองเคลือบมุกลาย
น้าทองไปอบดว้ ยเตาไฟฟา้
ขอขอบพระคุณ คณุ ครูณัชพล กาฬภักดี คุณครูท้องถิ่นชาวลาวคร่ัง ท่ีช่วยเหลือเรื่องการศึกษา
ลายผ้าซ่ินตีนจก (ลาวครั่ง) ตาบลบ่อกรุ เพื่อนาลายมาประยุกต์ลงในการเขียนเครื่องเคลือบมุกลายน้า
ทอง
ขอขอบพระคุณ นายวรรณดน สุขาทิพยพันธุ์ ผู้อานวยการโรงเรียนบ่อกรุวิทยา ที่ได้ให้การ
สนับสนุน และให้ความช่วยเหลือในเรื่องต่างๆ นางสาวฐิวันกาญจณ์ วงษ์อามาตร รองผู้อานวยการ
โรงเรียนบ่อกรุวิทยา นายเอกราช พาชัย หัวหน้ากลุ่มบริหารงานวิชาการ ให้การดูแลสนับสนุน จน
สาเร็จ และคณุ ครูโรงเรียนบอ่ กรวุ ทิ ยา ที่ให้คาแนะนาและหาตลาดในการจัดจาหน่าย
ขอบคุณคณะครู และเพ่ือนๆ น้องๆ นักเรียนโรงเรียนบ่อกรุวิทยา ท่ีเป็นกาลังใจให้การทางาน
สาเร็จลุล่วงได้ด้วยดี และหวังเป็นอย่างย่ิงว่าโครงงานอาชีพเร่ืองน้ี พอจะเป็นประโยชน์ต่อผู้ท่ีให้ความ
สนใจในการตดั สนิ ใจเลือกประกอบอาชพี ตอ่ ไปได้
คณะผู้จดั ทา
ข
สารบญั หน้า
ก
บทคดั ย่อ ข
กิตติกรรมประกาศ ค
สารบัญ จ
สารบัญรปู ภาพ ช
สารบัญตาราง ซ
สารบญั แผนภูมิ 1
บทที่ 1 บทนา 1
1
ท่ีมาและความสาคัญ 1
วัตถปุ ระสงค์ 2
ขอบเขตการศึกษาคน้ ควา้ 2
นิยามเชิงปฏิบัติการ 3
ผลท่ีคาดวา่ จะไดร้ บั 3
บทที่ 2 เอกสารทเ่ี กีย่ วข้อง 12
ความหมาย และความเป็นมาของเครื่องเบญจรงค์ 15
วธิ ีการทาเครอื่ งเบญจรงค์ 16
ประเภทเคร่ืองเบญจรงค์ 17
ขน้ั ตอนการฝกึ เขยี นเคร่อื งเคลือบมุกลายน้าทอง 21
มกุ น้าทอง และขน้ั ตอนการทามุกน้าทอง 22
วสั ดทุ ี่ใชใ้ นการทาเครื่องเคลือบมุกลายนา้ ทอง 25
งานศลิ ปหตั ถกรรมประเภทผ้าทอลาวครั่ง 25
บทที่ 3 วิธดี าเนนิ การ 25
วสั ดอุ ุปกรณ์ 32
วิธกี ารดาเนนิ การ 36
บทที่ 4 ผลการศึกษา 36
บทท่ี 5 สรุปผลการดาเนินงาน 37
สรุปผลการศึกษา 37
อภปิ รายผล 38
ประโยชนท์ ่ีไดร้ ับจากการทาโครงงาน 39
ข้อเสนอแนะ
บรรณานุกรม
ค
ภาคผนวก สารบัญ (ตอ่ ) หนา้
ภาคผนวก ก 40
โครงการการเขยี นเคร่ืองเคลือบมุกลายนา้ ทอง ประยกุ ต์ลายผ้าซ่ินตีนจก
ภาคผนวก ข (ชาติพันธ์ุลาวครง่ั )
ภาคผนวก ค ชนิดและราคาของสนิ คา้
ภาคผนวก ง ศึกษาลายผ้าซนิ่ ตนี จก (ชาติพันธ์ลุ าวคร่งั )
ภาคผนวก จ งานแสดงนทิ รรศการและจัดจาหนา่ ย (งานวิถีไทย Season 1)
ภาคผนวก ฉ แบบประเมินความพงึ พอใจ
ภาคผนวก ช ใบเสนอราคา/ใบสั่งซื้อ
ใบเสร็จรบั เงนิ
ง
สารบญั รูปภาพ
หนา้
ภาพที่ 1 เบญจรงค์ 4
ภาพที่ 2
ภาพท่ี 3 ลายน้าทอง 5
ภาพที่ 4
ภาพท่ี 5 เบญจรงค์สมยั อยธุ ยา 5
ภาพที่ 6
ภาพท่ี 7 เบญจรงคส์ มยั ธนบรุ ี 6
ภาพที่ 8
ภาพที่ 9 เคร่ืองถ้วยเบญจรงค์ลายประจายาม 7
ภาพท่ี 10
ภาพที่ 11 คร่อื งถว้ ยเบญจรงค์ลายนา้ ทองลายก้านตอ่ ดอก 7
ภาพท่ี 12
เครอ่ื งถ้วยลายน้าทองลายกุหลาบ 8
ภาพท่ี 13
ภาพท่ี 14 เคร่ืองถว้ ยเบญจรงค์ลายกา้ นขด 8
ภาพที่ 15
ภาพที่ 16 เครอ่ื งถ้วยลายน้าทองเขยี นลายในชอ่ งกระจก 9
ภาพท่ี 17
ภาพท่ี 18 เครื่องถว้ ยเบญจรงคเ์ ขียนลายครุฑบนพน้ื ขาว 9
ภาพที่ 19
ภาพที่ 20 เครื่องถว้ ยลายครามลายนกไม้นาเข้าจากประเทศจีน 10
ภาพที่ 21
ภาพท่ี 22 เครอ่ื งถว้ ยเบญจรงค์ลายดอกไมว้ าดลวดลายและเคลือบทบั บนชามลายครามท่นี าเขา้
ภาพท่ี 23
ภาพที่ 24 จากประเทศจนี 10
ภาพที่ 25
ภาพท่ี 26 เครอ่ื งถว้ ยเบญจรงคล์ ายเทวดาผลติ ในประเทศญป่ี ุ่น 11
ภาพที่ 27
ภาพที่ 28 เครอ่ื งถว้ ยเบญจรงค์ลายเทพพนม-นรสงิ ห์สว่ นฝามีรูปกระต่ายผลติ ในประเทศจนี 11
เครอ่ื งขาว 12
เบญจรงค์ลายคราม 15
เครือ่ งเบญจรงค์เคลือบสเี ดียว 16
เครื่องเบญจรงคเ์ คลือบสองสี 16
ลายผ้าทอลาวครงั่ 23
วัสดุอุปกรณ์ 25
ศกึ ษาลายผ้าซนิ่ ตนี จก(ชาติพันธุล์ าวครงั่ ) 26
การฝกึ เขียนลายด้วยดนิ สอในกระดาษ 26
การฝกึ เขียนลายด้วยปากกาหัวสักหลาดบนเครื่องขาว 27
การวนมุกบนเคร่ืองขาว 27
การวนนา้ ทองตามขอบ และทาเป็นชว่ งเพอ่ื เขยี นลาย 28
การเขยี นลายด้วยนา้ ทองลงบนเครื่องเคลอื บมุก 28
การวนจุก ขอบ หจู ับดว้ ยน้าทอง 29
นามาอบดว้ ยเตาไฟฟ้า 29
จ
สารบัญรปู ภาพ (ต่อ)
ภาพท่ี 29 การบรรจุผลิตภัณฑเ์ พ่ืรอการจาหน่าย หน้า
ภาพท่ี 30 หน้ารา้ นจาหนา่ ยสนิ คา้ โรงเรยี นบ่อกรวุ ทิ ยา 30
ภาพท่ี 31 ส่งมอบสนิ ค้าแก่ลกู ค้า 30
ภาพท่ี 32 แสดงสินค้าและจัดจาหน่าย 31
31
ฉ
สารบัญตาราง
ตารางท่ี 1 ผลการศกึ ษาและปฏบิ ัติการเขียนเครอ่ื งเคลอื บมุกลายน้าทอง หนา้
ตารางที่ 2 ประยุกต์ลายผ้าซนิ่ ตีนจก(ชาติพนั ธลุ์ าวคร่ัง) 32
ตารางที่ 3 ผลการประเมินความพึงพอใจทีม่ ีต่อช้นิ งานการเขียนเครอ่ื งเคลอื บมุกลายน้าทอง 33
ประยกุ ตล์ ายผา้ ซนิ่ ตีนจก(ชาติพันธุ์ลาวครัง่ ) 35
ผลการนาความรูแ้ ละประสบการณป์ ฏิบัติไปประกอบอาชีพเปน็ รายได้ระหว่างเรียน
จากการทาโครงงานอาชพี
ช
สารบญั แผนภมู ิ หนา้
34
แผนภูมทิ ่ี 1 แสดงระดบั ความพึงพอใจที่มีตอ่ การเขยี นเคร่ืองเคลือบมุกลายน้าทอง
ประยกุ ต์ลายผ้าซิน่ ตนี จก(ชาติพนั ธลุ์ าวคร่ัง)
ซ
1
บทท่ี 1
บทนำ
ท่มี ำและควำมสำคญั
ประเทศไทยเป็นชาติท่ีมีศิลปะและวัฒนธรรมที่สืบทอดกันมายาวนานประเทศหนึ่งในภูมิภาค
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยปรากฏให้เห็นเด่นชัดเป็นหลักฐานท้ังที่เป็นโบราณสถานและโบราณวัตถุ
อันเป็นงานศิลปหัตถกรรมที่ประณีตวิจิตรบรรจงเป็นอย่างมาก ผ่านการคิดค้น สร้างสรรค์ ประดิษฐ์
ความพากเพียร พยายาม ซ่ึงการเขียนเคร่ืองเคลือบมุกลายน้าทองของไทยก็เป็นงานประณีตศิลป์ที่มี
ลกั ษณะเฉพาะตัวอีกงานหนึ่งเช่นกนั การเขียนเคร่อื งเคลือบมกุ ลายนา้ ทองเป็นการสรา้ งมูลคา่ เพิ่มใหก้ ับ
ภาชนะ และเป็นการสืบสานศิลปวัฒนธรรมไทย ที่ควรอนุรักษ์ไว้สืบต่อไปถึงลูกหลาน ถ้าเราไม่ช่วยกัน
อนุรักษ์การเขียนเครือ่ งเคลือบมกุ ลายน้าทองอาจสญู หายได้ โรงเรียนบ่อกรวุ ิทยาเล็งเห็นความสาคัญ จึง
ได้จัดทาโครงงานอาชีพในกิจกรรมชุมนุมเขียนลายเบญจรงค์ ประกอบกับคณะผู้จัดทาโครงงานเกิด
ความสนใจในประยุกต์นาลายผ้าซ่นิ ท้องถิน่ ของชาวบ่อกรุ(ชาติพันธล์ุ าวครัง่ ) นามาประยุกต์เขยี นลายลง
บนภาชนะเคร่ืองขาว จึงได้จัดทาโครงงาน “การเขียนเคร่ืองเคลือบมุกลายน้าทอง ประยุกต์ลายผ้าซ่ิน
ตีนจก (ชาติพันธุ์ลาวคร่ัง)” เพ่ือเป็นการสืบสานลายผ้าทอท่ีมีความเป็นเอกลักษณ์เฉพาะของชาวบ่อกรุ
(ชาติพันธ์ุลาวคร่ัง) สร้างรายได้ระหว่างเรียน ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ และเป็นพื้นฐานในการฝึก
ทกั ษะในการประกอบอาชีพต่อไป
วัตถปุ ระสงค์
1. เพ่ือศึกษาและปฏิบัติการเขียนเครื่องเคลือบมุกลายน้าทอง ประยุกต์ลายผ้าซิ่นตีนจก (ชาติ
พันธ์ลุ าวคร่งั )
2. เพื่อศึกษาความพึงพอใจท่ีมีต่อชิ้นงานเคร่ืองเคลือบมุกลายน้าทอง ประยุกต์ลายผ้าซ่ินตีนจก
(ชาติพันธุล์ าวคร่งั )
3. เพ่ือนาความรู้ท่ีได้จากการศึกษาและประสบการณ์การปฏิบัติโครงงานอาชีพไปใช้ประโยชน์ใน
การประกอบอาชพี ได้อย่างเหมาะสม โดยการหารายได้ระหว่างเรียน
ขอบเขตกำรศึกษำค้นควำ้
โครงงานอาชีพ เร่ือง การเขียนเคร่ืองเคลือบมุกลายน้าทองประยุกต์ลายผ้าซ่ินตีนจก (ชาติพันธุ์
ลาวครงั่ ) ศึกษาวิธกี ารเขยี นลายเครื่องเคลอื บมกุ ลายนา้ ทอง และจดั จาหนา่ ยหารายได้ระหว่างเรียน
2
นิยำมเชิงปฏบิ ตั กิ ำร
กำรเขียนเครื่องเคลือบมกุ ลำยน้ำทอง หมายถึง การเขียนน้าทองบนภาชนะเซรามิกเคลือบขาว
ด้วยนา้ ทอง 12 เปอร์เซน็ ต์ และเขียนลายตามที่ได้ศึกษาลาย ได้แก่ ลายขอ ลายขอระฆัง ลายดอกไม้ ลาย
ผเี ส้อื ลายกาบกล้วย ลายหงส์ ลายนก ลายพญานาค และลายปลา
ลำยผ้ำซิ่นตีนจก (ชำติพันธ์ุลำวคร่ัง) หมายถึง ลวดลายบนผืนผ้า แบ่งออกเป็นตามความเช่ือ
และการบอกเลา่ เร่ืองราวในอดีตกลมุ่ ลวดลายท่ีเกิดจากความเชื่อที่ปรากฏอยู่ในนิทานพ้นื บ้าน หรือตานาน
ผลทค่ี ำดว่ำจะไดร้ บั
1. มีความคดิ รเิ ร่มิ สร้างสรรค์
2. มสี มาธิ ใจเยน็ และมคี วามอดทน
3. มรี ายได้ระหวา่ งเรียน
4. เปน็ แนวทางในการประกอบอาชีพ
5. ใชเ้ วลาว่างให้เปน็ ประโยชน์
6. เป็นการอนรุ กั ษ์ศิลปวัฒนธรรมไทยและภูมปิ ัญญาท้องถ่ินให้คงอยู่สืบไป
บทท่ี 2
เอกสารที่เก่ียวข้อง
ในการทาโครงงานอาชีพ เรือ่ ง การเขียนเครอื่ งเคลือบมุกลายนา้ ทองประยุกตล์ ายผ้าซน่ิ ตีนจก
(ชาตพิ นั ธุล์ าวคร่งั ) คณะผู้จดั ทาได้ศึกษาเอกสารท่ีเกย่ี วข้องดังตอ่ ไปนี้
1. ความหมาย และความเป็นมาของเคร่อื งเบญจรงค์
2. วธิ กี ารทาเครือ่ งเบญจรงค์
3. ประเภทเคร่ืองเบญจรงค์
4. ข้ันตอนการฝกึ การเขียนเครื่องเคลอื บมกุ ลายน้าทอง
5. ลายครามตัดเสน้ นา้ ทอง และข้ันตอนการทา
6. มุกนา้ ทองและข้ันตอนการทา
7. วสั ดุอปุ กรณ์ทใ่ี ช้ทาเครือ่ งเคลือบลายนา้ ทอง
8. ขน้ั ตอนการทาเครอื่ งเคลือบลายนา้ ทอง
9. งานศลิ ปหตั ถกรรมประเภทผ้าทอลาวคร่งั
ความหมาย และความเป็นมาของเครอ่ื งเบญจรงค์
ความหมายของเบญจรงค์
“เบญจรงค์” แปลว่า ห้าสี ชามเบญจรงค์ จึงหมายถึง ชามที่เขียนสีห้าสี แต่ท่ีปรากฏใช้สี มี
สีต้ังแต่ 3 สี ขึ้นไปจนถึง 8 สี สีหลัก ได้แก่ แดง เหลือง ขาว ดา เขียว หรือคราม และสีอื่นๆ ได้แก่ ม่วง
แสด นา้ ตาลเปน็ ตน้
ความเปน็ มาของเครอื่ งเบญจรงค์
เครื่องเบญจรงค์ เปน็ เครื่องป้ันเคลือบทเ่ี ขียนลายโดยวธิ ีลงยา (enamel) เปน็ งานที่เกดิ ขึ้น
ในประเทศจีน เม่อื ปลายพุทธศตวรรษที่ 20 ในรัชสมัยจักรพรรดิซวนเต๊อะ (Hauante ครองราชย์ พ.ศ.
