หลกั สูตรทองถ่ินปก ธงชัย
การทาํ ขา วหลามนกออก
ศูนยก ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอําเภอปกธงชยั
สํานกั งานสงเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยจังหวัดนครราชสมี า
สาํ นักงานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
ก
คํานาํ
หลักสูตรทองถ่ินปกธงชัย โดยการมีสวนรวมของประชารัฐนําสูผูเรียนสรางคน ชุมชนเขมแข็ง
ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอปกธงชัย (กศน. อําเภอปกธงชัย) จังหวัดนครราชสีมา
ไดพัฒนาข้ึนจากการสํารวจชุมชนทองถิ่นปกธงชัยและการจัดเวทีชาวบานไดขอสรุปวาคนในชุมชนมีความตองการ
ทจ่ี ะสืบทอดส่ิงดี ๆ ซง่ึ เปน อตั ลกั ษณเฉพาะถิ่นของอําเภอปกธงชัย ใหคงไวสูคนรุนหลังใหไดเรียนรูและสรางอาชีพให
เกิดขึ้นกับคนในชุมชนปกธงชัยอยางมั่นคงและยั่งยืน ซ่ึงเปนเรื่องที่เกี่ยวกับคําขวัญของอําเภอปกธงชัยท่ีไดผานการ
ยอมรบั จากประชาชนในอําเภอปกธงชัยแลว น่ันคือ “ลําพระเพลิงนํ้าใส ผาไหมเน้ืองาม ขาวหลามนกออก ถ่ัวงอก
วงั หมี หม่ีตะคุ” จากคําขวัญดังกลาว กศน. อําเภอปกธงชัยโดยการมีสวนรวมของประชารัฐ ภูมิปญญาและปราชญ
ชาวบานไดรวมกันพัฒนาหลักสูตรเพื่อการนี้ข้ึน จํานวน ๕ หลักสูตร คือ ๑) ตามรอยพอวิถีชีวิตลุมนํ้าลําพระเพลิง
๒) การประดิษฐของที่ระลึกจากผาไหมปกธงชัย ๓) การทําขาวหลามนกออก ๔) การเพาะและดองถั่วงอกวังหมี
๕) การทาํ หมี่ตะคปุ ก ธงชัยเพื่อสืบทอดภมู ปิ ญญาของบรรพบุรุษอําเภอปกธงชัยใหคงอยูสืบไปรวมทั้งใชเปนกรอบและ
แนวทางในการจัดการเรียนรูใหประชาชนท่ีมีความสนใจไดเรียนรูเห็นชองทางในการประกอบอาชีพและมีสวนรวมใน
การพัฒนาสังคมและชุมชนสืบไปครู กศน. อําเภอปกธงชัย ไดนําหลักสูตรดังกลาวไปใชในการจัดการเรียนรูใหกับ
ประชาชนในชุมชนทองถิ่นอําเภอปกธงชัย จากการนิเทศ ติดตามการจัดการเรียนรูพบวา วิทยากรสอนเนื้อหาดวย
การบอก อธิบาย และใหทําตาม โดยไมมีใบความรู ใบงาน และส่ือประกอบการเรียนรู ครู กศน. อําเภอปกธงชัย
ที่เปนผูชวยวิทยากรขาดความมั่นใจในการจัดการเรียนรู และตองการคูมือเพ่ือใชเปนแนวทางในการจัดการเรียนรู
ผบู รหิ ารจึงไดจ ัดทําคูมอื การจัดการเรยี นรหู ลกั สูตรทองถนิ่ ปกธงชัยขึ้น
ศนู ยการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อําเภอปกธงชัยขอขอบคณุ ผูม ีสว น
เกีย่ วของทุกทา นในการจัดทําหลักสูตรทองถ่นิ ปก ธงชัย จนสาํ เรจ็ ลลุ วงไปดว ยดแี ละหวงั เปน อยา งย่ิงหลกั สูตรดังกลา ว
