The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตรทำหมี่ตะคุปักธงชัย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by maturada Lapjit, 2019-08-30 02:51:51

หลักสูตรทำหมี่ตะคุปักธงชัย

หลักสูตรทำหมี่ตะคุปักธงชัย

หลกั สตู รทอ งถ่นิ ปกธงชัย

การทาํ หมี่ตะคปุ กธงชยั

ศนู ยการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อําเภอปก ธงชยั
สํานกั งานสงเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยจงั หวัดนครราชสมี า

สํานักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร



คํานาํ

หลักสูตรทองถ่ินปกธงชัย โดยการมีสวนรวมของประชารัฐนําสูผูเรียนสรางคน ชุมชนเขมแข็ง
ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอปกธงชัย (กศน. อําเภอปกธงชัย) จังหวัดนครราชสีมา
ไดพัฒนาข้ึนจากการสํารวจชุมชนทองถิ่นปกธงชัยและการจัดเวทีชาวบานไดขอสรุปวาคนในชุมชนมีความตองการ
ทจ่ี ะสืบทอดส่ิงดี ๆ ซง่ึ เปน อตั ลักษณเฉพาะถิ่นของอําเภอปกธงชัย ใหคงไวสูคนรุนหลังใหไดเรียนรูและสรางอาชีพให
เกิดขึ้นกับคนในชุมชนปกธงชัยอยางมั่นคงและย่ังยืน ซ่ึงเปนเรื่องที่เกี่ยวกับคําขวัญของอําเภอปกธงชัยที่ไดผานการ
ยอมรบั จากประชาชนในอําเภอปกธงชัยแลว น่ันคือ “ลําพระเพลิงนํ้าใส ผาไหมเน้ืองาม ขาวหลามนกออก ถ่ัวงอก
วังหมี หม่ีตะคุ” จากคําขวัญดังกลาว กศน. อําเภอปกธงชัยโดยการมีสวนรวมของประชารัฐ ภูมิปญญาและปราชญ
ชาวบานไดรวมกันพัฒนาหลักสูตรเพื่อการนี้ข้ึน จํานวน ๕ หลักสูตร คือ ๑) ตามรอยพอวิถีชีวิตลุมนํ้าลําพระเพลิง
๒) การประดิษฐของที่ระลึกจากผาไหมปกธงชัย ๓) การทําขาวหลามนกออก ๔) การเพาะและดองถั่วงอกวังหมี
๕) การทาํ หมี่ตะคปุ ก ธงชัยเพื่อสืบทอดภมู ปิ ญญาของบรรพบุรุษอําเภอปกธงชัยใหคงอยูสืบไปรวมท้ังใชเปนกรอบและ
แนวทางในการจัดการเรียนรูใหประชาชนท่ีมีความสนใจไดเรียนรูเห็นชองทางในการประกอบอาชีพและมีสวนรวมใน
การพัฒนาสังคมและชุมชนสืบไปครู กศน. อําเภอปกธงชัย ไดนําหลักสูตรดังกลาวไปใชในการจัดการเรียนรูใหกับ
ประชาชนในชุมชนทองถิ่นอําเภอปกธงชัย จากการนิเทศ ติดตามการจัดการเรียนรูพบวา วิทยากรสอนเนื้อหาดวย
การบอก อธิบาย และใหทําตาม โดยไมมีใบความรู ใบงาน และส่ือประกอบการเรียนรู ครู กศน. อําเภอปกธงชัย
ที่เปนผูชวยวิทยากรขาดความมั่นใจในการจัดการเรียนรู และตองการคูมือเพ่ือใชเปนแนวทางในการจัดการเรียนรู
ผบู รหิ ารจึงไดจ ัดทาํ คูมอื การจัดการเรยี นรหู ลกั สูตรทอ งถนิ่ ปกธงชัยขึ้น