1969-1978) ราชวงศ์หมิง มีการผลิตคร้ังแรกในแคว้นกังไซ มณฑลเจียงซี (ที่ไทยเรียกว่า กังไส) และ
พัฒนาต่อมาจนเป็นท่ีนิยมอย่างมากในรัชสมัยจักรพรรดิเฉิงฮ่ัว (Cheng Hua ครองราชย์ พ.ศ. 2008-
2030)การเขียนลายโดยวิธีลงยาดังกล่าว ใช้สีต้ังแต่ 3 สีข้ึนไป มีช่ือเรียกในภาษาจีนต่างๆกัน ส่วนที่
เรียกว่า เบญจรงค์เป็นการเรียกตามแบบไทย ในความหมายตามคาเรียกหมายถึง การเขียนลวดลายลง
บนงานท่ีผลิตด้วยสี 5 สี โดยท่ัวไปเป็น สีดา สีขาว สีเหลือง สีแดง และสีเขียว (หรือสีคราม) ในสมัยรัช
สมัยจักรพรรดิวั่นลิ (Wan-li ครองราชย์ พ.ศ.2116-2162) ความสวยงานของเคร่ืองเคลือบเบญจรงค์
ทาให้เป็นที่ต้องการของคนไทย จึงมีผู้สั่งทาเคร่ืองเคลือบชนิดนี้จากจีน โดยกาหนดรูปภาชนะเป็นแบบ
ไทย เขียนลายเป็นตัวอย่างลงบนภาชนะแบบต่างๆ ส่งเป็นตัวอย่างให้ช่างจีนเขียนลวดลาย กาหนดสี
4
ตามความนิยมของคนไทย เครื่องเคลือบเบญจรงค์ท่ีทาจากจีนจึงให้ความรู้สึกในความเป็นของไทย ย่ิง
กว่าเครื่องเคลือบจีนชนิดอื่นๆ แต่ช่างจีนซึ่งไม่คุ้นเคยกับลวดลายแบบไทย การเขียนจึงไม่เป็นไปตาม
แบบท่ีต้องการ แม้กระนน้ั กย็ ังเป็นที่นยิ มของคนไทยในสมยั นนั้ เครือ่ งเบญจรงค์ชนดิ ทม่ี ีความละเอียด มี
ความประณีตในการผลิตน่าจะส่ังเข้ามาเพ่ือใช้ในราชสานัก หรือเจ้านายข้าราชการชั้นสูง มักผลิตจาก
แหลง่ จ่งิ เต๋อเจิน้ ใกล้เมอื งหลวงจนี เน่ืองจากเป็นแหลง่ ผลิตที่มีชอ่ื เสียงและมฝี ีมอื ดี ส่วนชนดิ ที่รองลงมา
มกั สั่งทาจากแหลง่ ผลติ ในมณฑลฝเู จย้ี นละมณฑลกวางตงุ้
เบญจรงค์
ภาพท่ี 1 เบญจรงค์
ที่มา : http://www.wangdermpalace.org/Bencharong_th.html
เบญจรงค์ เป็นช่ือเรียกเคร่ืองถ้วยชนิดหนึ่งที่มีใช้ในประเทศไทยตั้งแต่สมัยอยุธยาถึง
รัตนโกสินทร์ประมาณรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเบญจรงค์เป็นเครื่องถ้วยท่ีส่ัง
ทาเป็นพิเศษจากประเทศจีนโดยช่างไทยเป็นผู้ออกแบบ ให้ลาย ให้สีตามรปู แบบของศิลปะไทยส่งไปให้ช่าง
จีนผลิตในประเทศจีนและช่างไทยตามไปควบคุมการผลิตด้วยจึงเป็นถ้วยชามที่มีรูปลักษณะแบบไทย
โดยเฉพาะลวดลายสสี นั แสดงเอกลักษณ์ของไทยอย่างชดั เจน
“เบญจรงค์”แปลว่า ห้าสี ชามเบญจรงค์จึงหมายถึงชามท่ีเขียนสี 5 สีแต่ที่ปรากฏใช้สีมีสี
ต้ังแต่ 3 4 ข้ึนไปจนถึง 8 สีสีหลักได้แก่แดงเหลืองขาวดาเขียวหรือ ครามและ สีอ่ืนๆ ได้แก่ ม่วงแสด
น้าตาล ฯลฯ
5
ลายนา้ ทอง
ภาพที่ 2 ลายน้าทอง
ทม่ี า : http://www.wangdermpalace.org/Bencharong_th.html
ลายน้าทอง จัดเป็นเครื่องถ้วยประเภทเดียวกับเครื่องถ้วยเบญจรงค์แต่มีการเพ่ิมสีทองหรือ
แต้มสีทอง ระหว่างสีเบญจรงคห์ รือเขียนเส้นตัดสที องเร่ิมมีใช้มาตงั้ แต่สมัยราชกาลท่ี 1 แต่ได้รับความนิยม
มากในรัชกาลที่ 2
สมยั กรุงศรอี ยธุ ยา พ.ศ. 2210 - 2310
ภาพที่ 3 เบญจรงคส์ มัยอยธุ ยา (พ.ศ.2210-2310)
ท่มี า : http://www.wangdermpalace.org/Bencharong_th.html
6
ในสมัยกรุงศรีอยุธยาลวดลายของเครื่องถ้วยเบญจรงค์ท่ีเป็นท่ีนิยมกันได้แก่ลายเทพพนม-นร
สิงห์ หรือเทพนม-ครุฑ เขียนบนพ้ืนดาแทรกด้วยลายกนกเปลวลวดลายอื่นท่ีพบได้แก่ราชสีห์ กินรี ฯลฯ
ดา้ นในของเคร่ืองถ้วยเคลอื บสีเขียวสว่ นรูปแบบได้แก่จาน ชามฟา้ และ โถทรงสูงเปน็ ต้น
สมัยธนบรุ ี พ.ศ. 2310 - 2325
ภาพที่ 4 เบญจรงคส์ มัยธนบุรี (พ.ศ.2310-2325)
ท่ีมา : http://www.wangdermpalace.org/Bencharong_th.html
ในสมัยน้ีได้มีการสั่งผลิตเคร่ืองถ้วยเบญจรงค์จากประเทศจีนโดยใช้ของสมัยอยุธยาเป็น
ต้นแบบเครื่องถ้วยสมัยธนบุรีจึงมีช่ือเรียกอีกช่ือหน่ึงว่า“เคร่ืองถ้วยเลียนแบบสมัยอยุธยา” แต่ในการผลิต
ไม่มีช่างของไทยไปควบคุมเน่ืองจากบ้านเมืองอยู่ในภาวะสงครามเกือบตลอดเวลารูปแบบและลวดลายจึงดู
คอ่ นไปทางแบบจนี และการเคลอื บดา้ นในเปลี่ยนจากสีเขยี วเปน็ สีขาว
7
สมยั รตั นโกสนิ ทร์
สมยั พระบาทสมเดจ็ พระพุทธยอดฟ้าจฬุ าโลกมหาราช (รัชกาลท่1ี ) พ.ศ.2325-2352
เคร่ืองถ้วยในสมัยนี้ มีลวดลายหลากหลายและมีสีสันสวยงามกว่าสมัยอยุธยา ลวดลายท่ี
พบได้แก่ลายดอกไม้ก้านต่อดอก และพุ่มข้าวบิณฑ์ เป็นต้น นอกจากนั้น ยังมีการเพิ่มสีทองในการ
ตกแต่งลวดลาย สาหรับลวดลายท่ีเป็นท่ีนิยมกันในสมัยอยุธยา ซง่ึ ไดแ้ ก่ เทพนม – นรสิงห์ เทพนม-ครุฑ
ไม่เปน็ ท่นี ิยมสมัยน้ี
ภาพท่ี 5 เครอ่ื งถว้ ยเบญจรงค์ลายประจายาม
ที่มา : http://www.wangdermpalace.org/Bencharong_th.html
ภาพท่ี 6 เครือ่ งถว้ ยเบญจรงค์ลายน้าทองลายกา้ นต่อดอก
ทมี่ า : http://www.wangdermpalace.org/Bencharong_th.html
8
สมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย (รัชกาลท่ี 2) พ.ศ. 2352-2367
สมัยนี้เป็นสมัยท่ีเคร่ืองถ้วยเฟื่องฟูท่ีสุด ทั้งเบญจรงค์และลายน้าทอง เนื่องจาก
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยและสมเด็จพระศรี สุริเยนทราบรมราชินี ทรงสนพระทัยในเคร่ือง
ถ้วย ได้ทรงคิดรูปแบบแบบลวดลายด้วยพระองค์เอง แล้วส่งไปผลิตในประเทศจีน พร้อมช่าง ศิลป์ไทย
ลวดลายที่เป็นนิยมได้แก่ ลายพุ่มข้าวบิณฑ์ ลายนกไม้ ลายก้านแย่ง ลายก้านต่อดอก และลายกุหลาบน้า
ทอง สาหรับลายครุฑยุคนาค ถอื ว่าเป็นลายประจาพระองค์ของพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลา้ นภาลัย
ภาพท่ี 7 เคร่ืองถ้วยลายนา้ ทองลายกุหลาบ
ทม่ี า : http://www.wangdermpalace.org/Bencharong_th.html
ภาพที่ 8 เครื่องถว้ ยเบญจรงค์ลายก้านขด
ที่มา : http://www.wangdermpalace.org/Bencharong_th.html
9
สมัยพระบาทสมเดจ็ พระนั่งเกล้าอยู่หวั (รัชกาลที่ 3) พ.ศ. 2367-2394
ในรัชกาลน้ี ยังมกี ารส่งั เครือ่ งเบญจรงค์ละลายน้าทองจากประเทศจนี เคร่ืองถว้ ยบางชนิด
มเี ครื่องหมายอยทู่ ่ีก้นชามทาให้ทราบวา่ เป็น ของที่ส่ังมาในรัชกาลที่3 ลวดลายทีน่ ยิ ม กค็ ล้ายๆ กับในรัช
สมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย แต่ไม่งดงามเท่า เน่ืองจาก แหล่งเตาเผาในประเทศจีน
เส่ือมโทรม สาหรับสพี ้นื ของเครอ่ื งถ้วยนิยมใชเ้ ปน็ สขี าว
ภาพที่ 9 เครอ่ื งถ้วยลายนา้ ทองเขียนลายในช่องกระจก
ทมี่ า : http://www.wangdermpalace.org/Bencharong_th.html
ภาพท่ี 10 เคร่ืองถ้วยเบญจรงค์เขียนสายครุฑบนพืน้ ขาว
ที่มา : http://www.wangdermpalace.org/Bencharong_th.html
10
สมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยหู่ ัว (รชั กาลท่ี 4) พ.ศ. 2394-2441
ในสมัยนี้เครื่องถ้วยเบญจรงค์และลายน้าทอง ได้รับความนิยมน้อยลง เน่ืองจากมีการน้า
เข้า เคร่ืองถ้วยและเคร่ืองแก้วจากประเทศทางยุโรป นอกจากนั้นยังนิยมสั่งเคร่ืองลายครามแบบจีน
รวมทั้งเครอ่ื งลายครามทเ่ี ขยี นลายไทยจากประเทศจนี ด้วย
ภาพที่ 11 เครื่องถว้ ยลายครามลายนกไม้นาเข้าจากประเทศจีน
ที่มา : http://www.wangdermpalace.org/Bencharong_th.html
ภาพที่ 12 เคร่ืองถว้ ยเบญจรงค์ลายดอกไมว้ าดลวดลายและเคลือบทับบนชามลายคราม
ท่ีนาเขา้ จากประเทศจีน
ทม่ี า : http://www.wangdermpalace.org/Bencharong_th.html
11
สมัยพระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกล้าเจา้ อยูห่ ัว(รชั กาลท่ี 5) พ.ศ.2411-2453
เป็นยุคสุดท้ายของเคร่ืองถวายเบญจรงค์และลายน้าทอง เป็นสมัยท่ีนิยมเคร่ืองถ้วยที่สั่งเข้า