คงเปนประโยชนกับผูที่มีความสนใจและนําไปใช
(นายบุญยง ครศู รี)
ผอู าํ นวยการศนู ยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาํ เภอปกธงชัย
สารบญั หนา
คํานาํ ก
กรอบหลักสตู รการทาํ ขาวหลามนกออก ๑
ความเปน มา ๒
จดุ มุงหมาย ๒
วตั ถุประสงค ๒
กลมุ เปา หมาย ๓
ระยะเวลาเรยี น ๓
โครงสรางเนอื้ หาของหลักสูตร ๓
รายละเอียดโครงสรา งเน้ือหาของหลกั สตู ร ๔
เน้ือหาของหลักสตู ร ๕
แหลง การเรยี นรแู ละส่ือประกอบการเรยี น ๕
การวดั ผลและประเมนิ ผลการเรยี น ๖
การจบหลักสตู ร ๖
เอกสารหลักฐานการศึกษา ๖
การเทยี บโอน ๖
๑
กรอบหลักสูตรการทาํ ขา วหลามนกออก
บทที่ ๑
ขาวหลามนกออก (๑๕ ช่ัวโมง)
เรือ่ งที่ ๑ ความเปนมาของการทาํ ขาวหลามนกออก
เรื่องท่ี ๒ การคดั เลือกวตั ถุดบิ การทาํ ขาวหลามนกออก
การทําขาวหลามนกออก บทที่ ๒
การทาํ ขา วหลามนกออก (๓๕ ชัว่ โมง)
เรอ่ื งท่ี ๑ วสั ดอุ ุปกรณและสว นผสมการทาํ ขาวหลาม
นกออก
เรอ่ื งท่ี ๒ การเตรยี มวัสดุในการทาํ ขา วหลามนกออก
เรอ่ื งท่ี ๓ การเผาขา หลามนกออก
เรอ่ื งท่ี ๔ การเก็บรกั ษาขาวหลามนกออก
บทที่ ๓
การบริหารจัดการอาชพี จําหนายขา วหลามนกออก
( ๑๐ ช่ัวโมง)
เร่ืองที่ ๑ ชอ งทางการจัดจาํ หนา ยขาวหลามนกออก
เรอ่ื งท่ี ๒ การกําหนดราคาจําหนา ยขา วหลามนกออก
เร่ืองที่ ๓ การทําบญั ชีรายรับ-รายจาย
เร่ืองที่ ๔ คณุ ธรรม-จรยิ ธรรมในการประกอบอาชีพ
การทําขาวหลามนกออก
๒
หลกั สูตรทอ งถ่นิ ปก ธงชัย : การทาํ ขาวหลามนกออก
ความเปน มา
ประชาชนในตําบลนกออก ทําอาชีพเกษตรกรรมเปนอาชีพหลัก ทํานา ทําสวน ทําไร การทํานา
ปลูกขาวจาวและขาวเหนียว ขาวจาวปลูกไวเพื่อจําหนาย สวนขาวเหนียวปลูกไวเพ่ือทําขนมและอาหารวาง
ในงานบุญ งานประเพณีตามวาระและโอกาสตาง ๆ อาหารวางชนิดหน่ึงท่ีบานนกออกนิยมทําคือ ขาวหลาม
ขาวหลามเปนอาหารพ้ืนบานชนิดหนึ่งที่รับประทานเปนอาหารวาง หรืออาหารหลักในบางมื้อก็ได เพราะทํา
จากขาวเหนียว ชาวบานจะนิยมทําขาวหลามหลังฤดูเก็บเก่ียวขาวใหมหรือชวงเวลาวางจากการทํานา ทําสวน
เพื่อรับประทานภายในครอบครัวหรือนําไปฝากญาติมิตร ซ่ึงวัตถุดิบในการทําสามารถหาไดจากทองถ่ิน ไดแก
ขา วเหนยี ว มะพรา ว ไมไผ และถว่ั ตาง ๆ ขาวหลามนกออกมีชื่อเสียงดานรสชาติอรอย จึงมีการนําขาวหลาม
นกออกมาวางจําหนายตามทองตลาดและตามงานเทศกาล ซึ่งมีผูนิยมซ้ือไปรับประทานและเปนของฝาก
ทําใหชาวบานสวนหน่ึงเผาขาวหลามขายเปนอาชีพเสริมเพิ่มรายไดใหแกครอบครัว อีกทั้งยังเปนการดํารงและ
