The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตรการประดิษฐ์ของที่่ระลึกจากผ้าไหม

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by maturada Lapjit, 2019-08-30 02:47:42

หลักสูตรการประดิษฐ์ของที่่ระลึกจากผ้าไหม

หลักสูตรการประดิษฐ์ของที่่ระลึกจากผ้าไหม

หลกั สตู รทอ งถน่ิ ปกธงชัย

การประดษิ ฐของทรี่ ะลกึ จากผาไหมปกธงชยั

ศนู ยก ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาํ เภอปกธงชยั
สํานกั งานสงเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั จังหวดั นครราชสมี า

สํานักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ กระทรวงศกึ ษาธิการ



คํานาํ

หลักสูตรทองถ่ินปกธงชัย โดยการมีสวนรวมของประชารัฐนําสูผูเรียนสรางคน ชุมชนเขมแข็ง
ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอปกธงชัย (กศน. อําเภอปกธงชัย) จังหวัดนครราชสีมา
ไดพัฒนาข้ึนจากการสํารวจชุมชนทองถิ่นปกธงชัยและการจัดเวทีชาวบานไดขอสรุปวาคนในชุมชนมีความตองการ
ทจ่ี ะสืบทอดส่ิงดี ๆ ซง่ึ เปน อตั ลักษณเฉพาะถิ่นของอําเภอปกธงชัย ใหคงไวสูคนรุนหลังใหไดเรียนรูและสรางอาชีพให
เกิดขึ้นกับคนในชุมชนปกธงชัยอยางมั่นคงและย่ังยืน ซ่ึงเปนเรื่องที่เกี่ยวกับคําขวัญของอําเภอปกธงชัยที่ไดผานการ
ยอมรบั จากประชาชนในอําเภอปกธงชัยแลว น่ันคือ “ลําพระเพลิงนํ้าใส ผาไหมเน้ืองาม ขาวหลามนกออก ถ่ัวงอก
วังหมี หม่ีตะคุ” จากคําขวัญดังกลาว กศน. อําเภอปกธงชัยโดยการมีสวนรวมของประชารัฐ ภูมิปญญาและปราชญ
ชาวบานไดรวมกันพัฒนาหลักสูตรเพื่อการนี้ข้ึน จํานวน ๕ หลักสูตร คือ ๑) ตามรอยพอวิถีชีวิตลุมนํ้าลําพระเพลิง
๒) การประดิษฐของที่ระลึกจากผาไหมปกธงชัย ๓) การทําขาวหลามนกออก ๔) การเพาะและดองถั่วงอกวังหมี
๕) การทาํ หมี่ตะคปุ ก ธงชัยเพื่อสืบทอดภมู ปิ ญญาของบรรพบุรุษอําเภอปกธงชัยใหคงอยูสืบไปรวมท้ังใชเปนกรอบและ
แนวทางในการจัดการเรียนรูใหประชาชนท่ีมีความสนใจไดเรียนรูเห็นชองทางในการประกอบอาชีพและมีสวนรวมใน
การพัฒนาสังคมและชุมชนสืบไปครู กศน. อําเภอปกธงชัย ไดนําหลักสูตรดังกลาวไปใชในการจัดการเรียนรูใหกับ
ประชาชนในชุมชนทองถิ่นอําเภอปกธงชัย จากการนิเทศ ติดตามการจัดการเรียนรูพบวา วิทยากรสอนเนื้อหาดวย
การบอก อธิบาย และใหทําตาม โดยไมมีใบความรู ใบงาน และส่ือประกอบการเรียนรู ครู กศน. อําเภอปกธงชัย
ที่เปนผูชวยวิทยากรขาดความมั่นใจในการจัดการเรียนรู และตองการคูมือเพ่ือใชเปนแนวทางในการจัดการเรียนรู
ผบู รหิ ารจึงไดจ ัดทาํ คูมอื การจัดการเรยี นรหู ลกั สูตรทอ งถนิ่ ปกธงชัยขึ้น

ศนู ยการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อําเภอปกธงชัยขอขอบคณุ ผมู สี วน
เกีย่ วของทุกทา นในการจัดทําหลักสูตรทองถ่นิ ปกธงชัย จนสาํ เรจ็ ลลุ วงไปดว ยดแี ละหวงั เปน อยางย่งิ หลกั สูตรดังกลา ว
คงเปนประโยชนกับผูที่มีความสนใจและนําไปใช

(นายบุญยง ครูศรี)
ผอู าํ นวยการศนู ยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อําเภอปกธงชัย