จากต่างประเทศทางยุโรปจีน และญี่ปุ่น นอกจากนี้ ยังมีการส่ังจามขาวเข้ามาเขียนลายเอง โดยเผาที่
เตาเผาของกรมพระราชวังบวรวิชัยชาญส่วนลายท่ีนิยมเขียนมักเป็นเร่ืองราวตามวรรณคดีไทย พระอภัย
มณี มจั ฉานุ อุณรทุ เป็นต้น
ภาพที่ 13 เครื่องถ้วยเบญจรงคล์ ายเทวดาผลิตในประเทศญ่ีปุ่น
ที่มา : http://www.wangdermpalace.org/Bencharong_th.html
ภาพท่ี 14 เคร่ืองถ้วยเบญจรงคล์ ายเทพนม–นรสิงห์สว่ นฝามีรูปกระต่าย ผลติ ในประเทศจีน
ทม่ี า : http://www.wangdermpalace.org/Bencharong_th.html
ตราบน้ันจนปจั จุบันเครอื่ งเบญจรงค์และเครื่องลายน้าทองท่ีตกทอดจากบรรพบรุ ุษ จึงกลายเป็น
โบราณวัตถุอันมีคุณค่าแห่งประณีตศิลป์ ซ่ึงคงความเป็นเอกลักษณ์และเป่ียมล้นด้วยคุณค่าแห่ง
ประวัติศาสตร์ นบั เป็นนา้ หนึง่ ของมรดกแหง่ หัตถศลิ ป์ท่ีล้าค่ายิ่งของแผ่นดนิ ไทย
12
วิธีการทาเครอ่ื งเบญจรงค์
กรรมวิธีการผลิต หรือการขึ้นรูปผลิตภัณฑ์เครื่องเบญจรงค์ มีความสาคัญอย่างย่ิง ผู้ผลิต
ตอ้ งมคี วามชานาญ มีความรู้ความสามารถ เขา้ ใจในเทคนคิ ตา่ งๆ อย่างเพยี งพอ ในการผลิตเครื่องเบญจ
รงคแ์ ตล่ ะชนิด รวมไปถึงอุปกรณ์และเครือ่ งมือต่างๆ ท่ีช่วยในการผลติ
กระบวนการการผลิตจนได้เครือ่ งเบญจรงคม์ ีสองขนั้ ตอนหลักๆคือ
1. การผลติ ซารามิกของขาว หรือเครื่องขาว
2. กระบวนการเขียนเครื่องเบญจรงค์
เคร่อื งขาว หรือของขาว ทน่ี ามาผลิตเปน็ เคร่ืองเบญจรงค์
เครอ่ื งขาว หรือของขาว จะเป็นภาชนะรปู ทรงตา่ งๆ มสี ีขาว อาทเิ ช่น โถประดับ จาน ชาม
แก้วน้า หม้อ ข้าว ขันข้าว แจกัน ชุดน้าชา และกาแฟ เป็นต้น ลักษณะการเคลือบของขาวน้ันมี 2
ลักษณะ คือ เคลือบเงา และเคลือบด้าน ซึ่งเมื่อนามาผลิตเป็นเคร่ืองเบญจรงค์แล้ว จะให้ความสวยงาม
ท่ีแตกต่างกันไป เคร่ืองขาวหรือของขาวน้ี สามารถซ้ือได้จากโรงงานอาเภอกระทุ่มแบน จังหวัด
สมทุ รสาคร และจงั หวดั สระบรุ ี ราคารบั ซ้อื ข้ึนอยกู่ ับแบบ และขนาดของเครอื่ งขาวท่ใี ช้
ภาพท่ี 15 เคร่ืองขาว
ที่มา : http://community.akanek.com/th/articles/akanekjaja/ceremics-tableware-
วตั ถดุ ิบและเนอื้ ที่ดนิ ที่ใช่ในการผลิตเครอ่ื งขาวเพ่ือทาเครอื่ งเบญจรงค์
วัตถุดิบมีความสาคัญอย่างย่ิงต่อการผลิตในการตอบสนองให้งานท่ีผลิตข้ึนเป็นไปตาม
วัตถุประสงค์ของการใช้งาน และเป็นไปตามความต้องการของผู้ผลิต รวมท้ังมีประสิทธิภาพสูง ความ
เข้าใจอย่างถอ่ งแทใ้ นเร่ืองของวัตถุดิบที่นามาใช้งานก่อให้เกิดการพัฒนากรรมวิธกี ารผลิต การออกแบบ
และการสรา้ งผลติ ภัณฑ์ชนิดใหม่ขึ้นได้ วัตถุดิบที่นามาใช้ทาเครอื่ งเบญจรงค์ จะประกอบด้วย วัตถุดิบที่
มีความเหนียว วตั ถดุ บิ ท่ีไม่มีความเหนยี ว และวตั ถุดบิ อนื่ ๆ มดี งั นี้
13
1. วัตถุดิบที่มคี วามเหนียว วัตถุดบิ ประเภทนไี้ ด้แก่ดิน ชนดิ ต่างๆ ซ่ึงมคี ุณสมบัติต่างกันแต่
ท่ีเหมาะแก่การนามาผลติ เคร่อื งป้ัน และเคร่อื งเบญจรงค์ ไดแ้ ก่
ดนิ เกาลนิ (Kaolin หรือ China clay) ดินชนิดน้ีบางแหง่ เรยี กว่า ดินขาว เกิดจากการแปล
สภาพของดินหินแกรนิตเป็นหินฟันม้า มีความบริสุทธิสูงเนื้อดินหยาบสีขาวหม่นมีความเหนียวน้อยหด
ตัวน้อยทนความรอ้ นไดส้ ูง ระหวา่ ง1,400-1,500 องศาเซลเซยี ส
ดินเหนียว (Ball clay) ดินชนิดนี้บางแห่งเรียกว่า ดินดา เป็นดินที่เกิดจากการชะล้างดิน
เกาลินโดยธรรมชาติมีแร่ปนอยู่ค่อนข้างสูงกับมีสารอินทรีย์ปนอยู่บ้าง เนื้อดินละเอียดสีคล้ามีความ
เหนียวจุดหลอมละลายระหว่าง1,300-1,400 องสาเซลเซียส เม่ือเผาสุกแล้วผลิตภัณฑ์จะมีสีขาวหม่น
หรอื สีเน้ือเหมาะแก่การทาเครื่องปั้นประเภทเนื้อดิน และ เนื้อแกร่ง หรือใช้ผสมกับดินเกาลินให้เน้ือดิน
แข็งและเหนยี วข้นึ เพ่อื ใชท้ าเครือ่ งป้ันประเภทเคร่ืองกระเบ้ือง
ดินขาวเหนียว (Plastic clay) เกิดจากการผุกร่อนของหิน เนื้อดิน ละเอียด สีเนื้อ หรือสี
เทา มีความเหนยี ว มักใชผ้ สมกับดนิ ชนิดอื่น เพ่ือใหข้ ้ึนรูปทรงได้ง่าย
ดินแดง (Red clay หรือ Surface clay) เป็นดินที่มีความเหนียวมาก มีเหล็ก และแอล
คาไล (alkali) ผสมอยู่ในเน้ือดินค่อนข้างสูง เน้ือดินสีเทาแก่ สีน้าตาลแก่ สีน้า ตาลอ่อน มักนาไปทา
กระเบื้อง มุงหลังคาโอ่ง ไห ครก หม้อดินกระถางต้นไม้ เป็นต้น เม่ือนาไปทาผลิตภัณฑ์อาจต้องผสม
ทรายเพื่อป้องกนั การแตกตวั
ดนิ สีเทา หรือดดินสโตนแวร์ (Stoneware clay) เป็นดินทม่ี ีความเหนียว เน้ือดนิ เป็นสีเทา
อ่อน สีเทาแก่ หรือสีน้าตาลเข้ม เมื่อนาไปทาผลิตภัณฑ์ สามารถขึ้นรูปได้ดี โดยเพาะอย่างย่ิงการขึ้นรูป
โดยใช้แป้นหมุนทนความร้อนสูง ระหว่าง 1,200-1,500 องศาเซลเซียส ดินชนิดนี้ส่วนใหญ่ใช้ทา
ผลติ ภัณฑ์ประเภทเคลือบไฟแรงสูง
ดินทนไฟ (Fire clay) เป็นดินเนื้อค่อนข้างหยาบ มีซิลิกา และอะลูมินาผสมอยู่มาก ดินมีสี
น้าตาลอ่อน สีเทา หรือสีคล้า มีความเหนียวมาก ทนความร้อนสูงถึง 1,500 องศาเซลเซียส โดยไม่เปล่ียน
สภาพ ส่วนใหญ่จึงนาไปใช้ทาวัสดุทนไฟ เช่น ทุ่นทนไฟสาหรับวัดอุณหภูมิในเตาเผา อิฐทนไฟ ชิ้นส่วน
ของเตาเผา เป็นตน้
2. วัตถุดิบท่ีไม่มีความเหนียว เป็นวัตถุที่นามาใช้ผสมลงในเน้ือดินที่นามาป้ันผลิตภัณฑ์
หรอื ใช้เปน็ ส่วนผสมของนา้ เคลอื บ ซ่ึงไดแ้ ก่ หินประเภทตา่ งๆ หนิ ท่ีนามาใช้งานดังกลา่ ว ไดแ้ ก่
หินฟันม้า (Feldspar) เกิดจากการแปรสภาพของหินแกรนิต เป็นหินแข็ง ทึบแสง มีสีขาว สี
ชมพู มีความแตกต่างกันแยกได้หลายชนิด มักนามาใช้ผสมในเน้ือดินเพื่อป้ันผลิตภัณฑ์ หรือใช้เป็น
ส่วนผสมในน้าเคลือบ
14
หินเขี้ยวหนุมาน (Quartz) เป็นผลึกของซิลิกา มีความแข็งย่อยสลายมาก มีความบริสุทธิ์
สงู เมื่อนามาบทละเอยี ดหรอื เผาในเนื้อดินเพ่ือปั้นผลิตภณั ฑ์จะทาให้เนื้อดินลดการหดตัวทนไฟสงู ทาให้
ผลิตภัณฑโ์ ปรง่ ใส ทัง้ ยังใชผ้ สมในน้ายาเคลือบ ทาใหเ้ คลือบเป็นมัน ทนการกดั กร่อนไดด้ ี
หินไฟโรฟิลไลท์ (Pyrophyllite) เป็นหินไม่แข็งมากนัก มีสีเทา สีเทาปนแดง เม่ือนามา
ผสมในเนื้อดินป้ันผลิตภัณฑ์ทาให้มีความทนไฟสูง และลดการบิดเบ้ียวของตัวผลิตภัณฑ์ได้ดี ท้ังยังผสม
ในน้าเคลือบเพอื่ เพิ่มความหนืด และความทนไฟด้วยทราย (Sand) ทรายส่วนมากประกอบไปด้วยแร่ซลิ ิ
กา เมื่อนามาผสมในเน้อื ดินปัน้ ผลิตภัณฑ์ จะทาให้ความแข็งแรงแก่ตัวผลิตภัณฑ์ย่ิงขึ้น
3. วัตถุดิบอื่น ในการทาผลิตภัณฑ์เครื่องป้ัน ยังได้ใช้วัตถุดิบอ่ืนผสมลงในเนื้อดินปั้นหรือ
นา้ เคลือบเพ่อื ใหเ้ หมาะกบั หน้าที่ใช้งานของผลติ ภัณฑแ์ ต่ละชนดิ วตั ถุดิบดงั กล่าวมดี งั น้ี
เถ้ากระดูก (Bone Ash) ได้จากการเผากระดูก มีส่วนผสมของแคลเซียมฟอสเฟต และ
แคลเซียมคาร์บอเนต นาไปผสมในเน้ือดินป้ันเป็นตัวช่วยในการหลอมละลาย ทาให้ผลิตภัณฑ์มีความ
โปร่งแสง
ทัลค์ (Talc) เม่ือนาไปผสมในเนอื้ ดินป้นั ผลิตภัณฑ์ จะทาให้เนือ้ ดนิ ลดความเหนียวลง มีผล
ให้ข้ึนรูปยาก แต่จะทาให้ผลิตภัณฑ์ทนไฟสูง ทนต่อด่าง เพ่ิมความต้านทานกระแสไฟฟ้าได้ดี จึงมักใช้
ผสมในเนื้อดิน เพ่ือทาใหล้ ูกถว้ ยไฟฟา้ ผลิตฉนวนไฟฟ้า กระเบือ้ งเคลอื บหอ้ งนา้ เปน็ ต้น
เซอร์คอน(Zircon)มีคุณสมบัติทนความรอ้ นได้สูงระหว่าง 1,500-1,800 องศาเซลเซียสจึง
มกั ใชผ้ สมเนือ้ ดนิ เพื่อใช้ทาวตั ถุทนไฟ หรือผสมในนา้ เคลือบทาใหเ้ ป็นเคลอื บสขี าวทบึ แสง
สารประกอบอะลูมินา (Alumina) หมายถึงสารท่ีมีสว่ นประกอบของอะลูมินาสูง ได้แก่ คอ