ศนู ยการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อําเภอปกธงชัยขอขอบคณุ ผมู สี วน
เกีย่ วของทุกทา นในการจัดทําหลักสูตรทองถ่นิ ปกธงชัย จนสาํ เรจ็ ลลุ วงไปดว ยดแี ละหวงั เปน อยางย่งิ หลกั สูตรดังกลา ว
คงเปนประโยชนกับผูที่มีความสนใจและนําไปใช

(นายบุญยง ครูศรี)
ผอู าํ นวยการศนู ยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อําเภอปกธงชัย

สารบญั หนา

คาํ นาํ ก
กรอบหลกั สูตรการทาํ หมี่ตะคุปกธงชยั ๑
ความเปนมา ๒
จดุ มุง หมาย ๒
วัตถปุ ระสงค ๓
กลุมเปา หมาย ๓
ระยะเวลาเรยี น ๓
โครงสรางเน้อื หาของหลกั สูตร ๓
รายละเอียดโครงสรา งเนือ้ หาของหลกั สูตร ๔
เนื้อหาของหลักสูตร ๖
แหลงการเรียนรแู ละสื่อประกอบการเรียน ๖
การวัดผลและประเมนิ ผลการเรยี น ๖
การจบหลกั สูตร ๖
เอกสารหลักฐานการศึกษา ๗
การเทยี บโอน ๗



กรอบหลักสูตรการทําหม่ีตะคปุ ก ธงชัย

บทท่ี ๔ บทที่ ๑
การบรหิ ารจัดการอาชพี จาํ หนา ยหม่ตี ะคปุ กธงชัย หมต่ี ะคุปกธงชัย (๕ ชั่วโมง)
เรอื่ งที่ ๑ ความเปน มาของหม่ีตะคุปกธงชยั
(๑๒ ชั่วโมง) เร่อื งท่ี ๒ คณุ คา ทางโภชนาการของหมีต่ ะคุ
เรอ่ื งที่ ๑ ชอ งทางการจัดจําหนา ยหม่ีตะคุปก ธงชยั
เรื่องท่ี ๒ การกําหนดราคาจําหนา ยหมี่ตะคุปก ปกธงชยั
ธงชัย เรื่องที่ ๓ แหลงเรยี นรู ภูมิปญ ญาและ
เร่ืองที่ ๓ การทําบัญชรี ายรบั รายจา ย
เรอื่ งที่ ๔ คุณธรรม จรยิ ธรรม การประกอบอาชพี ปราชญช าวบานของหมต่ี ะคุปกธงชยั
จาํ หนายหมี่ตะคปุ ก ธงชยั

การทําหม่ีตะคปุ กธงชยั

บทท่ี ๓ บทที่ ๒
การทาํ น้ําปรงุ หมี่ตะคุปกธงชัย (๑๕ ช่ัวโมง) การทาํ เสนหมต่ี ะคปุ กธงชยั (๑๘ ช่ัวโมง)
เรอื่ งที่ ๑ การทํานาํ้ ปรุงหมี่ตะคุปกธงชัย รสดัง้ เดิม เรอื่ งที่ ๑ วสั ดอุ ุปกรณและสวนผสมในการ
๑.๑ สว นผสมการทํานา้ํ ปรงุ หม่ีตะคุปกธงชัยรสดั้งเดิม
๑.๒ ขั้นตอนการทํานา้ํ ปรงุ หมีต่ ะคุปกธงชัยรสดง้ั เดิม ทําเสน หมต่ี ะคปุ กธงชยั
๑.๓ การบรรจุเพอ่ื การจาํ หนา ยและเกบ็ รักษา เรื่องที่ ๒ ข้นั ตอนการทําเสนหม่ีตะคปุ กธงชยั
เรือ่ งที่ ๒ การทาํ นาํ้ ปรุงหมี่ตะคปุ กธงชยั รสจดั จา น เรอื่ งที่ ๓ การเพม่ิ คุณคาทางโภชนาการ
๒.๑ สว นผสมการทํานา้ํ ปรุงหม่ีตะคปุ กธงชยั รสจดั จา น
๒.๒ ข้ันตอนการทาํ นาํ้ ปรงุ หมีต่ ะคปุ กธงชัยรสจัดจาน ของหมต่ี ะคปุ กธงชัย
๒.๓ การบรรจุเพ่อื การจาํ หนา ยและเก็บรักษา ๓.๑ การทําเสนหมต่ี ะคุปกธงชยั ดอกอัญชัน
๓.๒ การทาํ เสนหมีต่ ะคุปกธงชัยคะนา
๓.๓ การทําเสน หมีต่ ะคุปก ธงชยั ฟก ทอง
๓.๔ การทาํ เสน หมีต่ ะคุปกธงชัยมะเขือเทศ



