The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pilanpilan888, 2021-03-17 02:55:31

Presentation1

Presentation1

โครงการพฒั นาดอยตงุ
เสนอ

อาจารย์ จิราพร ดาวเรือง

จดั ทาโดย
นางสาว ปัทมา โพธ์ิพฤกษ์

รายงานเร่ืองนีเ้ป็ นสว่ นหนงึ่ ของวชิ าสือ่ อเิ ลก็ ทรอนิกส์
โรงเรียนโกสมั พีนคร

คานา

• โครงการพฒั นาดอยตงุ (พืน้ ท่ีทรงงาน) อนั เนื่องมาจากพระราชดาริ เร่ิมต้นขนึ ้ เม่ือปี พ.ศ.
๒๕๓๑ ถือเป็ นโครงการพฒั นาโครงการแรกของมลู นธิ ิแม่ฟ้ าหลวงฯ ที่น้อมนาศาสตร์ของ
พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ วั รัชกาลท่ี ๙ และสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีมาเป็น
หลกั ในการแก้ไขปัญหาความยากจนและยกระดบั คณุ ภาพชีวติ อยา่ งองค์รวม

• ปัจจบุ นั โครงการพฒั นาดอยตงุ ฯ ได้รับการยกยอ่ งในระดบั นานาชาตใิ ห้เป็นต้นแบบการ
พฒั นาทางเลอื กเพ่ือลดการปลกู พืชเสพติดและแก้ปัญหาความยากจนได้อยา่ งยง่ั ยืน อีกทงั้
ยงั ได้รับการยอมรับให้เป็ นหนงึ่ ในต้นแบบของธรุ กิจเพ่ือสงั คม ที่สามารถพฒั นาคณุ ภาพชีวิต
ของประชาชนควบคไู่ ปกบั การแก้ปัญหาสงั คมและฟืน้ ฟสู ง่ิ แวดล้อมได้สาเร็จ

• นอกจากนี ้มลู นธิ ิแมฟ่ ้ าหลวงฯ ยงั ได้นาประสบการณ์และองค์ความรู้จากผลสาเร็จของ
โครงการพฒั นาดอยตงุ ฯ ไปดาเนินงานและขยายผลทงั้ ในประเทศและตา่ งประเทศ ได้แก่
เมียนมา อฟั กานสิ ถาน และอนิ โดนีเซยี

สาบญั

• เรื่อง หน้า
• จดุ เร่ิมต้น 1
• โครงการสาคญั 2
• จดุ เดน่ 5

ความเป็ นมา

• สมเดจ็ พระศรีนครินทราบรมราชชนนีทรงเป็ นพระบรมราชชนนีของพระมหากษัตริย์ไทยสองพระองค์ คอื พระบาทสมเดจ็
พระปรเมนทรมหาอานนั ทมหิดล (รัชกาลท่ี ๘) และพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดช (รัชกาลท่ี ๙)

• นบั ตงั้ แตพ่ .ศ. ๒๕๐๐ เป็นต้นมา สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีได้ทรงงานอยา่ งท่มุ เทเพ่อื พฒั นาชวี ิตและความ
เป็นอยขู่ องประชาชนในชนบท โดยเฉพาะชนกลมุ่ น้อยในพนื ้ ท่ีหา่ งไกล ซง่ึ สามารถเข้าถงึ ได้ด้วยเฮลิคอปเตอร์เทา่ นนั้
พระองค์ได้ทรงตระหนกั ดีถงึ ความยากลาบาก การขาดโอกาสในชวี ิต รวมถงึ ความเจ็บป่ วยท่ีเกิดขนึ ้ กบั ราษฎรในท้องถ่ิน
ทรุ กนั ดาร ทกุ ครัง้ ท่ีพระองค์เสด็จเย่ยี มราษฎรจงึ มีบคุ ลากรทางการแพทย์เพื่อเข้าไปร่วมตรวจรักษาผ้ทู ี่เจ็บป่ วยด้วย และ
ทรงนาเครื่องน่งุ หม่ อาหาร ส่ิงของที่จาเป็น และของเลน่ สาหรับเดก็ เข้าไปพระราชทานให้แกค่ นในพนื ้ ที่ ในสายตาของ
ชาวไทยภเู ขา พระองค์เปรียบเสมือนเสดจ็ มาจากฟากฟ้ าเพ่ือปัดเป่ าความทกุ ข์ยาก เขาเหลา่ นนั้ จงึ ถวายพระสมญั ญา
นาม “แม่ฟ้ าหลวง” แดพ่ ระองค์ ซง่ึ เป็ นพระนามท่ีเตม็ ไปด้วยความเคารพรักบชู าจากหวั ใจชาวไทยภเู ขาทกุ คน