รนั ดมั บอกไซท์ กบิ ไซท์ และไดอะทอไมท์ เป็นตน้ อะลูมินาเปน็ สารท่ีทนความรอ้ นไดถ้ ึงอุณหภูมิ2,050
องศาเซลเซียส ดงั นนั้ ในการผลิตวตั ถุทนไฟ จึงมักทาเอาสารท่ีมสี ่วนประกอบของอะลูมินามาผสมใช้ทา
ผลติ ภณั ฑด์ งั กล่าว
กระบวนการผลิตและเขียนลายเบญจรงค์
ในการผลิตจะเริ่มเขียนวนทองเพื่อเป็นเส้นนาลาย ส่วนในลวดลายที่มีรายละเอียดสูง เช่น
ลายประเพณีไทย หรือลวดลายท่ีเป็นเรื่องราวในวรรณคดี ต้องมีการลอกลาย หรือร่างเส้นบนพื้นผิวของ
ขาว ก่อนจะลงลายน้าทอง หรือตัดเส้นหลักก่อน แล้วเร่ิมเขียนลายตามต้องการด้วยน้าทอง ทิ้งไว้ให้แห้ง
เม่ือแห้งดีแล้ว จะนามาลงสีตามลายท่ีเขียนทองไว้จนครบ การลงสีต้องไม่หนาจนเกินไป เพระทาให้สีหลุด
ง่าย และตอ้ งไม่บางจนเกินไป เพระจะทาให้สีจางไดง้ ่ายความเร็วในการทางาน การลงสี อาจจาเป็นต้อง ใช้
ชา่ งฝีมือหลายคน หากช้ินงานมีรายละเอียดมากๆต้องมีการจัดแบ่งสว่ นในการลงสีกัน ต่อมาจะทาการเก็บ
รายละเอยี ดตา่ งๆ และวนทองตามส่วนต่างๆอกี คร้งั เช่นหแู กว้ ขอบโถจุก เป็นต้น
15
ในบางกลุ่มผู้ผลิต อาจมีเทคนิคพิเศษ ด้วยการลงสีพื้นก่อนการตัดเส้นหลักและลงสีลาย ทา
ให้ได้ช้ินงาน ท่ีมีความสวยงามแปลกออกไป ส่วนผสมบางอย่างน้ี อาจเป็นส่วนผสมเฉพาะตัวของกลุ่ม
ผู้ผลิตบางกลุ่มเท่านั้น จากน้ันนาเข้าเตาเผา โดยเผาในอุณหภูมิประมาน 800 องศาเซลเซียส ใช้เวลาเผา
ประมาน 4 ช่ัวโมง ปล่อยให้เตาเย็นอีก 6 ชั่วโมง เม่ือเตาเย็นจึงนาเครื่องเบญจรงค์ออกมา และวางรอไวจ้ น
อุณหภูมิเย็นลงในอณุ หภูมิปกติ
ในส่วนของการควบคมุ อุณหภูมิในการเก็บนับว่ามคี วามสาคญั เช่นกัน เพราะสีบางสีท่ีใชใ้ น
การเขียนลายอาจซีดหรือจางลง หรือาจมีการผิดเพี้ยนไปได้ หากควบคุมอุณหภูมิได้ไม่คงท่ี เช่น มาก
หรือสูงเกนิ ไปสว่ นน้ีมกี ารทดลองเกบ็ ขอ้ มูลจากหลากหลายประสบการณ์ของกลุ่มผู้ผลติ
ประเภทเคร่อื งเบญจรงค์
เคร่ืองเบญจรงค์หมายถึง เคร่ืองป้ันดินเผาเคลือบเขียนลายโดยลงยาด้วยสีต่างๆ นอกจาก
สีหลักทั้ง 5 อันมีสขี าว ดา เหลือง แดง และเขียว (หรอื คราม) ยงั มีสีรองอย่างชมพู ม่วง น้าตาล แสด มา
เสริมสวยเป็นเครื่องถ้วยท่ีต้องใช้ฝีมือสูง ต้องละเอียด ประณีต จากเครื่องใช้ในร้ัวในวังถึงปัจจุบันเครื่อง
เบญจรงคย์ งั ได้รับความนิยมโดยเฉพาะในแง่เป็นตวั แทนความเป็นไทย (แม้รากฐานจะเป็นของจีนกต็ าม)
ลายยอดนยิ มคอื ลายกระหนก ลายพุ่มขา้ วบณิ ฑ์ ลายเทพนม นรสิงห์
เครอ่ื งเบญจรงคล์ ายคราม
จานลายครามลายเกรด็ เตา่ ชามลายครามลายกวางดาว จานลายครามลายดอก
เบญจมาศกา้ นสด
ภาพที่ 16 เบญจรงคล์ ายคราม
ทม่ี า : http://student.swu.ac.th/fa471010251/benja4.htm
16
เคร่ืองเบญจรงคเ์ คลอื บสีเดียว
ไหทรงสงู คนโทเขียวลายสดี าใตเ้ คลือบ คนโทเคลือบสีเขยี ว
ภาพที่ 17 เครื่องเบญจรงค์เคลือบสเี ดียว
ทม่ี า : http://student.swu.ac.th/fa471010251/benja4.htm
เคร่ืองเบญจรงคเ์ คลือบสองสี
ภาพที่ 18 เครื่องเบญจรงคเ์ คลือบสองสี
ทม่ี า : http://student.swu.ac.th/fa471010251/benja4.htm
ขน้ั ตอนการฝกึ เขียนเคร่ืองเคลือบมุกลายนา้ ทอง
จากการบอกเล่าของนายสุขสันต์ ใจซ่ือตรง (2559) ซึ่งเป็นครูภูมิปัญญาท้องถ่ินได้สอนการ
เขียนลายต่าง ๆ ดงั ตอ่ ไปนี้
1. ฝึกการเขียนลายจากกระดาษแบบฝึกหัดด้วยดินสอจนเกิดความชานาญ ได้แก่ ลายช่อง
กระจกแตกลายน้ีเขียนได้หลายแบบแต่ผู้ฝึกควรทาแบบง่ายๆ ก่อน เริ่มจากร่างช่องกระจกแตกน้ีเป็น
เส้นตรงมีทั้งเส้นยาวและเส้นส้ันสลับกันไปตามความเหมาะสมควรเขียนเส้นท่ียาวกว่าเส้นอ่ืนก่อนจากนั้น
จึงเขียนเส้นที่สั้นรองลงมาจนถึงเส้นที่สั้นที่สุดเป็นเส้นสุดท้ายมีลักษณะรูปเป็นส่ีเหล่ียมก็ได้แต่มีข้อห้าม
ดว้ ยกัน 3 ประการคอื
17
1.1 ไม่ควรเขียนเส้นให้ตัดกันจนเปน็ เครื่องหมายกากบาท
1.2 ไมค่ วรเอาไปเสน้ ของทุกเสน้ รวมหรือชนกนั
1.3 ไม่ควรเขียนเปน็ เส้นโค้งในลายช่องกระจกแตกจะดูไม่สวยงามควรมีสมาธิในการลากเส้น
ให้ตรงทกุ เสน้ จะทาให้ผ้ฝู กึ มือน่งิ ซ่งึ เป็นพ้ืนฐานท่ฝี ึกลายต่อไป
ส่วนลายดอกไม้มีวิธีการเขียนหลายรูปแบบด้วยกันทั้งแบบไทยแบบจีนแบบฝร่ังและอีก
หลายๆประเทศแต่ ละประเทศก็มีแบบการเขียนที่แตกต่ างกันออกไปส่ วนจุ ดเริ่มต้ นมัก คล้ ายกันหรื อ
ใกล้เคียงกันสาหรับวิธีการเขียนควรเรมิ่ จากแกนกลางหรือกลีบส่วนกลางของดอกไม้ก่อนซ่ึงจะเป็นหลักทา
ให้เขียนส่วนอ่ืนตอ่ เนื่องได้ง่ายข้ึนทาให้ดอกไม้มีชีวิตชีวาข้ึนอีกมากการเขียนเส้นกลีบเกสรตามรูปกลีบของ
ดอกไม้ไม่ว่าจะเป็นดอกไม้ชนิดไหนก็แล้วแต่ส่วนมากเส้นกลีบดอกตรงกลางจะมีเส้นที่ยาวกว่าเส้นข้าง ๆ
นดิ หน่อยให้สังเกตดูให้ดีส่วนเส้นแกนกลางของดอกไม้และใบไม้ก็ควรขีดเส้นตรงกลางก่อนจะได้เหลือพ้ืนท่ี
ขดี เสน้ ต่อไปไดง้ า่ ย
2. การเขียนภาชนะเคร่ืองขาวด้วยปากกาหมึกซึม (ปากกาหัวสักหลาด) ก่อนที่จะเขียนน้า
ทองลงไปควรฝึกเขียนดว้ ยปากกาหมึกซึมบนภาชนะจนได้เส้นทีม่ าตรฐานมัน่ คงเสยี ก่อน
3. นาภาชนะเครื่องขาวมาเขียนด้วยน้าทองไปตามลวดลายท่ีมีอยู่แต่เดิม หรือแตกต่าง
เพ่ิมเตมิ ใหเ้ กดิ ความสวยงามย่ิงข้ึน
4. ก่อนท่ีจะนาภาชนะเข้าเตาอบนั้นควรตรวจดูความเรียบร้อยอีกคร้ังหน่ึงเสรจ็ แลว้ เรียงให้มี
ลกั ษณะโปร่งไม่แนน่ อกด้วยอณุ หภูมิความรอ้ น 780 ถึง 800 °c
มกุ น้าทอง และข้ันตอนการทามุกนา้ ทอง
การชบุ นา้ ยาเคลือบ (Glazing)
เคลือบ คือช้ันนของแก้วบาง ๆที่หลอมละลายติดอยู่กับผิวดินซึ่งข้ึนรูปเป็นภาชนะทรงต่างๆ
วัตถุดิบท่ีเป็นน้ายาเคลือบถูกบดจนละเอียดมากกว่าดินหลายเท่าก่อนนามาเคลือบบนผิวดินเผาเป็นช้ัน
หนา 1 ถึง 1.5 มม. เมื่อเคลือบแล้วต้องท้ิงให้ผลิตภัณฑ์แห้งเช็ดก้นผลิตภัณฑ์ให้สะอาดก่อนนาเข้าเตาเผา
ผลิตภัณฑ์ท่ีเคลือบแล้วโดนเผาผ่านความร้อนในอุณหภูมิสูงวัตถุดิบท่ีเป็นแก้วในเคลือบเม่ือถึงจุดหลอม
ละลายช้ันของเคลือบบนผิวดินจะกลายเป็นแก้วมันวาวติดอยู่กับผิวดินโดยไม่ไหลนองไปกองรวมอยู่บนพื้น
เตาขนาดหลอมตัว (ไพจติ ร อิง่ ศริ ิวฒั น.์ 2537:1)
น้าเคลือบ
ความรู้ในการทาน้าเคลือบสามารถสืบประวัติศาสตร์ไปได้ถึง 5,000 ปีก่อนคริสต์ศักราชชาว
อียิปต์ เป็นผู้ที่ค้นพบน้าชนิดแรกของโลกคือเคลือบอุณหภูมิต่าสีฟ้าสดหรือเคลือบสีฟ้าสด(Turquoise
Blue) ซ่ึงนิยมใช้เคลือบลูกปัดภาชนะ และเคร่ืองประดับดินเผา เผาในอุณหภูมิต่า 900 องศาเซลเซียส
โดยใช้โซดาแอช (Sodium Carbonate) หรือบอแรกซ์ผสมกับทรายในทะเลทรายและสนิมทองแดง
18
(Copper Oxide) 4% ยังคงนิยมทากันอยุ่ในแถบประเทศตะวันออกกลาง คือ ตุรกี และ อิหร่าน จาก
หลกั ฐานเพิ่มเตมิ ค้นพบวา่ ชาวซีเรียและบาบโิ ลเนยี เปน็ ผคู้ น้ พบการใชเ้ คลอื บตะกว่ั ผลิตภณั ฑส์ ่วนใหญ่
มักจะเป็นส่ิงก่อสร้าง เช่นกระเบื้องมุงหลังคา และกระเบ้ืองประดับตกแต่งอาคารเป็นต้น และได้
เผยแพร่เทคนิคการทาเคลือบตะกั่วไปสู่จีน ต่อมาจีนได้ค้นพบการทาเคลือบข้ีเถ้าไม้ และเคลือบหินซ่ึง
เผาในอณุ หภูมสิ งู ส่วนการทาขวดจากแก้วก็มีต้นกาเนิดจากประเทศทางตะวันออกกลางเช่นเดียวกัน ใน
แถบอียิปต์เมโสโปเตเมีย เม่ือประมาณ 2,000 ปีมาแล้ว หรือยุคเร่ิมต้นของคริสต์ศักราชแสดงให้เห็น
ชัดเจนว่ามนุษย์รู้จักการทาเครื่องเคลือบดินเผาก่อนการทาแก้ว เกือบ 3,000 ปี (ไพจิตร อิ่งศิริวัฒน์.