สืบทอดอาชีพดั้งเดิมของคนในชุมชน และยังเปนการถายทอดความรูเรื่องการทําขาวหลามนกออกใหคงอยู
สืบไป
ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอปกธงชัย ไดทําการสํารวจชุมชน
และจดั เวทชี าวบาน ไดข อ สรุปวาคนในชมุ ชน มคี วามตองการทจี่ ะสืบทอดการทําขาวหลามนกออก ซึ่งถือเปน
อัตลักษณเฉพาะถิ่นใหคงไวและตองการสืบทอดสูคนรุนหลังใหไดเรียนรูและสรางอาชีพใหเกิดขึ้นกับคนใน
ชมุ ชน เน่อื งจากขาวหลามนกออกเกิดจากภูมิปญญาของชาวบานนกออก ซึ่งมีข้ันตอน กรรมวิธีตามแบบฉบับ
ของชาวบาน ทําใหไดรสชาติและความอรอยท่ีไมเหมือนใคร อีกทั้ง “ขาวหลามนกออก” เปนสวนหน่ึงของ
คาํ ขวัญอําเภอปก ธงชยั ทไี่ ดผ านการยอมรบั จากประชาชนในอําเภอปกธงชัย จึงไดจัดทําหลักสูตร “การทําขาว
หลามนกออก” ข้ึน เพื่อเปนชองทางในการประกอบอาชีพ และอนุรักษ สืบทอดภูมิปญญาการทําขาวหลาม
นกออกของคนในตาํ บลนกออกใหค งอยูตอ ไป
จดุ มงุ หมาย
เปนหลักสูตรท่ีมุงเนนใหผูเรียน เรียนรูดวยการปฏิบัติจริงในการการทําขาวหลามนกออก
โดยยึดหลักความสอดคลองกับศักยภาพ ความพรอม และความหลากหลายตามความแตกตางของผูเรียน
โดยบรู ณาการหลกั ปรัชญาคดิ เปน และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งไวในกระบวนการเรยี นรู
วัตถปุ ระสงค
เพ่ือใหผูเรียนมีความรู ความเขาใจ เกิดทักษะในการทําขาวหลามนกออก มีเจตคติที่ดีตอ
การประกอบอาชีพ สามารถนําความรูที่ไดรับไปใชในชีวิตประจําวันและใชเปนชองทางในการประกอบอาชีพ
ได ตลอดจนอนุรักษ สบื ทอดภูมปิ ญ ญาการทําขาวหลามนกออกของคนในตําบลนกออกใหคงอยตู อไป
๓
กล่มุ เป้ าหมาย
ประชาชนตําบลนกออก อาํ เภอปกธงชยั และประชาชนทั่วไปทีส่ นใจ
ระยะเวลาเรยี น
ระยะเวลาเรียนทัง้ หมด ๖๐ ชั่วโมง
-ภาคทฤษฎี จาํ นวน ๑๗ ชวั่ โมง
-ภาคปฏิบัติ จํานวน ๔๓ ชวั่ โมง
โครงสรางเนื้อหาของหลกั สูตร ประกอบดว ยเนื้อหา ๓ เร่ือง ดงั น้ี
บทที่ ๑ ขาวหลามนกออก (จํานวน ๑๕ ชว่ั โมง)
เรอ่ื งท่ี ๑ ความเปน มาของการทําขา วหลามนกออก
เรือ่ งที่ ๒ การคดั เลือกวัตถดุ ิบในการทาํ ขา วหลามนกออก
-การคัดเลือกไมไ ผ
-การคดั เลือกขา วเหนยี วขาว ขาวเหนียวดาํ
-การคดั เลอื กถัว่
-การคดั เลือกมะพรา ว
บทท่ี ๒ การทาํ ขาวหลามนกออก (จาํ นวน ๓๕ ชว่ั โมง)
เร่ืองท่ี ๑ วสั ดอุ ปุ กรณและสวนผสมการทําขา วหลามนกออก
-วัสดุอุปกรณ
-สวนผสม
เร่อื งที่ ๒ การเตรียมวัสดุสําหรบั การทาํ ขาวหลามนกออก