• ตลอดพระชนม์ชีพของสมเดจ็ พระศรีนครินทราบรมราชชนนี พระองค์ทรงงานอยา่ งตอ่ เน่ืองเพอื่ ยกระดบั ความเป็นอยขู่ อง
ชมุ ชนท่ียากไร้และชนกลมุ่ น้อยในประเทศไทยให้มีชีวิตความเป็ นอยทู่ ี่ดขี นึ ้ จนวาระสดุ ท้ายของพระชนม์ชีพในปีพ.ศ.
๒๕๓๘ รวมพระชนมายุ ๙๕ พรรษา

• องค์การการศกึ ษา วิทยาศาสตร์ และวฒั นธรรมแหง่ สหประชาชาติ หรือ ยเู นสโก (UNESCO) ได้ยกยอ่ งให้สมเด็จพระ
ศรีนครินทราบรมราชชนนีเป็น “บคุ คลสาคญั ของโลก” ประจาปี พ.ศ.๒๕๔๓ ในฐานะท่ีทรงมีผลงานดเี ดน่ เพ่ือสว่ นรวมใน
ด้านการศกึ ษา วทิ ยาศาสตร์ประยกุ ต์ การพฒั นามนษุ ย์ สงั คม และสิ่งแวดล้อม



จุดเริ่มตน้

• มลู นิธิแม่ฟ้ าหลวง ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ เดมิ ชื่อ มลู นิธิสง่ เสริมผลผลติ
ชาวเขาไทย ในพระราชปู ถมั ภ์ ก่อตงั้ ขนึ ้ ตามพระราชดาริของสมเด็จพระ
ศรีนครินทราบรมราชชนนี ในปี พ.ศ. ๒๕๑๕ เพ่ืออนรุ ักษ์
ศิลปวฒั นธรรมและเพม่ิ รายได้ให้แก่ชาวเขา

โครงการสาคญั

• โครงการพฒั นาดอยตุง(พนื้ ท่ที รงงาน)อนั เน่ืองมาจากพระราชดาริ
• โครงการพฒั นาดอยตงุ (พืน้ ที่ทรงงาน) อนั เน่ืองมาจากพระราชดาริ เร่ิมต้นขนึ ้ เมือ่ ปี พ.ศ. ๒๕๓๑ ถือเป็น

โครงการพฒั นาโครงการแรกของมลู นิธิแมฟ่ ้ าหลวงฯ ทนี่ ้อมนาศาสตร์ของพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ วั
รัชกาลท่ี ๙ และสมเดจ็ พระศรีนครินทราบรมราชชนนีมาเป็นหลกั ในการแก้ไขปัญหาความยากจนและ
ยกระดบั คณุ ภาพชีวติ อยา่ งองค์รวม
• อุทยานศิลปะวัฒนธรรมแม่ฟ้ าหลวง
• อทุ ยานศิลปะวฒั นธรรมแมฟ่ ้ าหลวง หรือที่คนเชียงรายรู้จกั ในช่ือ “ไร่แมฟ่ ้ าหลวง” ตงั้ อยทู่ ่ีอาเภอเมอื ง
จงั หวดั เชียงราย เดิมเป็นสถานทท่ี าการของมลู นิธิสง่ เสริมผลผลิตชาวเขาไทย ในพระราชปู ถมั ภ์สมเดจ็
พระศรีนครินทราบรมราชชนนี เพ่ือหาตลาดให้งานหตั ถกรรมท่ีเป็นศิลปะของชาวไทยภเู ขา และดแู ล
ไมใ่ ห้ถกู เอารัดเอาเปรียบจากพ่อค้าคนกลาง
• หอฝ่ิ น อุทยานสามเหล่ียมทองคา
• หอฝิ่ น อทุ ยานสามเหล่ียมทองคา ตงั้ อยบู่ นพืน้ ทป่ี ระมาณ ๒๕๐ ไร่ ริมแมน่ า้ โขง อาเภอเชยี งแสน จงั หวดั
เชียงราย หอฝิ่ นเปิ ดให้บริการเมือ่ ปี พ.ศ. ๒๕๔๘ ตามพระราชดาริของสมเดจ็ พระศรีนครินทราบรมราช
ชนนี

อุทยานศิลปะวฒั นธรรมแม่ฟ้ าหลวง หรือท่ีคนเชียงรายรู้จกั ในชื่อ “ไร่แม่ฟ้ าหลวง” ต้งั อยทู่ ่ีอาเภอ
เมือง จงั หวดั เชียงราย เดิมเป็นสถานท่ีทาการของมูลนิธิส่งเสริมผลผลิตชาวเขาไทย ในพระ