2537:2)
ประเภทของน้าเคลือบ
น้าเคลอื บสามารถแบง่ ตามอุณภูมิในการเผาได้เป็น 3 กล่มุ ใหญ่ๆ คือ
1. เคลือบอุณภูมิต่า (Low Temperature Glaze) อยู่ในช่วงอุณภูมิประมาณ 800-
1,100องศาเซลเซยี ส
2. เคลือบอุณภูมิปานกลาง (Medium Temperature Glaze) อยู่ในช่วงอุณหภูมิ
ประมาณ 1,150-1,200 องศาเซลเซยี ส
3. เคลือบอุณหภูมิสูง (High Temperature Glaze) อยู่ในช่วงอุณหภูมิประมาณ
1,230-1,300 องศาเซลเซยี ส
ในการจาแนกลกั ษณะของเคลือบท่ีสามารถมองเห็นและสัมผัสได้ สามารถแบ่งออกได้ดงั น้ี
1. เคลือบใส (Transparent Glaze) เป็นเคลือบที่มีผิวมัน นิยมใช้กับภาชนะ ที่เขียนสี
ใต้เคลือบ และเป็นเคลือบพน้ื ฐานสาหรับใส่ (Oxide)และสีสาเรจ็ รูป (stain)
2. เคลือบทึบ (Opaque Glaze) เป็นเคลือบสีขาว หรือ สีอื่นๆ และแสงไม่สามารถ
ผ่านได้ มีวัตถุดิบท่ีใช้ในการทาทึบ ได้แก่ ทินออกไซต์ (Tin Oxide) เซอรืโครเนียมซิลิเกต (Zirconium
Silicate) ซิงก์ออกไซต์ (Zinc Oxide) และไทเทเนียมไดออกไซต์ (Titanium Dioxide)
3. เคลือบด้าน (Matt Glaze) เป็นเคลือบที่มีพ้ืนผิวท่ีไม่เรียบล่ืน มีสีแบบต่างๆกัน
ออกไป สามารถเผาได้ในทุกอุณหภูมิ ลักษณะโดยท่ัวไปแล้วจะเป็นเคลือบท่ีสุกตัวไม่ร่อนหลุดได้ มี
ส่วนผสมของอะลูมิน่า (Alumina) หรือ แบเรียมคาร์บอเนต (Barium Carbonate) หรืออัตตราส่วน
ของซงิ กอ์ อกไซต์ (Zinc Oxide) มากเกนิ ความจาเป็น เปน็ ต้น
4. เคลือบราน (Crackle Glaze) เป็นลักษณะของเคลือบที่เกิดจากสัมประสิทธิ์การหด
ตัวของเนื้อดินและเคลือบมีความแตกต่างกัน โดยมากเกิดข้ึนในดินสดตนแวร์และดินปอร์ซเลนส์ มี
ลักษณะการรานตัวที่ช้ันผิวของเคลือบ มีลวดลายเป็นลายตาข่าย ถี่ หรือห่าง แตกต่างกันที่ความหนา
ของเคลือบ และสูตรเคลือบ
19
5. เคลือบผลึก (Crystalline Glaze) เกิดจากการตกผลึกของเคลือบระหว่างการเย็น
ตัว แบ่งได้ออกเป็น 2 ชนิด คือเคลือบผลึกใหญ่ท่ีฝังอยู่ที่ผิวหรือในผิวเคลือบและผิวเคลือบ อะเวนจูรีน
(Aventurine) ซ่ึงเป็นเคลือบผลกึ เล็กเด่ียวท่ีกระจายอยูบ่ นผิวมคี วามแวววาว เคลือบผลึกจะเป็นเคลือบ
ท่ีไหลตัวมาก ควรวางในภาชนะรองเพอื่ ปอ้ งกันไมใ่ ห้เคลือบไหลติดแผ่นรองเตา ช่วงเวลาการเย็นตวั ของ
เคลือบมีความสาคัญมาก จะต้องมีการแช่ไว้ที่อุณหภูมิหลายชั่วโมงก่อนจะทาให้เย็นลงช้าๆ ซ่ึงมีความ
แตกตา่ งกันออกไปในการแชอ่ ุณหภูมิ ซึ่งตอ้ งอาศัยการจดบนั ทกึ ในแตล่ ะช่วงอุณหภมู ิในการเผา เพอ่ื ให้
ได้ผลึกทีด่ ีมีคณุ ภาพ
6. เคลือบประกายมุก (Luster Glaze) ลัสเตอร์เป็นเคลือบผิวมัน มีประกายเหลือบ
แวววาว สดใสหรือเป็นประกายมุก สายรุ้ง หรือเงิน ทอง เผาในอุณหภูมิต่าประมาณ ประมาณ 650 -
850 องศาเซลเซยี ส
วตั ถปุ ระสงคข์ องการเคลอื บ
ในการเคลือบบนเคร่ืองปั้นดินเผาจะต้องคานึงถึงความเหมาะสมในการเคลือบเน่ืองจาก
ชิ้นงานแต่ละประเภทนั้นมีความแตกต่างกันไปตามประโยชน์ใช้สอยรูปทรงหรือเพ่ือเป็นการทาให้เกิด
ความงามหรือเพ่ือเพ่มิ คุณสมบัติให้ดีขึน้ สามารถแยกตามวัตถปุ ระสงค์ไดด้ ังน้ี
1. เพื่อเพิ่มความสวยงาม ตามสุนทรียะทางศิลปะเคร่ืองเคลือบดินเผาและทาให้เกิด
คุณคา่ ในความคงแทข้ องผลติ ภณั ฑเ์ ครื่องเคลือบดนิ เผาอยา่ งสมบรู ณ์
2. เพ่ือให้ผลิตภัณฑ์ทาความสะอาดได้ง่ายจากผิวเคลือบท่ีดูมันเรียบ ง่ายต่อการเช็ด
ลา้ ง
3. เพ่ือให้ทนต่อการกัดกร่อนของกรดด่างและสารเคมีไม่สามารถไหลซึมผ่านได้เช่น
ภาชนะใส่สารเคมีและอุปกรณ์ทางวทิ ยาศาสตร์
4. เพอ่ื เพ่ิมความแข็งแกรง่ ทนทานทนต่อสารเคมีและการเสียดสี
วิธกี ารเคลอื บ (Glazing)
การเคลือบเป็นการนาผลิตภัณฑ์ท่ีได้มาเคลือบด้วยน้าเคลือบท่ีเตรียมไว้ซ่ึงจะเคลือบให้มี
ความหนาประมาณ 0.2 - 0.5 มม. หรือมากกว่าข้ึนอยู่กับชนิดของเคร่ืองในการเคลือบผลิตภัณฑ์ต้องมี
ความเข้าใจรูปแบบของผลติ ภณั ฑ์ทั้งขนาดรูปทรงรายละเอียดและความเหมาะสมของผลิตภัณฑ์ดงั นี้
1. วิธีการชุบเคลือบหรือจุ่ม (Dipping) เป็นวิธีการที่สะดวกและง่ายท่ีสุดโดยการนา
ช้ินงานชุบหรือจุ่มลงไปในเครื่องแล้วนาข้ึนมาซ่ึงช้ินงานจะต้องมีขนาดที่พอเหมาะกับปริมาตรของท่ีจะ
เคลือบและขนาดของภาชนะบรรจุเคลือบส่วนมากจะมีขนาดเล็กหรือขนาดท่ีพอเหมาะเช่นแก้วน้าจาน
ชามหรอื ของชารว่ ยขนาดเล็กจะทาให้ชิ้นงานเคลือบไดท้ ั่วถึงเท่ากันท้ังช้ินงานแต่ตอ้ งคานึงถงึ รอยนิ้วมือ
ที่อาจเกิดขึ้นจากการจับหรืออาจใช้คีมขนาดเล็กท่ีคีบงานชุบเคลือบจะทาให้ตาหนิลดลงและควรเช็ด
ชิ้นงานใหส้ ามารถดดู ซึมน้าเคลอื บไดด้ ีอยา่ ให้เปยี กจนชุบเคลือบไม่ติด
20
2. วิธีการพ่น (Spraying) เป็นการเคลือบชิ้นงานโดยการพ่นหัว(Spray gun) ในกรณีที่มี
ปริมาณของเคลือบน้อยหรือช้ินงานมีขนาดใหญ่ไม่เหมาะต่อวิธีการเคลือบชนิดอื่นโดยส่วนมากมักพบ
วิธีการพ่นบนช้ินงานที่มีขนาดใหญ่เช่นเคร่ืองสุขภัณฑ์ต่างๆในโรงงานอุตสาหกรรมข้อเสียคือความ
สม่าเสมอของเคลือบที่เกิดขึ้นต้องอาศัยความชานาญของผู้พ่น แต่ในปัจจุบันมีโรงงานอุตสาหกรรม ที่มี
เคร่ืองจักรกลเข้ามาช่วยในการพ่นทาให้มีความสม่าเสมอมากข้ึนและปัญหาการฟุ้งกระจายของผงเคลือบ
จะตอ้ งมีการดูแลและป้องกันอย่างรอบคอบท้ังตวั ผู้ปฏิบตั ิงานและสภาพแวดล้อม
3. วิธีการเทราด (Pouring) มักพบในการเคลือบชิ้นงานขนาดใหญ่มีน้าหนักมากซ่ึงในการ
เทราดจะได้เคลือบท่ีไม่สม่าเสมอหรือหนาบางไม่เท่ากันเช่นการเคลือบโอ่งราชบุรีใช้วิธีการเทราดแต่ด้วย
ความชานาญและเทคนิคของท่านจงึ ทาใหเ้ คลือบได้สม่าเสมอดี
4. วิธีการทา (Painting) เป็นการใช้แปรงหรือพู่กันจุ่มเคลือบและทาลงบนชิ้นงานจะได้
ความสม่าเสมอของเคลือบที่ไม่เท่ากันเหมาะกับการเคลือบชิ้นงานที่ต้องการความหลากหลายของลักษณะ
การเคลือบเช่นงานประติมากรรมหรืองานทางด้านศลิ ปะ
ข้นั ตอนการเขยี นเคลอื บมุกน้าทอง
ขนั้ ตอนการเขียนเคลือบมุกตัดเส้นน้าทอง มี 2 ขนั้ ตอนด้วยกนั คอื
1. การวนมกุ นาภาชนะเซรามกิ เคลอื บขาวมาวนท่ีกน้ ของภาชนะก่อน แล้วปล่อยใหแ้ ห้ง
สนิทจากนั้นจึงวนตวั ภาชนะให้เสรจ็ ในคราวเดียวกัน ระหวา่ งท่ีนา้ มุกยังไม่แห้งควรกลับข้ึนกลับลง 2-3 คร้ัง
น้ามุกจะกระจายตัวได้ดีย่ิงข้ึน เมื่อแห้งสนิทแล้วนาไปเรียงในเตาอบภาชนะ การเรียงภาชนะควรเรียง
ภาชนะที่วนหรือทาน้ามุกแล้วที่มีขนาดความสูงเท่ากันหรือใกล้เคียงกันก็ได้ โดยเฉพระถ้าเป็นภาชนะชนิด
เดียวกันจะดีที่สุด เรียงตามกันเป็นแถว ตั้งขาต้ังทนความร้อนให้มีความสูงกว่าภาชนะ 1-1.5 นิ้ว แล้ววาง
แผ่นฉนวนทนความร้อนลงไป จะทาให้โปร่ง ความร้อนสามารถกระจายได้ท่ัวถึง ความร้อนท่ีใช้ในการอบ
ภาชนะเคลือบน้ามุกใช้ความร้อนประมาณ 800 องศาเซลเซียสเป็นเวลา 4 ชั่วโมง เมื่อเสร็จแล้วให้ปิด
ระบบไฟฟ้าทันที แล้วควรเปิดฝาเตาอบนิดหน่อยท้ิงไว้ 6 ช่ัวโมง จึงนาออกจากเตาอบไฟฟ้า พบวา่ น้ามุกที่
เคลอื บภาชนะมคี วามสวยงามมาก
2. วนน้าทองตามขอบ ตามช่วงต่างๆ ท่ีได้กาหนดไว้ด้วยแป้นหมุน เม่ือวนน้าทองเสร็จ
แล้ว ต้องรอให้แห้งสนิทก่อน จึงเขียนลวดลายลงไป สาหรับลวดลายที่เขียนลงไปน้ัน หากผู้เขียนยังไม่
ชานาญ ควรเขียนลวดลายตามท่ีเคยฝึกในกระดาษแบบฝึกหัด เป็นการเขียนลวดลายเพื่อให้เกิดความเคย
ชิน ส่วนผู้ที่เก่งลวดลายแล้ว ก็สามารถเขียนตามจินตนาการ เม่ือเขียนลวดลายบนพ้ืนผิวภาชนะเคลือบมุก
เสร็จแล้วนานา้ ทองมาวนหรอื ทาตามที่ตอ้ งการและตรวจดูความเรยี บร้อยอีกครั้ง ปล่อยให้น้าทองที่วนหรือ