-การแชขา ว
-การแชถ ่ัว
-การเตรยี มกะทิ
-การคลกุ เคลา สวนผสม
เรอ่ื งท่ี ๓ การเผาขา วหลามนกออก
-การบรรจุสว นผสมของขา วหลามนกออกในกระบอกไมไผ
-การเผาขา วหลามนกออก
เรอ่ื งท่ี ๔ การเก็บรักษาขาวหลามนกออก
-เพ่ือบริโภคและเพือ่ จําหนา ย
บทท่ี ๓ การบรหิ ารจัดการอาชีพจําหนา ยขาวหลามนกออก (จํานวน ๑๐ ชวั่ โมง)
เรอื่ งที่ ๑ ชอ งทางการจัดจําหนายขาวหลามนกออก
เรื่องท่ี ๒ การกาํ หนดราคาจําหนา ยขาวหลามนกออก
เรอ่ื งท่ี ๓ การทําบัญชีรายรับ-รายจาย
เรอื่ งที่ ๔ คณุ ธรรม จริยธรรม ในการประกอบอาชพี การทาํ ขา วหลามนกออก
๔
รายละเอียดโครงสรางเนอื้ หาของหลักสตู ร
ท่ี เร่อื ง จุดประสงคก าร เนอื้ หา การจัดกระบวนการ จํานวนชัว่ โมง
เรียนรู เรียนรู ทฤษฎี ปฏิบัติ
๑ ๑. ความเปนมา ๑. อธบิ ายความ ๑. ความเปน มาของ ๑. บรรยาย ๕ ๑๐
ของการทาํ ขา ว เปนมาของขาว ขา วหลามนกออก ๒. สาธิต
หลามนกออก หลามนกออกได ๓. ฝกปฏบิ ัตจิ รงิ
๒. การคดั เลือก ๒. อธิบายการ ๒. การคดั เลอื กวตั ถุดบิ ๔. แลกเปลีย่ นเรยี นรู
วตั ถุดบิ ในการทาํ คดั เลอื กวัตถดุ ิบ การทําขาวหลาม จากภมู ิปญ ญา
ขาวหลามนกออก การทาํ ขาวหลาม นกออก ๕. ศึกษาจากแหลง
-การคัดเลือกไมไผ เรียนรู
นกออกได -การคดั เลือก ๖. ศกึ ษาจาก
ขา วเหนยี วขาว ใบความรูและ
ขาวเหนยี วดํา ทาํ ใบงาน
-การคัดเลือกถั่ว
-การคดั เลือกมะพราว
๒ ๑. วัสดุอุปกรณ ๑. ระบวุ ัสดุ ๑. วัสดอุ ปุ กรณก ารทํา ๑. บรรยาย ๘ ๒๗
และสวนผสม อุปกรณการทาํ ขาวหลามนกออก ๒. สาธติ
การทาํ ขาว ขา วหลามนกออก ๓. ฝก ปฏบิ ตั จิ รงิ
หลามนกออก ได ๔. แลกเปลี่ยนเรยี นรู
๒. บอกสว นผสม ๒. สวนผสมการทําขา ว จากภมู ิปญญา
การทําขาวหลาม หลามนกออก ๕. ศกึ ษาจากแหลง
นกออกได -ขา วเหนยี ว เรยี นรู
-ถว่ั ๖. ศึกษาจาก
-กะทิ ใบความรูและ
๒. การเตรียม ๑. เตรียมวสั ดุ ๑. การเตรยี มวัสดุ ทาํ ใบงาน
วสั ดุสําหรบั ทาํ สําหรับทําขาว สาํ หรับทําขา วหลาม
ขาวหลาม หลามนกออกได นกออกได
-การแชข า ว
-การแชถว่ั
-การเตรยี มกะทิ
-การคลกุ เคลา
สว นผสม
๕
ท่ี เร่ือง จดุ ประสงคก าร เนื้อหา การจัดกระบวนการ จาํ นวนช่ัวโมง
เรียนรู เรียนรู ทฤษฎี ปฏิบตั ิ
๓. การเผาขาว ๑. บรรจสุ วนผสม ๑. การบรรจสุ ว นผสม
หลามนกออก ของขาวหลามนก ของขา วหลามนกออก
นกออก ออกในกระบอก ในกระบอกไมไผ
ไมไ ผไดอ ยางถูกตอง
๒. เผาขา วหลาม ๒. การเผาขา วหลาม
นกออกได นกออก
๔. การเกบ็ -เก็บรกั ษา -การเก็บรกั ษาขาว