หลกั สตู รทองถนิ่ ปก ธงชัย : การทาํ หม่ีตะคปุ ก ธงชยั

ความเปนมา
“ตะคุ” เปนตําบลหนึ่ง ในอําเภอปกธงชัย จังหวัดนครราชสีมา ชาวบานตะคุสวนใหญ

ประกอบอาชีพทาํ นาเปนอาชพี หลัก และผลผลติ ขา วที่ไดจ ากการทํานาชาวบา นตะคไุ ดนํามาบริโภคในครัวเรือน
และนําไปจําหนา ยเพอื่ เปนรายได ชาวบา นตาํ บลตะคุไดค ิดคนนาํ ขาวสารมาแปรรูปทําเปนเสนหมี่ตะคุซ่ึงถือวา
เปนภูมิปญญาในการถนอมอาหารของคนสมัยกอน เสนหม่ีตะคุสามารถนํามาใชในประกอบอาหารได
หลากหลายชนิด และยังนําไปขายเพ่ิมรายไดใหครอบครัวไดอีกดวย ชาวบานตะคุไดเรียนรูการทําเสนหมี่
จากรนุ สูรุน นับไดถงึ ๓ ชัว่ อายคุ น หรือ ๑๓๐ กวา ป

หมี่ตะคุ เปนอาหารพื้นบานซึ่งแปรรูปมาจากขาวสาร เสนหมี่ตะคุ มีลักษณะคลาย
เสน กวยเต๋ียว แตเ สน บางกวา และมลี กั ษณะพเิ ศษคือ เสนเหนยี ว นุม เสนสวย เปนที่นยิ มบริโภคของชาวโคราช
เสนหมโ่ี คราชทม่ี คี ุณภาพดคี ือ เสนหมี่โคราชที่ผลิตท่ีตําบลตะคุ อําเภอปกธงชัย จังหวัดนครราชสีมา จึงไดมี
การเรียกชื่อเสนหมี่ตามแหลงผลิตวา “หม่ีตะคุ” การผลิตเสนหม่ีตะคุ แตเดิมจะทํากันในครัวเรือน ตอมา
เสนหมี่ตะคุไดร บั การยอมรับจากผบู รโิ ภคในการรับประทานในครัวเรือน รบั ประทานในงานมงคล พิธีการตาง ๆ
เพ่ิมมากข้ึน นอกจากนี้ตลาดยังมีความตองการเพิ่มข้ึนดวย จึงมีการพัฒนาการผลิตเสนหม่ีตะคุดวยระบบ
โรงงานอตุ สาหกรรมเพอ่ื ใหเ พยี งพอตอความตองการของตลาด แตก็ยังมีการผลิตเปนอุตสาหกรรมในครัวเรือน
อยูบางแตเปนสวนนอย เพื่อเปนการเพิ่มความสะดวกในการบริโภคผัดหมี่ตะคุ กลุมผูผลิตเสนหม่ีตะคุจึงได
คิดคนการทํานํ้าปรุงหม่ีสําเร็จรูปและสะดวกเพ่ือท่ีจะซื้อเปนของฝากที่รสด้ังเดิมเหมือนตนตําหรับ
และในปจจบุ นั ยังสามารถสง ไปจําหนา ยยังตา งประเทศไดอกี ดว ย เปน การสรา งรายไดใ หกบั ชาวบา นตําบลตะคุ

ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอปกธงชัย ไดทําการสํารวจชุมชน
และจัดเวทีชาวบาน ไดขอสรุปวาคนในชุมชนมีความตองการท่ีจะสืบทอดการทําหม่ีตะคุปกธงชัย ซึ่งเปน
อัตลักษณเฉพาะถ่ินใหคงไว และตองการสืบทอดสูคนรุนหลังใหไดเรียนรูและสรางอาชีพใหเกิดข้ึนกับคน
ในชุมชนอีกท้ัง “หม่ีตะคุ” เปนสวนหนึ่งของคําขวัญอําเภอปกธงชัยที่ไดผานการยอมรับจากประชาชนใน
อําเภอปกธงชัย จึงไดจัดทําหลักสูตร “การทําหมี่ตะคุปกธงชัย” ขึ้น เพ่ือเปนชองทางในการประกอบอาชีพ
และอนรุ ักษ สืบทอดภูมิปญ ญาการทาํ หมตี่ ะคุปก ธงชยั ของตาํ บลตะคุใหค งอยตู อ ไป
จุดมุงหมาย

เปนหลักสูตรที่มุงเนนใหผูเรียน เรียนรูโดยการปฏิบัติจริงในการทําหม่ีตะคุปกธงชัย
โดยยึดหลักความสอดคลองกับศักยภาพและความพรอมของผูเรียน โดยบูรณาการหลักปรัชญาคิดเปนและ
หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงไวในกระบวนการเรยี นรู
วตั ถปุ ระสงค

๑. ผูเรียนมคี วามรู ความเขา ใจ สามารถทาํ หมี่ตะคปุ กธงชยั ได และเกดิ เจตคติที่ดีในการ
ประกอบอาชีพ

๒. ผเู รยี นสามารถนําความรไู ปใชใ นชีวติ ประจาํ วันและเปน ชองทางในการประกอบอาชีพ
๓. เพื่อสงเสริม อนุรักษสืบทอดขนมธรรมเนียมประเพณี การทาํ หมี่ตะคุปกธงชยั ใหคงอยูส ืบไป



กลุมเปา หมาย
ประชาชนตําบลตะคุ อาํ เภอปก ธงชยั และประชาชนทว่ั ไปท่สี นใจ

ระยะเวลาเรยี น
หลักสูตรหมี่ตะคปุ กธงชัยใชเ วลาเรยี นทงั้ หมด ๕๐ ชวั่ โมง
ภาคทฤษฎี ๑๑ ชัว่ โมง
ภาคปฏิบัติ ๓๙ ชั่วโมง