สารบญั หนา

คํานาํ ก
กรอบหลกั สูตรการประดิษฐของท่ีระลกึ จากผาไหมปกธงชัย ๑
ความเปน มา ๒
จุดมุงหมาย ๒
วตั ถุประสงค ๒
กลมุ เปาหมาย ๓
เนื้อหาของหลักสตู ร ๓
ระยะเวลาเรียน ๓
โครงสรา งเนือ้ หาของหลักสตู ร ๓
รายละเอยี ดโครงสรางเน้อื หาของหลักสูตร ๔
แหลงการเรยี นรแู ละสื่อประกอบการเรยี น ๗
การวดั ผลและประเมนิ ผลการเรยี น ๗
การจบหลักสตู ร ๗
เอกสารหลกั ฐานการศึกษา ๗
การเทยี บโอน ๗



กรอบหลกั สตู รการประดษิ ฐข องทีร่ ะลึกจากผาไหมปก ธงชัย

บทที่ ๖ บทที่ ๑ บทท่ี ๒
การบรหิ ารจัดการอาชพี การจาํ หนา ย ผาไหมปก ธงชยั (๕ ชวั่ โมง) การประดษิ ฐของที่ระลกึ จากผา ไหม
เร่ืองท่ี ๑ ความรทู ว่ั ไปเกย่ี วกับผา ไหม
ของทรี่ ะลึกจากผา ไหมปก ธงชัย เรอ่ื งท่ี ๒ ประวัตคิ วามเปนมาของ ปก ธงชัย (๓ ชัว่ โมง)
(๘ ชั่วโมง) ผา ไหมปก ธงชัย เรือ่ งที่ ๑ ความหมายและความสําคญั
เรอื่ งท่ี ๓ ความสําคัญของผา ไหม ของทีร่ ะลกึ
เรอื่ งท่ี ๑ ชองทางการจัดจาํ หนาย ปก ธงชยั เรื่องที่ ๒ วัสดุ,อุปกรณและการเก็บ
เรอื่ งที่ ๒ การกําหนดราคา เรอ่ื งท่ี ๔ ลักษณะเดน ของผา ไหม รักษา
เรื่องที่ ๓ การทาํ บัญชรี ายรบั -รายจาย ปกธงชยั เรอ่ื งท่ี ๓ วธิ ีการเลือกผาไหม
เรอื่ งท่ี ๔ คณุ ธรรม จรยิ ธรรมในการ เรอ่ื งที่ ๕ แหลง เรยี นรูและภมู ปิ ญญา เร่อื งที่ ๔ เทคนคิ และวธิ กี ารประดษิ ฐ
ประกอบอาชีพ ทองถิ่นของผา ไหมปก ธงชยั ของทร่ี ะลึกจากผา ไหมปก ธงชัย

การประดิษฐข องทรี่ ะลกึ จากผาไหมปก ธงชยั

บทที่ ๕ บทท่ี ๔ บทท่ี ๓
การประดษิ ฐก ลองนามบัตรจากผา ไหม การประดิษฐพ วงกุญแจจากผาไหม การประดษิ ฐก ระเปาใสเ หรียญจาก

ปกธงชัย (๑๒ ชัว่ โมง) ปก ธงชยั (๑๒ ชัว่ โมง) ผา ไหมปกธงชัย (๑๒ ช่วั โมง)
เรือ่ งที่ ๑ การเตรยี มวัสดุและอปุ กรณ เรื่องท่ี ๑ การเตรียมวัสดุและ เร่อื งท่ี ๑ การเตรยี มวสั ดุและอปุ กรณ
เรื่องท่ี ๒ ขัน้ ตอนการประดิษฐ อุปกรณ เร่อื งท่ี ๒ ขนั้ ตอนการประดิษฐ
เรอื่ งที่ ๓ ประโยชนแ ละการนําไปใช เรอื่ งท่ี ๒ ขั้นตอนการประดษิ ฐ เรื่องที่ ๓ ประโยชนและการนําไปใช
เรอ่ื งที่ ๓ ประโยชนแ ละการนาํ ไปใช



หลักสูตรทอ งถน่ิ ปกธงชยั : การประดษิ ฐข องทร่ี ะลกึ จากผา ไหมปก ธงชยั

ความเปน มา
ผาไหมปกธงชัยเปนมรดกทางวัฒนธรรมอันลํ้าคาและเปนเอกลักษณของชาวอําเภอปกธงชัย

ที่เกิดจากภูมิปญญา มีการถายทอดจากบรรพบุรุษสูสังคมยุคปจจุบัน ซ่ึงในอดีตนั้นผาไหมปกธงชัย
เปนท่ีรูจักในวงแคบ ๆ ของชุมชน ที่ผลิตใชเองในครัวเรือนและชุมชนเทานั้น แตในยุคปจจุบันไดรับความ
นิยมและเปนท่ีรูจักเพิ่มมากขึ้น จึงไดมีการนําเทคโนโลยีเขามาใชในการผลิตเพื่อเพิ่มปริมาณการผลิตให
เพยี งพอกบั ความตองการของตลาดและปรับปรงุ ใหม ีคณุ ภาพย่งิ ขึน้ ซึง่ อาจทําใหวิธีการประกอบอาชีพท่ีเกิด
จากภูมิปญญาในทอ งถน่ิ เร่ิมสญู หายไปอยาง ชา ๆ และไมเหลือไวใหลูกหลานไดศึกษา เพื่อการสืบสานและ
อนุรกั ษอกี ตอไป