ราชูปถมั ภส์ มเดจ็ พระศรีนครินทราบรมราชชนนี เพือ่ หาตลาดใหง้ านหตั ถกรรมที่เป็นศิลปะของ
ชาวไทยภเู ขา และดูแลไม่ใหถ้ ูกเอารัดเอาเปรียบจากพ่อคา้ คนกลาง
สถานที่แห่งน้ีเคยทาหนา้ ที่เสมือน “บา้ น” สาหรับผนู้ าเยาวชนชาวเขาจากหม่บู า้ นห่างไกลที่ไดร้ ับ
พระราชทานทุนเล่าเรียนไดฝ้ ึกวชิ าชีวิตจากการอยรู่ ่วมกนั ก่อนจะเติบโตแยกยา้ ยกนั ไปพฒั นา
หม่บู า้ นของตนเอง ต่อมาโครงการน้ีไดส้ ิ้นสุดลง เม่ือการศึกษาภาครัฐขยายเขา้ ไปในพ้ืนที่
ห่างไกล เยาวชนจึงมีโอกาสเรียนในโรงเรียนใกลห้ มู่บา้ น ไร่แม่ฟ้ าหลวงจึงเปลี่ยนเป็น “อุทยาน
ศิลปะวฒั นธรรมแม่ฟ้ าหลวง” เพอ่ื เป็นศูนยก์ ลางดา้ นศิลปวฒั นธรรมลา้ นนาของไทย
ปัจจุบนั อุทยานศิลปะวฒั นธรรมแม่ฟ้ าหลวงเป็นแหล่งเรียนรู้ดา้ นศิลปวฒั นธรรมที่สาคญั ของ
ภาคเหนือ เปิ ดใหน้ กั ท่องเที่ยวชมงานพทุ ธศิลป์ เก่าแก่ โบราณวตั ถุอายนุ บั ศตวรรษ ศิลปวตั ถุ
รังสรรคจ์ ากไมส้ กั มีอาคารสถาปัตยกรรมลา้ นนาที่งดงามท่ามกลางความเขียวชอุ่ม ร่มร่ืนของ
พรรณไมท้ อ้ งถ่ินบนพ้ืนท่ี ๑๕๐ ไร่ อุทยานศิลปะวฒั นธรรมแม่ฟ้ าหลวงไดร้ ับรางวลั กินรี จาก
การท่องเท่ียวแห่งประเทศไทย ประเภทรางวลั ดีเด่นดา้ นแหล่งท่องเท่ียวทางศิลปวฒั นธรรมเมื่อปี

พ.ศ. ๒๕๔๙ และไดร้ ับประกาศนียบตั รการบริการยอดเยย่ี ม (Certificate of
Excellence) ประจาปี ๒๕๕๘ จาก TripAdvisor

• จุดเด่น

หอคา
สถาปัตยกรรมล้านนาที่ได้รับแรงบนั ดาลใจจากวดั ปงสนกุ อาเภอเมือง จงั หวดั ลาปาง
รูปทรงอาคารสอบเข้าตามลกั ษณะเรือนล้านนาโบราณ หลงั คาแป้ นเกลด็ เป็นแผน่ ไม้สกั
กว้างประมาณ ๔ นวิ ้ วางซ้อนเหลอ่ื มแทนแผน่ กระเบือ้ ง ลวดลายประดบั ได้มาจากจงั หวดั
อตุ รดิตถ์ ชา่ งพืน้ บ้านผ้กู อ่ สร้างจากจงั หวดั เชียงรายและแพร่ ช่างแกะสลกั จากเชียงใหมแ่ ละ
ลาพนู ไม้นานาชนิดท่ีใช้กอ่ สร้างมาจากองค์การอตุ สาหกรรมป่ าไม้ (อ.อ.ป.) รวมกบั ไม้จาก
บ้านเก่า ๓๒ หลงั ในจงั หวดั เชียงราย ชาวเชียงร่วมใจสร้างหอคาแหง่ นีถ้ วายเป็นเคร่ืองไหว้
สาแมฟ่ ้ าหลวง ในโอกาสที่สมเดจ็ พระศรีนคริทราบรมราชชนนีเจริญพระชนมายุ ๘๔ พรรษา
เม่ือปี พ.ศ.๒๕๒๗ (ค.ศ.๑๙๘๔)

หอแก้ว
เป็นอาคารจดั แสดงนิทรรศการถาวรเก่ียวกบั ไมส้ กั และนิทรรศการชว่ั คราวอื่นๆ ที่หมุนเวียนกนั
ไป
นิทรรศการเกี่ยวกบั ไมส้ ักแสดงใหเ้ ห็นถึงความผกู พนั อนั แนบแน่นของชาวเหนือท่ีมีต่อไมส้ ักใน
หลายมิติ เป็นเครื่องใชไ้ มส้ อยในชีวติ ประจาวนั รวมไปถึงงานศิลปะอนั วจิ ิตรต่างๆ ที่นามาใชใ้ น
การพระศาสนา เริ่มจากตวั อาคารของวดั วาอาราม เคร่ืองตกแต่ง และเคร่ืองใชใ้ นพิธีกรรมต่างๆ
จนถึงองคพ์ ระพุทธรูป


Click to View FlipBook Version