โครงสรางเน้ือหาหลกั สตู ร ประกอบดว ยเนอื้ หา ๔ เรื่อง ดงั นี้
บทท่ี ๑ หม่ตี ะคุปกธงชยั (จาํ นวน ๕ ช่วั โมง)
เรอื่ งท่ี ๑ ความเปน มาของหม่ีตะคุปก ธงชยั
เร่อื งท่ี ๒ คณุ คาทางโภชนาการของหม่ีตะคุปกธงชยั
เรอื่ งที่ ๓ แหลงเรียนรู ภมู ปิ ญ ญาและปราชญช าวบานของหม่ีตะคปุ กธงชัย
บทที่ ๒ การทําเสนหม่ตี ะคุปกธงชยั (จํานวน ๑๘ ช่ัวโมง)
เรอื่ งท่ี ๑ วัสดอุ ปุ กรณและสวนผสมในการทําเสนหมี่ตะคุปก ธงชยั
เรอ่ื งที่ ๒ ข้นั ตอนการทําเสนหม่ีตะคปุ กธงชยั
เรอื่ งท่ี ๓ การเพมิ่ คุณคาทางโภชนาการของหมต่ี ะคุปกธงชัย
๓.๑ การทาํ เสน หม่ตี ะคุปกธงชยั ดอกอัญชนั
๓.๒ การทําเสน หมี่ตะคุปกธงชัยคะนา
๓.๓ การทําเสนหม่ีตะคุปก ธงชยั ฟก ทอง
๓.๔ การทําเสน หมตี่ ะคุปกธงชยั มะเขือเทศ
บทที่ ๓ การทาํ น้าํ ปรุงหมีต่ ะคปุ กธงชยั (จํานวน ๑๕ ชวั่ โมง)
เรือ่ งที่ ๑ การทํานา้ํ ปรุงหม่ีตะคปุ กธงชยั รสดัง้ เดมิ
๑.๑ สว นผสมการทาํ นํ้าปรุงหมต่ี ะคุปก ธงชัยรสดัง้ เดมิ
๑.๒ ข้ันตอนการทํานํา้ ปรุงหมี่ตะคปุ กธงชัยรสด้งั เดมิ
๑.๓ การบรรจเุ พอ่ื การจําหนายและเกบ็ รักษา
เร่อื งท่ี ๒ การทาํ น้ําปรุงหม่ีตะคุปกธงชัย รสจดั จาน
๒.๑ สวนผสมการทาํ นํา้ ปรงุ หมตี่ ะคุ ปกธงชยั รสจัดจา น
๒.๒ ข้ันตอนการทาํ นา้ํ ปรุงหม่ีตะคุปกธงชัย รสจัดจา น
๒.๓ การบรรจเุ พอ่ื การจาํ หนายและเกบ็ รักษา
บทท่ี ๔ การบริหารจดั การอาชีพจําหนา ยหมตี่ ะคปุ ก ธงชยั (จาํ นวน ๑๒ ชว่ั โมง)
เร่อื งที่ ๑ ชองทางการจัดจาํ หนา ยหม่ีตะคุปกธงชยั
เรอ่ื งที่ ๒ การกําหนดราคาจําหนายหม่ีตะคุปกธงชยั
เร่อื งท่ี ๓ การทาํ บัญชรี ายรบั รายจา ย
เรอื่ งท่ี ๔ คุณธรรม จรยิ ธรรม การประกอบอาชพี จําหนายหมตี่ ะคปุ กธงชัย



รายละเอยี ดโครงสรา งเนื้อหาของหลักสูตร

ที่ เรื่อง จุดประสงค เน้ือหา การจดั ระบวน จาํ นวนชัว่ โมง
๑ หมต่ี ะคุ การเรยี นรู ๑. ความเปน มาของ การเรยี นรู ทฤษฎี ปฏิบตั ิ
๑. บอกความเปน มา หม่ีตะคปุ กธงชยั ๑. บรรยาย ๒๓
ปก ธงชยั ของหมี่ตะคุปกธงชยั ๒. คุณคา ทาง ๒. ศึกษาจาก
ได โภชนาการของ ใบความรู
๒. อธบิ ายคุณคาทาง หมตี่ ะคุปกธงชัย ๓. ศึกษาจากแหลง
โภชนาการของหม่ี ๓. แหลงเรียนรู เรยี นรู
ตะคุปกธงชัยได ภมู ิปญ ญาและ ๔. แลกเปลี่ยน
๓. ระบแุ หลง เรียนรู ปราชญชาวบานท่ที ํา เรียนรูกับภมู ปิ ญญา
ภมู ปิ ญญาและ เสนหมตี่ ะคุทํามือ และปราชญช าวบาน
ปราชญชาวบา นทที่ ํา ๕. บนั ทึกกิจกรรม
เสน หม่ตี ะคุทาํ มือได การเรียนรู