ทาแห้งสนิทเสียก่อน จึงนาเข้าเตาอบภาชนะด้วยความร้อนประมาณ 800 องศาเซลเซียสเป็นเวลา 4
ช่ัวโมง เมื่อเสร็จแล้วให้ปิดระบบไฟฟ้าทันที แล้วควรเปิดฝาเตาอบนิดหน่อยทิ้งไว้ 6 ชั่วโมง จึงนาออกจาก
เตาอบไฟฟ้าเป็นอันเสร็จส้ินการผลิตเคร่ืองเคลือบมุกน้าทอง
21
ส่วนการติดรูปลอกนั้น สามารถติดได้ในขั้นตอนสุดท้าย จากการเขียนเขียนลายน้าทองแล้ว
โดยนารูปลอกมาแช่น้าให้สติกเกอร์อ่อนตัว แล้วนาไปแปะติดกับเซรามิก รีดน้าออกไม่ให้เกิดฟองอากาศ
แล้วนาเขา้ เตาอบไฟฟ้าต่อไป
วัสดทุ ี่ใช้ในการทาเคร่ืองเคลอื บมกุ ลายน้าทอง
1. เครื่องเซรามิก(เครื่องขาว) ท่ีซ้ือจากโรงงานท่ีอาเภอกระทุ่มแบน จังหวัดสมุทรสาคร
ซึ่งมีรูปร่างลักษณะต่างๆ เช่น เคร่ืองถ้วยมีทั้งแก้วน้า ถ้วยกาแฟ กาน้าชา ชุดถวายข้าวพระพุทธ ตลับใส่
ของ โถชั้นใส่ของ ชดุ ขันข้าวตกั บาตรพระ เปน็ ต้น
2. นา้ ทองคา 12% (100GM) ราคาประมาณ 27,000บาท
3. ทินเนอร์ สาหรับลา้ งน้าทอง
เครอ่ื งมอื ทใ่ี ช้ในการผลิต
1. แปน้ หมนุ สาหรบั ใช้วนเส้นรอบวงและวนน้าทอง
2. เขม็ เขียนลาย ซ่งึ ประดษิ ฐ์จากเข็มฉีดยา
3. พ่กู นั จนี สาหรบั ทาวนขอบวนจกุ
4. ดนิ นา้ มนั
5. ผา้ สะอาดสีขาว
6. สาลีทาความสะอาด
7. สบ่หู รอื ออยล์บารุงผิว
8. กระปอ๋ งใส่นา้ สะอาดพร้อมฟองน้า
9. เตาอบ ขาตง้ั พร้อมแผน่ ฉนวนทนความร้อน
นา้ ทอง
ในปัจจุบันนิยมใช้น้าทองในการเพิ่มมูลค่ากับภาชนะหากพัฒนาเช่นใดไม่มีน้าทองเป็น
ส่วนประกอบดูเหมอื นว่าภาชนะชิ้นนน้ั จะขาดความสมบูรณ์และราคาจะลดลงฉะน้นั น้าทองจึงเป็นส่วนเพ่ิม
มูลค่าของชิน้ งานบนภาชนะน้ันๆ นอกจากนน้ั ยงั ทาให้ราคาของภาชนะชนิ้ นนั้ เพ่ิมข้ึนอีกด้วย
น้าทองมีหลายเกรดด้วยกนั ท้ังเปอรเ์ ซ็นต์ต่าและเปอรเ์ ซน็ ตส์ ูงในปจั จุบันนิยมใชน้ ้าทอง 12%
เพราะมีสีทองท่ีเหลืองเงางามสะดุดตามากน้าทองบริษัทจะมีตัวประสมมาให้ด้วยโดยปกติแล้วน้าทองจาก
ค่อนข้างเหนียวและแห้งไวตัวผสมนี้จะช่วยให้น้าทองเกิดการเหลวตัวย่ิงข้ึนทาให้ง่ายต่อการใช้งานแต่ถ้า
บริษัทใดไม่มีตัวผสมมาใหก้ ็ใช้ทินเนอร์ผสมแทนได้ การผสมทินเนอร์กับน้าทองควรใสทินเนอร์ทีละน้อย
พอให้ทองเหลวตัวเท่านั้น หากผสมทินเนอร์มากเกินไป น้าทองจะเร่ิมมีสีจางเป็นเหตุให้ภาชนะท่ีอบ
แลว้ เมอื่ นาออกมาไมส่ วยงามเท่าทค่ี วร
22
การคิดต้นทุน
ผลติ ภณั ฑท์ ผ่ี ลิตได้มตี ้นทนุ ตา่ งๆ ทเี่ กดิ ขน้ึ และเกี่ยวข้อง
1. ต้นทุนวตั ถุดบิ ทางตรง คือตน้ ทุนท่ีใช้ในการผลติ และเปน็ สว่ นสาคญั ท่จี ะผลิตเปน็ ผลติ ภัณฑ์
สาเร็จรปู ซ่งึ ประกอบด้วยด้วยภาชนะเคลือบขาวและทองคาเหลว
2. ค่าแรงงานทางตรง คอื ต้นทนุ แรงงานทเ่ี ปน็ ส่วนสาคญั โดยตรงในการผลิตภณั ฑ์คนงานที่ทา
หนา้ ท่ีผลติ และใชเ้ วลาสว่ นใหญ่ไปในการผลติ ผลิตภัณฑเ์ ทา่ น้ันท่นี ับเปน็ แรงงานโดยตรง
3. ค่าใช้จ่ายการผลิต ประกอบด้วยต้นทุนการผลิตท้ังหมดนอกเหนือไปจากวัตถุดิบทางตรง
และแรงงานทางตรง ได้แก่ ของใช้ส้ินเปลอื ง ค่าไฟฟ้า คา่ โทรศัพท์ คา่ น้ามนั รถ คา่ Packaging คา่ พู่กนั
งานศิลปหตั ถกรรมประเภทผ้าทอลาวครง่ั
ผา้ ทอลาวครง่ั เกดิ จากฝมี ือของช่างทออันเป็นมรดกตกทอดทางวัฒนธรรมมาเป็นเวลาหลายชั่ว
อายคุ น ของกลุ่มชนท่สี ืบเชือ้ สายจากลาวคร่ัง ชาวลาวครง่ั มคี วามสามารถในการทอผา้ เม่ือมีการอพยพ
โยกย้ายถ่ินฐาน ก็นาเอาประเพณีวัฒนธรรมส่ิงของเครื่องใช้มาด้วย โดยเฉพาะด้านการทอผ้าและยังคง
รักษาวัฒนธรรม ประเพณี พิธีกรรมและความเชื่อไว้ได้อย่างต่อเน่ือง เพราะผ้าทอเป็นส่วนหน่ึงของวิถี
ชีวิตชาวลาวครั่งในอดีตน้ันชาวลาวคร่ังจะทอผ้ากันทุกครัวเรือนเพื่อเป็นเครื่องนุ่งห่มของทุกคนใน
ครอบครัว และใช้ในพิธีกรรม ตามคติความเชื่อด้ังเดิมท่เี กี่ยวกับการปฏิบัติต่อดวงวิญญาณพิธีกรรมเก่ยี ว
การเกิด การตาย และประเพณีพิธีกรรมต่าง ๆ ของลาวคร่ังจะมีเร่ืองราวของผ้าทอเขา้ ไปเก่ียวข้องเสมอ
เช่น ผ้าปกหัวนาค หรือผ้าห่มท่ีทอด้วยลวดลายมงคลและเป็นลวดลายที่สวยงามที่สุดเก็บไว้ 1 ผืนเพื่อ
เก็บไว้ห่มก่อนเสียชีวิตซึ่งเชื่อกันว่าจะมีชีวิตสุขสบายในภพหน้า ผ้าทอลาวคร่ังจึงมีความสาคัญผูกพัน
กลมกลืนต่อวิถีชีวิตชาวลาวครั่งมาต้ังแต่อดีตและยังถ่ายทอดให้ลูกหลานได้สืบทอดต่อกันมาจนถึง
ปจั จุบนั
ความเช่อื และเรื่องราวท่เี กย่ี วขอ้ งกับวถิ ีชีวิต
ผา้ ทอลาวคร่ังมีความสาคัญต้ังแต่อดีตจนถึงปัจจุบันเป็นสิ่งทอในครวั เรอื นเพื่อเป็นเคร่ืองนุ่งห่ม
ใช้สอยภายในบ้านใช้ในพิธีกรรม เช่น พธิ ีไหว้ผีบรรพบุรุษ ยงั ใช้เพื่อการศาสนา ได้แก่ การทาธง อาสนะ
ผ้าคลุมหัวนาค ผ้าติดธรรมาสน์ ส่วนผา้ ตีนจกจะทอขึน้ เพอ่ื ใช้ในเวลามงี านบญุ งานมงคลสมรส เปน็ ตน้
ภูมิปัญญาที่เป็นรากเหง้าในการสร้างสรรค์งานทอของกลุ่มชนไทครั่งหรือลาวครั่ง มีพ้ืนฐานมา
จากความเลื่อมใสศรัทธาในพระพุทธศาสนา และความเช่ือในสิ่งลึกลับ เช่น ผีสางเทวดา และผีบรรพ
บุรุษ เปน็ ตน้ ประกอบกนั จนกระท่งั กลายเปน็ แรงบนั ดาลใจท่ีก่อให้เกิดลวดลายท่ีแฝงไวด้ ้วยความหมาย
23
ความหมายของลายผา้ ทอลาวครั่ง
เคร่อื งเบญจรงค์ลายคราม
ลายนาคสองหวั ลายม้าน้อย
ภาพท่ี 19 ลายผ้าทอลาวคร่งั
ทีม่ า : https://www.sacit.or.th/uploads/items/attachments/e38c9a9b9ca7607
ce912ab7fe7106f3d/_87aa7741d4389267fdb491aae25db711.pdf
ลวดลายบนผืนผ้า แบ่งออกเป็นตามความเช่ือและการบอกเล่าเรื่องราวในอดีต กลุ่มลวดลายท่ี
เกิดจากความเชอ่ื ท่ีปรากฏอยใู่ นนทิ านพนื้ บา้ น หรือตานาน เช่น
- ลายนาคหรืองูใหญ่ กลุ่มชนแถบลุ่มแม่น้าโขงเช่ือว่าบรรพบุรุษ คือ พญานาค ดังนั้น
นาคจึงเป็นสัญลักษณ์ของการสืบสกุลสายแม่ อีกท้ังยังมีความเชื่อว่านาคเป็นสัญลักษณ์ของสายน้าและ
ฝน ซ่งึ แสดงนยั ถงึ ความอดุ มสมบรู ณ์ อันเปน็ ส่งิ จาเปน็ สาหรบั สงั คมเกษตรกรรม
- ลายหงส์ แสดงถงึ ความสงา่ งาม และเป็นสญั ลักษณข์ องการสืบสายสกลุ สายพ่อ
- ลายหงส์คู่ หงสถ์ ือเป็นสตั วส์ ูง เสมอื นเปน็ นางฟ้าท่ีคอยคุ้มครองให้พรดูแลความสขุ
- ลายสิงห์ แสดงถงึ ความนา่ เกรงขาม สง่างาม การปกป้องคุม้ ครอง
- ลายม้า แสดงถงึ ความวอ่ งไว ปราดเปรยี ว และความสง่างาม
- ลายช้าง แสดงถึงความยิ่งใหญ่ น่าเกรงขาม และส่ือถึงความเก่ียวพันกับ
พระพทุ ธศาสนา หรือการเปน็ ตวั แทนของพระมหากษัตรยิ ์ ท่จี ะคอยดแู ลทกุ ขส์ ขุ ให้ประชาชน
- ลายตัวมอมหรือคชสีห์ เป็นสัตว์ผสมระหว่างสิงห์กับช้าง แสดงถึงความย่ิงใหญ่สง่า
งาม เปน็ สญั ลักษณแ์ ทนพ่อและแม่ คอยดูแลปกป้องลูก
24
กลุ่มลวดลายที่ได้รับแรงบันดาลใจมาจากธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมรอบตัว ได้แก่ ลวดลาย
ดอกไม้ชนิดต่าง ๆ ลวดลายข้าวของเครื่องใช้ เช่น ลายร่ม ลายตะขอ และลายขาเปีย ลายขาแมงมุม
ลายหนาม (เข้ียวหมา) ลายดอกบานค่า ลายหมาใน ลายขอข่ือ ลายดอกพิกุล ลายดอกจัน ลายหางแมง
งอด เป็นต้น
จากการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องพอสรุปได้วา่ เคร่ืองเบญจรงค์ เริ่มต้นมีมาตง้ั แต่สมัยอยุธยา
สมัยนน้ั จะสั่งทาจากประเทศจีนเปน็ ส่วนมาก ตอ่ มาสมัยรัตนโกสินทร์ในรชั กาลที่ 2 มีความนยิ มกันมาก
มีการนาทองมาประกอบเป็นลายน้าทองจนถึงปัจจุบัน ส่งผลให้เครื่องเคลือบ มุกลายน้าทองเป็น
ศิลปหัตถกรรมอันทรงคุณค่าคู่ประเทศไทย ซึ่งคู่ควรแก่การอนุรักษ์และสืบสานให้ชนรุ่นหลังอนุรกั ษ์สืบ
ตอ่ ไปตราบชัว่ กาลนาน
25
บทที่ 3
วธิ กี ารดาเนินการ
ในการทาโครงการอาชีพ เรื่อง การเขียนเครื่องเคลือบมุกลายน้าทอง ประยุกต์ลายผ้าซ่ินตีนจก