รกั ษาขา วหลาม ขาวหลามนกออก หลามนกออก
นกออก เพอื่ บริโภคและ เพื่อบรโิ ภคและเพื่อ
เพ่อื จําหนา ยได จําหนา ยได
๓ ๑. ชองทางการ ๑. ระบชุ อง ๑. ชอ งทางการ ๑. บรรยาย ๔ ๖
จําหนา ยขา ว ทางการจาํ หนาย จาํ หนา ยการทําขา ว ๒. ฝก ปฏบิ ตั จิ ริง
หลามนกออก การทําขาวหลาม หลามนกออก ๓. แลกเปลย่ี นเรียนรู
นกออกได จากภมู ปิ ญญา
๒. กําหนดราคา ๒. การกําหนดราคา ๔. ศกึ ษาจากแหลง
๒. การกําหนด จําหนายการทาํ จําหนายการทําขา ว เรียนรู
ราคาจาํ หนาย ขา วหลามนกออก หลามนกออก ๕. ศึกษาจากใบ
การทาํ ขาว ได ๓. การทาํ บัญชีรายรับ- ความรูและทําใบงาน
หลามนกออก ๓. ทําบัญชรี ายรบั - รายจา ย
๓. การทาํ บญั ชี รายจายได ๔. คณุ ธรรม
รายรับ-รายจา ย ๔. บอกคณุ ธรรม จริยธรรมในการ
๔. คุณธรรม จรยิ ธรรมในการ ประกอบอาชีพ
จริยธรรมในการ ประกอบอาชีพ การจาํ หนายขาวหลาม
ประกอบอาชีพ การจาํ หนา ย นกออก
การทําขาว ขา วหลามนกออก
หลามนกออก ได
เน้อื หาหลกั สตู ร
ประกอบดว ยเนอ้ื หา ๓ เร่ือง ดังน้ี
บทที่ ๑ ขาวหลามนกออก
บทที่ ๒ การทาํ ขา วหลามนกออก
บทที่ ๓ การบรหิ ารจดั การอาชพี จําหนา ยขา วหลามนกออก
แหลง การเรยี นรูและสือ่ ประกอบการเรียน
๑. ส่อื เอกสารประกอบการเรียนรเู รอ่ื ง การทําขาวหลามนกออก
๑.๑ ใบความรู
๑.๒ ใบงาน
๒. แหลง เรียนรู นางสาวจเร พ่งึ ทรัพย บานเลขที่ ๒๘ หมูท่ี ๗ ตาํ บลนกออก อําเภอปก ธงชัย
๓. แหลง เรียนรู นายคาํ มี ธนะบุตร บา นเลขท่ี ๑๑๙ หมูที่ ๓ ตําบลนกออก อาํ เภอปกธงชยั
๖
การวัดผลประเมินผลการเรยี น
๑. ประเมนิ ความรูความสามารถ ทกั ษะ ดว ยการซักถาม ทดสอบและปฏบิ ัตจิ รงิ
๒. ประเมินดา นคุณธรรม ดว ยแบบประเมินคุณธรรม
๓. ประเมนิ ชิน้ งาน ดว ยแบบประเมนิ ผลการปฏบิ ัติงาน
๔. ประเมนิ ความพึงพอใจของผเู รียน ดวยแบบสอบถาม
การจบหลักสูตร
๑. มีเวลาเรยี นและฝก ปฏิบัตติ ามหลักสูตร ไมนอยกวา รอยละ ๘๐
๒. มีผลการประเมินผานตลอดหลกั สูตร ไมนอ ยกวารอ ยละ ๖๐
๓. มีผลงาน(ตามรายวชิ าทีเ่ รยี น/ตามหลักสูตร) ที่ไดม าตรฐาน
เอกสารหลกั ฐานการศึกษา
๑. หลักฐานการประเมินผล
๒. ทะเบียนคุมวฒุ บิ ัตร
๓. วุฒบิ ัตร ออกโดยสถานศกึ ษา
การเทยี บโอน
ผูเรียนที่เรียนจบหลักสูตรนี้แลว สามารถนําผลการเรียนไปเทียบโอนกับหลักสูตรการศึกษา
นอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ในสาระการประกอบอาชีพวิชาเลือกเสรี
ที่สถานศึกษาไดจัดทําข้นึ ในระดับใดระดับหน่งึ ได ๑ หนว ยกติ (๑ หนว ยกติ = ๔๐ ชว่ั โมง)