๒ การทาํ เสนหม่ี ๑. บอกวสั ดอุ ปุ กรณ ๑. วัสดุอปุ กรณและ ๑. อธบิ าย/บรรยาย ๓ ๑๕
ตะคุปกธงชยั และสว นผสมการทาํ สวนผสมการทาํ เสน ๒. สาธติ
เสน หม่ีตะคุปกธงชยั หมตี่ ะคุปกธงชยั ๓. ฝกปฏิบตั จิ รงิ
ได ๔. ศึกษาจากใบ
๒. ทําเสน หม่ีตะคุ ความรู
ปกธงชัยได ๒. ขั้นตอนการทาํ ๕. บนั ทึกการ
๓. อธบิ ายการเพิม่ เสน หมต่ี ะคุปกธงชยั เรียนรู
มลู คาหมีต่ ะคุปก ๒.๑ การเลอื กและ ๖. แลกเปล่ียนรูกบั
ธงชยั ได แชข า วจา ว ภมู ิปญญา
๒.๒ การโมแ ปง ๗. ศึกษาจากแหลง
๒.๓ การนง่ึ แปง เรียนรู
๒.๔ การตากแผน แปง ๘. ศกึ ษาดวย
๒.๕ การซอยเสนหม่ี ตนเองจาก
๒.๖ การบรรจุและ อินเตอรเน็ต /ซีดี
เก็บรักษา
๓. การเพมิ่ มูลคา
หม่ีตะคุปกธงชยั
๓.๑ การทาํ เสนหมี่
ตะคุปกธงชัย
ดอกอญั ชนั

ท่ี เร่ือง จดุ ประสงค ๕ การจัดระบวน จาํ นวนชั่วโมง
การเรียนรู เน้ือหา การเรยี นรู ทฤษฎี ปฏบิ ัติ
๓.๒ การทาํ เสน หมี่
ตะคุปกธงชัยคะนา
๓.๓ การทาํ เสน หม่ี
ตะคปุ กธงชัยฟกทอง
๓.๔ การทาํ เสนหม่ี
ตะคุปกธงชยั
มะเขือเทศ

๓ การทาํ น้ําปรงุ ๑. ทํานํ้าปรงุ หมต่ี ะคุ ๑. การทาํ นา้ํ ปรุง ๑. อธบิ าย/บรรยาย ๓ ๑๒
หมี่ตะคปุ กธงชัย ปกธงชัย รสดั้งเดมิ ได หม่ีตะคุปก ธงชยั ๒. สาธิต
๓. ฝกปฏิบัตจิ รงิ
รสดัง้ เดิม ๔. ศึกษาจาก
๑.๑ วสั ดอุ ปุ กรณ ใบความรู
และสว นผสมการทํา ๕. บนั ทึกการ
นํา้ ปรุงหมีต่ ะคุ
ปกธงชยั รสดงั้ เดมิ เรยี นรู
๑.๒ ขั้นตอนการทํา ๖. แลกเปล่ยี นรู
น้าํ ปรุงหม่ีตะคุ กับภมู ิปญ ญา
ปกธงชัยรสดัง้ เดมิ ๗. ศกึ ษาจากแหลง
๑.๓ การบรรจุเพอื่ เรยี นรู
การจําหนา ยและการ ๘. ศึกษาดว ยตนเอง
เก็บรักษา จากอินเตอรเ นต็ /
๒. ทาํ น้ําปรุงหมตี่ ะคุ ๒. การทํานาํ้ ปรุง ซีดี
ปกธงชยั รสจดั จา น หม่ีตะคุปกธงชัย
ได รสจัดจา น
๒.๑ วสั ดุอุปกรณ
และสวนผสมการทาํ
น้าํ ปรุงหม่ตี ะคุ
ปกธงชยั รสจดั จา น
๒.๒ ขน้ั ตอนการทาํ
นํ้าปรงุ หมต่ี ะคุ
ปก ธงชยั รสจดั จาน
๒.๓ การบรรจุเพือ่
การจาํ หนายและเกบ็
รกั ษา