(ชาติพันธ์ุลาวคร่ัง) คณะผู้จัดทาได้ศึกษาความรู้เกี่ยวกับเร่ือง การเขียนเคร่ืองเคลือบมุกลายน้าทอง และฝึก
เขียนจนมคี วามชานาญสามารถเขียนลงบนภาชนะเคลือบมุกดว้ ยน้าทองได้ ซึ่งมีวธิ ีดาเนินงานดังนี้
วสั ดุอปุ กรณ์ ภาพท่ี 20 วสั ดุอุปกรณ์
1. ภาชนะเซรามิกเคลือบขาว ที่มา : ธญั ญาเรศ จุลปานนท์ (2565)
2. น้าทอง 12 เปอรเ์ ซ็นต์
3. น้ามุก
4. แป้นหมุน
5. เข็มเขียนน้าทอง
6. ปากกาหัวสักหลาด
7. ดินน้ามนั
8. ทินเนอร์
9. พู่กนั
10. เตาอบไฟฟ้า
วิธีการดาเนินการ
การเขียนเครื่องเคลอื บมุกลายนา้ ทองมีการดาเนนิ การ 2 ขั้นตอนดังตอ่ ไปนี้
ข้ันตอนที่ 1 การฝึกเขียนลาย ประกอบด้วย
1.1 ฝกึ เขยี นลายดว้ ยดินสอในกระดาษจนมือนิง่
1.2 เขยี นเครื่องเคลือบมุกดว้ ยปากกาหัวสักหลาด จนมอื นิง่ และเกิดความชานาญ
ขั้นตอนท่ี 2 การทาเคร่ืองเคลือบมุกลายน้าทอง ประกอบดว้ ย
2.1 นาเซรามิก (เครือ่ งขาว) มาวนมุก
2.2 นาเข้าเตาอบไฟฟา้ ด้วยอุณหภูมิ 800 องศาเซลเซียส ใช้เวลา 4 ช่วั โมง ปล่อยให้เย็นตัว
อีก 6-8 ช่วั โมง
2.3 นาเครื่องเคลอื บมุกมาวนตามขอบดว้ ยน้าทองเพ่ือจะเขียนลาย
2.4 เขียนลายด้วยน้าทองตามแบบท่ีได้ฝึกไว้ ปล่อยให้แห้ง แล้วนามาวนจุก ขอบ หูจับ ให้
เรียบร้อย
2.5 นาเข้าเตาอบไฟฟ้าด้วยอณุ หภูมิ 800 องศาเซลเซียส ใช้เวลา 4 ชว่ั โมง ปล่อยให้เย็นตัว
เปน็ เวลา 6-8 ชวั่ โมง
26
ภาพประกอบการดาเนินการเขยี นเคร่ืองเคลือบมุกลายน้าทอง
ภาพท่ี 21 ศึกษาลายผ้าซิ่นตีนจก(ชาติพันธล์ุ าวคร่ัง)
ที่มา : ณัชพล กาฬภกั ดี (2565)
ภาพที่ 22 การฝึกเขียนลายด้วยดินสอในกระดาษ
ทีม่ า : ธัญญาเรศ จลุ ปานนท์ (2565)
27
ภาพที่ 23 การฝึกเขียนลายดว้ ยปากกาหวั สักหลาดบนเครื่องเคลอื บ
ทีม่ า : ธญั ญาเรศ จุลปานนท์ (2565)
ภาพที่ 24 การวนมุกบนเคร่ืองขาว
ท่ีมา : ธัญญาเรศ จุลปานนท์ (2565)
28
ภาพท่ี 25 การวนน้าทองตามขอบ และทาเป็นชว่ งเพ่ือเขียนลาย
ท่ีมา : ธัญญาเรศ จลุ ปานนท์ (2565)
ภาพที่ 26 การเขียนลายดว้ ยน้าทองบนเครื่องเคลือบมุก
ท่มี า : ธญั ญาเรศ จลุ ปานนท์ (2565)
29
ภาพท่ี 27 การวนจุก ขอบ หูจับดว้ ยน้าทอง
ที่มา : ธญั ญาเรศ จลุ ปานนท์ (2565)
ภาพที่ 28 นามาอบดว้ ยเตาอบไฟฟา้
ท่มี า : ธญั ญาเรศ จุลปานนท์ (2565)
30
ภาพท่ี 29 การบรรจผุ ลติ ภัณฑ์เพ่ือรอการจาหนา่ ย
ทม่ี า : ธญั ญาเรศ จุลปานนท์ (2565)
ภาพที่ 30 หน้ารา้ นจาหน่ายสินคา้ โรงเรียนบ่อกรวุ ทิ ยา
ที่มา : ธญั ญาเรศ จุลปานนท์ (2565)
31
ภาพที่ 31 ส่งมอบสินค้าให้แก่ลกู คา้
ท่ีมา : ธญั ญาเรศ จลุ ปานนท์ (2565)
ภาพที่ 32 แสดงสินคา้ และจดั จาหน่าย
ท่มี า : ธญั ญาเรศ จลุ ปานนท์ (2565)
บทท่ี 4
ผลการศกึ ษา
ผลการดาเนนิ งานโครงงานอาชีพ เร่ือง การเขยี นเคร่อื งเคลอื บมกุ ลายน้าทอง ประยกุ ต์ลายผ้าซ่ิน
ตนี จก (ชาติพันธุล์ าวครั่ง) ตั้งแตเ่ ดอื นเมษายน - เดือนพฤศจกิ ายน 2565 ไดผ้ ลงานดงั นี้
ตารางที่ 1 ผลการศึกษาและปฏิบัติการเขียนเคร่ืองเคลือบมุกลายน้าทอง ประยุกต์ลายผ้าซ่ินตีนจก(ชาติ
พนั ธ์ลุ าวครั่ง)
ภาชนะ ชนิดของผลงาน ลายของผลงาน
ผอบ เคร่ืองเคลอื บมุกลายน้าทอง
แก้วกาแฟ เครื่องเคลอื บมุกลายนา้ ทอง ลายขอเอส, ลายขอระฆัง,
แกว้ น้ามีฝาปิด เคร่ืองเคลือบมุกลายนา้ ทอง ลายดอกไม,้ ลายผีเสอื้ ,
โถชน้ั 3 นว้ิ ลายกาบกล้วย, ลายหงส์, ลายนก,
โถชนั้ 4 น้ิว เคร่ืองเคลอื บมุกลายน้าทอง ลายพญานาค และลายปลา
จากตารางที่ 1 แสดงให้เห็นว่าผจู้ ัดทาโครงงานได้เขียนผลงานบนภาชนะ 4 รูปทรง คือ ผอบ แก้ว
กาแฟ แก้วน้ามีฝาปิด และโถชั้น แต่ละรูปทรงเขียนเป็นมุกลายน้าทอง ประยุกต์ลายผ้าซ่ินตีนจก
(ชาติพันธ์ุลาวครั่ง) 9 ลายด้วยกัน ได้แก่ ลายขอเอส ลายขอระฆัง ลายดอกไม้ ลายผีเส้ือ ลายกาบกล้วย
ลายหงส์ ลายนก ลายพญานาค และลายปลา
33
ตารางที่ 2 ผลการประเมินความพึงพอใจที่มตี ่อชิ้นงานการเขียนเครอื่ งเคลือบมุกลายน้าทอง ประยุกต์ลาย
ผ้าซิน่ ตีนจก(ชาติพนั ธล์ุ าวครงั่ )
ที่ รายการประเมนิ x SD การแปลผล
1 มีความหลากหลายของรูปทรงภาชนะเคลือบขาวให้ 2.71 0.458 มาก
เลอื ก (ผอบ, แกว้ นา้ กาแฟ, แกว้ น้ามฝี าปดิ , โถช้ัน)
มาก
2 มคี วามหลากหลายของผลงานใหเ้ ลือก 2.71 0.458 มาก
มาก
3 ความสวยงามของลายบนผลงาน 2.71 0.458 มาก
มาก
4 ความคิดริเรม่ิ สร้างสรรค์ 2.74 0.443 มาก
มาก
5 การใชเ้ วลาว่างให้เกิดประโยชน์ 2.71 0.458
6 การอนรุ กั ษศ์ ิลปวัฒนธรรมทอ้ งถนิ่ 2.66 0.539
7 ความเหมาะสมของราคากับผลงาน 2.63 0.490
รวม 2.70 0.469
เกณฑก์ ารการแปลผล
2.51-3.00 แปลว่า มีความพึงพอใจในระดบั มาก
1.51-2.50 แปลวา่ มคี วามพึงพอใจในระดบั ปานกลาง
1.00-1.50 แปลวา่ มคี วามพึงพอใจในระดับน้อย
จากตารางท่ี 2 แสดงให้เห็นว่าผู้ตอบแบบประเมินความพึงพอใจต่อการเขียนเครื่องเคลือบมุกลาย
นา้ ทอง ประยุกต์ลายผ้าซิ่นตนี จก(ชาติพันธ์ุลาวครง่ั ) โดยภาพรวมมคี วามพงึ พอใจอยู่ในระดับมาก และทุก
ประเด็นอยู่ในระดับมากทุกด้าน ระดับความพึงพอใจมากเป็นอันดับ 1 ได้แก่ ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
ระดับความพึงพอใจมากเป็นอันดับ 2 ได้แก่ มีความหลากหลายของรูปทรงภาชนะเคลือบขาวให้เลือก
(ผอบ, แก้วน้ากาแฟ, แก้วน้ามีฝาปิด, โถชั้น) มีความหลากหลายของผลงานให้เลือก ความสวยงามของ
ลายบนผลงาน การใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ ระดับความพึงพอใจมากเป็นดับ 3 ได้แก่ การอนุรักษ์
ศิลปวัฒนธรรมท้องถ่ิน และระดับความพึงพอใจมากเป็นอันดับ 4 ได้แก่ ความเหมาะสมของราคากับ
ผลงาน
34
แผนภูมิท่ี 1 แสดงระดับความพึงพอใจที่มีต่อการเขียนเครื่องเคลือบมุกลายน้าทอง ประยุกต์ลายผ้าซ่ิน
ตนี จก(ชาตพิ ันธุ์ลาวครง่ั )
ความหลากหลายของรปู ททรงภาชนะ ความหลากหลายของผลงาน
ความสวยงามของลายบนผลงาน ความคดิ รเิ ริ่มสรา้ งสรรค์
การใช้เวลาวา่ งให้ประโยชน์ การอนรุ ักษศ์ ลิ ปวัฒนธรรมทอ้ งถ่ิน
ความเหมาะสมของราคากบั ผลงาน
2.76
2.74
2.74
2.72
2.7 2.71 2.71 2.71 2.71
2.68
2.66
2.66
2.64
2.62 2.63
2.6
2.58
2.56
35
ตารางที่ 3 ผลการนาความรู้และประสบการณ์ปฏิบัติไปประกอบอาชีพเป็นรายได้ระหว่างเรียนจากการทา
โครงงานอาชีพ
รหสั รายการ จานวน ราคา รวมรายได้ ตน้ ทนุ การ ส่วนแบ่งจาก
สินค้า ต่อหน่วย ของผูจ้ ัดทา จัดทา กาไร 50%
BK1 ผอบเคลือบมุกลายนา้ ทอง 6 99 594 390 102
BK2 แกว้ กาแฟเคลือบมกุ ลายน้าทอง 5 330 1,650 1,100 275
BK3 แก้วน้าฝาปิดเคลอื บมุกลายน้าทอง 10 390 3,900 2,600 650
BK4 โถชนั้ 3 นว้ิ เคลอื บมกุ ลายน้าทอง 4 390 1,560 1,040 260
BK5 โถชน้ั 4 นว้ิ เคลือบมกุ ลายนา้ ทอง 2 480 960 640 160
รวมรายได้ 8,664 5,770 1,447
จากตารางที่ 3 แสดงให้เห็นว่าการนาความรู้และประสบการณ์การปฏิบัติไปประกอบอาชีพเป็น
รายได้ระหว่างเรียนจากการทาโครงงานอาชีพการเขียนเครื่องเคลือบมุกลายน้าทองสามารถสร้างรายได้
8,664 บาท
บทที่ 5
สรปุ ผลการดาเนินงาน
โครงงานอาชีพเรื่องการเขียนเครื่องเคลือบมุกลายน้าทอง ประยุกต์ลายผ้าซิ่นตีนจก (ชาติพันธ์ุ
ลาวคร่ัง) มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพ่อื ศึกษาและปฏิบัติการเขียนเครื่องเคลือบมุกลายน้าทอง ประยุกต์ลาย
ผ้าซิ่นตีนจก(ชาติพันธ์ุลาวครั่ง) 2) เพื่อศึกษาความพึงพอใจท่ีมีต่อชิ้นงานเครื่องเคลือบมุกลายน้าทอง
ประยุกต์ลายผ้าซ่ินตีนจก(ชาติพันธ์ุลาวคร่ัง) 3) เพ่ือนาความรู้ท่ีได้จากการศึกษาและประสบการณ์การ