ท่ี เรอ่ื ง จดุ ประสงค เนื้อหา การจดั ระบวน จาํ นวนชวั่ โมง
การเรยี นรู ๑. ชอ งทางการจดั การเรียนรู ทฤษฎี ปฏิบัติ
๔ การบริหาร ๑. ระบชุ องทางการ จาํ หนายหมต่ี ะคุ
จดั การอาชีพ จัดจาํ หนา ยหมี่ ปก ธงชัย ๑. อธบิ าย/บรรยาย ๓ ๙
จาํ หนา ยหม่ี ตะคุปกธงชยั ได ๒. การกาํ หนดราคา ๒. ฝกปฏิบัติจรงิ
ตะคุปกธงชยั ๒. กาํ หนดราคา จาํ หนา ยหม่ตี ะคุ ๓. ศึกษาจากใบ
จาํ หนา ยหม่ี ปกธงชยั ความรู
ตะคปุ กธงชัยได ๓. การทําบญั ชี ๔. แลกเปลย่ี นรู
๓. ทาํ บญั ชีรายรบั รายรบั รายจา ย กบั ภูมปิ ญญา
รายจายได ๔. คุณธรรม ๕. ศกึ ษาจากแหลง
๔. บอกคุณธรรม จริยธรรม เรยี นรู
จริยธรรมการ การประกอบอาชีพ ๖. บันทกึ การเรียนรู
ประกอบอาชีพ จําหนายหม่ตี ะคุ
จาํ หนาย ปก ธงชยั
หมี่ตะคุปกธงชยั ได

เน้อื หาหลักสูตร
ประกอบดว ยเน้อื หา ๔ เรือ่ ง ดงั น้ี
๑. หมีต่ ะคุปก ธงชยั
๒. การทําเสนหมตี่ ะคปุ กธงชยั
๓. การทํานาํ้ ปรุงหมี่ตะคุปกธงชัย
๔. การบรหิ ารจดั การอาชีพจําหนา ยหมตี่ ะคปุ กธงชยั

แหลง การเรยี นรูแ ละสอ่ื ประกอบการเรียน
๑. ใบความรู /ใบงาน
๒. ส่อื อเิ ล็กทรอนิกสแ ละ Internet เกีย่ วกับการทําหมตี่ ะคุปก ธงชัย
๓. แหลงเรียนรู หมูบานที่ทําหม่ีตะคุปกธงชัย ที่ นางสายฝน สีดาจันทร บานตะคุไทย

ตําบลตะคุ อําเภอปก ธงชยั จังหวดั นครราชสีมา
๔. สถานประกอบหมี่แมสําเภาทอง นางอุบล วงศอินทร บานหัน ตําบลตะคุ อําเภอปกธงชัย

จังหวัดนครราชสีมา

การวัดผลประเมินผลการเรยี น
๑. การสงั เกตพฤติกรรมการเรยี นร/ู การมีสว นรว ม
๒. ประเมินผลงานการปฏบิ ัติจรงิ

การจบหลกั สูตร
๑. ตองมเี วลาเรยี นและฝกปฏิบัตไิ มนอยกวารอยละ ๘๐
๒. มผี ลการประเมนิ ผานตลอดหลักสูตรไมน อยกวารอยละ ๖๐
๓. มีผลงานทไี่ ดม าตรฐานตามหลกั สตู ร


เอกสารหลกั ฐานการศกึ ษา

๑. หลกั ฐานการประเมิน
๒. ทะเบียนคมุ วฒุ บิ ัตร
๓. วฒุ บิ ัตร ออกโดยสถานศกึ ษา
การเทยี บโอน
ผูเ รียนท่จี บหลักสตู รการศกึ ษาตอเน่ืองน้ีแลว สามารถนําผลการเรยี นมาเทยี บโอนกับหลักสูตร
การศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ ในสาระการประกอบอาชีพ วิชาเลือกเสรี
ทีส่ ถานศกึ ษาไดจ ัดทาํ ขนึ้ ในระดับใดระดับหนึง่ ได ๑ หนว ยกิต ( จาํ นวน ๔๐ ชั่วโมง )


Click to View FlipBook Version