ปฏิบัติโครงงานอาชีพไปใช้ประโยชน์ในการประกอบอาชีพได้อย่างเหมาะสม โดยการหารายได้ระหว่าง
เรียน การเขียนลายบนเคร่ืองเคลือบมุกลายน้าทอง ประยุกต์ลายผ้าซิ่นตีนจก (ชาติพันธุ์ลาวครั่ง) มีวิธีการ
ดาเนินงานดังนี้ นาเซรามกิ เคลือบขาวมาวนด้วยมุก แล้วนาเข้าเตาอบไฟฟ้า อบดว้ ยอุณหภูมิ 800 องศา
เซลเซียส ใช้เวลา 4 ชั่วโมง ปล่อยให้เย็นตัวเป็นเวลา 6-8 ช่ัวโมง นาออกมาวนน้าทองเพ่ือเตรียมเขียน
ลาย เขียนลวดลายบนภาชนะเซรามิกทว่ี นน้าทอง เสร็จแล้วนามาวนตามจุก หู และขอบด้วยน้าทองอีก
ครงั้ นาเขา้ เตาอบไฟฟ้าอบด้วยอุณหภูมิ 800 องศาเซลเซียส ใช้เวลา 4 ชวั่ โมง ปล่อยใหเ้ ย็นตัวเป็นเวลา
6-8 ช่ัวโมง จึงนาออกมาใส่กล่องบรรจุภัณฑ์และจาหน่ายได้ หลังจากเสร็จสิ้นโครงงานแล้ว ทาการ
ประเมินช้ินงานโดยการประเมินความพึงพอใจท่ีมีต่อช้ินงานของเครื่องเคลือบมุกลายน้าทอง ประยุกต์
ลายผ้าซ่ินตีนจก (ชาติพันธุ์ลาวคร่ัง) ของนักเรียน ครู และอ่ืนๆ จากนั้นนามาบรรจุภัณฑ์และจาหน่าย
เกบ็ รวบรวมขอ้ มลู เพ่ือเขยี นรายงานโครงงาน
สรุปผลการศึกษา
1. จากการศึกษาและปฏิบัติการทาเครื่องเคลือบมุกลายน้าทอง ประยุกต์ลายผ้าซิ่นตีนจก (ชาติ
พันธ์ุลาวครั่ง) ผู้จัดทาโครงงานได้เขียนผลงานบนภาชนะ 4 รูปทรง คือ ผอบ แก้วกาแฟ แก้วน้าฝาปิด
และโถชั้น แต่ละรูปทรงเขียนเป็นลายน้าทอง ส่วนลายเขียนบนภาชนะเขียนเป็น 9 ลาย ได้แก่ ลายขอ
เอส ลายขอระฆัง ลายดอกไม้ ลายผีเสื้อ ลายกาบกล้วย ลายหงส์ ลายนก ลายพญานาค และลายปลา
สามารถนาผลงานท่ีเสร็จแล้วออกมาจาหน่ายหารายได้ระหว่างเรียน โดยมีการจาหนา่ ยโดยตรงและผา่ น
โซเชยี ลเนต็ เวริ ์กเพจเฟสบุ๊คผลิตภัณฑโ์ รงเรยี นบอ่ กรุวิทยา
2. ความพึงพอใจท่ีมีต่อชิ้นงานเคร่ืองเคลือบมุกลายน้าทอง ประยุกต์ลายผ้าซ่ินตีนจก(ชาติพันธ์ุ
ลาวครั่ง) โดยภาพรวมมีความพึงพอใจอยูใ่ นระดับมาก และทุกประเด็นอยู่ในระดบั มากทุกด้าน ระดบั ความ
พึงพอใจมากเป็นอันดับ 1 ได้แก่ ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ระดับความพึงพอใจมากเป็นอันดับ 2 ได้แก่ มี
ความหลากหลายของรูปทรงภาชนะเคลือบขาวให้เลือก (ผอบ, แก้วน้ากาแฟ, แก้วน้ามีฝาปิด, โถชั้น)
37
มีความหลากหลายของผลงานให้เลือก ความสวยงามของลายบนผลงาน การใช้เวลาว่างให้เกิด
ประโยชน์ ระดับความพึงพอใจมากเป็นดับ 3 ได้แก่ การอนุรักษ์ศิลปวฒั นธรรมท้องถิ่น และระดับความ
พงึ พอใจมากเป็นอันดับ 4 ไดแ้ ก่ ความเหมาะสมของราคากับผลงาน
3. นาความรู้ที่ได้จากการศึกษาและประสบการณ์การปฏิบัติโครงงานอาชีพ ไปใช้ประโยชน์ใน
การประกอบอาชีพได้อย่างเหมาะสมโดยการหารายได้ระหว่างเรียน จากการทาโครงงานอาชีพ เคร่ือง
เคลอื บมุกลายน้าทอง ประยุกตล์ ายผ้าซ่นิ ตนี จก(ชาติพันธลุ์ าวครงั่ ) สามารถสรา้ งรายได้ 8,664 บาท
อภิปรายผล
1. จากการศึกษาและปฏิบัติการเขยี นเครอ่ื งเคลือบมุกลายน้าทอง ผจู้ ัดทาโครงงานสามารถเขียน
ลายน้าทองประยุกต์ลายผ้าซ่ินตีนจก(ชาติพันธ์ุลาวครั่ง) ได้ ซ่ึงเป็นศิลปวัฒนธรรมไทยผสมผสานกับ
วัฒนธรรมท้องถิ่น เน่ืองจากปัจจุบันไม่ค่อยมีใครให้ความรู้ในการเขียนลายน้าทองมากนัก บางคนหวงวิชา
เพราะกลัววา่ คนอ่ืนจะมาแย่งอาชีพหรือไมต่ ้องการให้ใครเขยี นได้ นับว่าโรงเรียนบอ่ กรุวทิ ยา เลง็ เห็นคุณค่า
ของภูมิปัญญาท้องถ่ินในการเขียนเครื่องเคลอื บมุกลายน้าทอง ประยุกตล์ ายผ้าซิ่นตีนจก(ชาตพิ ันธุ์ลาวครั่ง)
จงึ ไดส้ ง่ เสรมิ ให้นกั เรยี นมีทักษะและฝึกอาชีพ
2. ความพึงพอใจที่มีต่องานการเขียนเคร่ืองเคลือบมุกลายน้าทอง มีความพอใจในระดับมาก
และอยู่ในระดับมากทุกด้าน อาจเป็นเพราะขั้นตอนการทาเป็นงานฝีมือทุกขั้นตอน ผู้จัดทาโครงงานต้อง
อาศัยสมาธิ ใจเยน็ มีความคดิ สร้างสรรค์ มคี วามอดทด และรบั ผดิ ชอบ
3. นาความรู้ท่ีได้จากการศึกษาและประสบการณ์การปฏิบัติโครงงานอาชีพ ไปใช้ประโยชน์ใน
การประกอบอาชีพได้อย่างเหมาะสมโดยการหารายได้ระหว่างเรียน จากการทาโครงงานชีพเคร่ืองเคลือบ
มุกลายน้าทอง ประยุกต์ลายผ้าซ่ินตีนจก(ชาติพันธ์ุลาวครั่ง) ซึ่งสามารถสร้างรายได้กว่า 8,664 บาท นับว่า
เป็นรายไดส้ งู มาก ทั้งน้เี พราะไดร้ บั การฝึกฝนจากรุ่นพ่ีและคณุ ครผู คู้ วบคุม
ประโยชน์ทไ่ี ดร้ บั จากการทาโครงงาน
1. ฝึกใหม้ ีความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์
2. ฝกึ ใหม้ สี มาธิ ใจเยน็ และอดทน
3. มีรายไดร้ ะหวา่ งเรยี น
4. เป็นแนวทางในการประกอบอาชพี
5. ใชเ้ วลาว่างใหเ้ ป็นประโยชน์
38
6. เพ่ิมมลู คา่ ให้แก่เครื่องขาว
7. อนรุ กั ษศ์ ิลปวฒั นธรรมและภูมิปญั ญาท้องถนิ่ ให้คงอยู่สืบไป
ข้อเสนอแนะ
1. โรงเรียนควรสนบั สนุนใหม้ เี ตาเผาเปน็ ของโรงเรียนเอง
2. ควรสง่ เสรมิ ให้ภมู ิปัญญาท้องถ่ินมสี ว่ นร่วมในการจัดการเรยี นการสอนต่อไป
3. ควรนาความรู้ไปเผยแพร่ให้กับชุมชน และผู้ท่ีสนใจในการทาเคร่ืองเคลือบมุกลายน้าทอง
ประยุกตล์ ายผ้าซ่นิ ตนี จก (ชาตพิ ันธ์ลุ าวคร่งั ) ใหเ้ ป็นทแี่ พร่หลาย เพ่อื เปน็ การอนรุ ักษว์ ัฒนธรรมท้องถิ่น
39
บรรณานกุ รม
คนชอบสวน (นามแฝง). เคร่อื งปั้นดินเผา [ออนไลน์]. เข้าถงึ เมื่อ 19 เมษายน 2565. เขา้ ถงึ ได้จาก
http://doogarden.blogspot.com/2010/06/blog-post_2716.html
เฉลิม ฟักอ่อน. โครงงานอาชีพ [ออนไลน์]. เขา้ ถงึ เมื่อ 19 เมษายน 2565. เข้าถึงได้จาก
Images.chalermfakon.multiply.multiplycontent.com//โครงงานอาชีพ.
ญาณวรรณ์ ไชยโย. ประวัตเิ ครื่องเบญจรงค์ [ออนไลน์]. เข้าถงึ เมือ่ 19 เมษายน 2565. เข้าถึงได้จาก
http://student.swu.ac.th/fa/benja2.html.
ธนสรณ์ โสตภิโสภา. เครอื่ งลายคราม [ออนไลน์]. เข้าถึงเม่ือ 19 เมษายน 2565. เขา้ ถึงไดจ้ าก
http://siweb.dss.go.th/dss_doc/fuulltext.radio/T52.pdf.
บญุ ญารตั น์ เบญจรงค.์ โครงงานอาชีพ [ออนไลน์]. เข้าถึงเม่อื 19 เมษายน 2565. เข้าถึงได้จาก
http://w.w.w.benjarong.net/index.php?main_page=_4
เปลื้อง ณ นคร. พจนานุกรมไทย-ไทย [ออนไลน์]. เขา้ ถงึ เมื่อ 19 เมษายน 2565. เข้าถงึ ไดจ้ าก
http://guru.sanook.com.
มลู นิธชิ ่างหตั ถศลิ ป์ไทย. ผ้จู ัดพมิ พ.์ รูปแบบผลิตภณั ฑ์หัตถกรรมไทย. กรุงเทพฯ : กระทรวง
อุตสาหกรรมร่วมกับการท่องเทยี่ วแห่งประเทศไทยและการปิโตรเลยี มแหง่ ประเทศไทย,
2538.
ไพจติ ร องิ ศริ วิ ัฒน.์ รวมสูตรเคลอื บเซรามกิ ส์. กรุงเทพมหานคร : สานกั พมิ พโ์ อเดียนสโตร์. 2537.
เรือนหตั ถศิลป์เบญจรงค์. ประวัตเิ ครื่องเบญจรงค์ [ออนไลน์]. เขา้ ถึงเมือ่ 19 เมษายน 2565. เขา้ ถงึ
ไดจ้ าก http://www.ruanhatthasilpbenjarong.com/content.
โรงเรยี นสอนภาษาจนี หอการคา้ ไทย-จีน. ลายครามของจีน [ออนไลน์]. เขา้ ถงึ เมื่อ 19 เมษายน
2565. เขา้ ถึงไดจ้ าก http://www.tcbthai.net/index.php?layshow&ac=article&id
=53881997
ศนู ย์สง่ เสรมิ ศิลปาชีพระหว่างประเทศ (องค์การมหาชน). งานศลิ ปหตั ถกรรมผ้าทอประเภทลาวคร่ัง
[ออนไลน์]. เข้าถงึ เมื่อ 19 เมษายน 2565. เขา้ ถึงไดจ้ าก https://www.sacit.or.th/
uploads/items/attachments/e38c9a9b9ca7607ce912ab7fe7106f3d/_87aa7741d43
89267fdb491aae25db711.pdf
อาริสา ขนั ละ. ประวตั คิ วามเปน็ มาของเครื่องปน้ั ดินเผา [ออนไลน์]. เข้าถงึ เมื่อ 19 เมษายน 2565.
เข้าถงึ ไดจ้ าก http://arisa14480blogspot.com/2011/10/blog-post_02.html
ภาคผนวก