จากการสํารวจชุมชนและจัดเวทีชาวบานโดยศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษา
ตามอธั ยาศัยอาํ เภอปกธงชัย ไดขอสรุปวา ประชาชนในทองถนิ่ อําเภอปก ธงชัย มคี วามตอ งการเพิ่มมูลคาของ
ผาไหมปกธงชัย โดยการนําผาไหมปกธงชัยมาแปรรูปเปนผลิตภัณฑของท่ีระลึกจากผาไหมปกธงชัย
ศูนยก ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอําเภอปกธงชัย จึงไดจัดทําหลักสูตรการประดิษฐของ
ท่ีระลึกจากผา ไหมปก ธงชัยข้ึนมา เพ่ือใหผูที่สนใจไดเรียนรูถึงกระบวนการผลิต ตลอดจนตระหนักถึงคุณคา
ของผาไหมปกธงชัยซึ่งเปนผาไหมที่มีเนื้อผางาม ซึ่งเปนภูมิปญญาและมรดกอันล้ําคาท่ีควรแกการอนุรักษ
มิใหสูญหาย และคงอยูเพ่ือใหคนรุนหลังไดศึกษาตอไป สมกับไดเปนสวนหน่ึงของคําขวัญอําเภอ
ปก ธงชัย “ลําพระเพลิงนาํ้ ใส ผาไหมเนอื้ งาม ขา วหลามนกออก ถวั่ งอกวงั หมี หม่ีตะคุ" นอกจากน้ียังเปน
การสรางอาชีพใหกับคนในทองถิ่นไดมีอาชีพมีรายไดใหกับตนเอง ครอบครัวและชุมชน ใหมีความเขมแข็ง
แบบย่งั ยืนตอไป
จุดมงุ หมาย

๑. เปน หลกั สตู รทีม่ งุ เนน ใหผ ูเรยี น เรยี นรโู ดยการปฏิบัติจริง สามารถประดิษฐของท่ีระลึกจากผา
ไหม ปกธงชัย โดยยึดหลักความสอดคลองกับศักยภาพและความพรอมของผูเรียน ความหลากหลายตาม
ความแตกตางของผูเรียน โดยบูรณาการหลักปรัชญาคิดเปนและหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไวใน
กระบวนการเรยี นรู

๒. มุงพัฒนาผูเรียนใหไดรับการศึกษาเพ่ือพัฒนาอาชีพและการมีงานทําอยางมีคุณภาพ สามารถ
สรา งรายไดที่ม่ันคงใหก ับตนเอง ครอบครัวและชุมชน รวมท้ังเปนบุคคลท่ีมีคุณธรรม จริยธรรม มีจิตสํานึก
ความรบั ผิดชอบตอ ตนเอง ผอู ื่นและสงั คม
วตั ถุประสงค

เพื่อใหผูเรียนมีความรู ความเขาใจ เกิดทักษะ และสามารถประดิษฐของที่ระลึกจากผาไหม
ปกธงชัยไดมีเจตคติที่ดีตอการประกอบอาชีพ สามารถนําความรูที่ไดรับไปใชในชีวิตประจําวันและใชเปน
ชองทางในการประกอบอาชีพ รวมท้ังอนุรักษภูมิปญญาทองถิ่นและอาชีพดั้งเดิมของบรรพบุรุษใหคงอยู
สืบไป


กลมุ เปา หมาย

ประชาชนในอําเภอปกธงชยั และประชาชนทั่วไปท่สี นใจ
เนอ้ื หาของหลักสูตร

ประกอบดวยเนือ้ หา ๖ เรื่อง ดังน้ี
๑. ผาไหมปกธงชยั
๒. การประดิษฐของที่ระลึกจากผาไหมปกธงชยั
๓. การประดษิ ฐก ระเปาใสเหรยี ญจากผาไหมปก ธงชัย
๔. การประดิษฐพ วงกุญแจจากผาไหมปกธงชัย
๕. การประดษิ ฐก ลอ งนามบัตรจากผาไหมปกธงชยั
๖. การบริหารจดั การอาชพี การจาํ หนายของที่ระลึกจากผาไหมปกธงชัย

ระยะเวลาเรยี น
หลักสตู รผาไหมปกธงชัย ใชเวลาเรียนท้ังหมด ๕๒ ชั่วโมง
ภาคทฤษฎี ๑๔ ชัว่ โมง
ภาคปฏบิ ัติ ๓๘ ช่ัวโมง

โครงสรา งเนื้อหาของหลกั สตู ร ประกอบดวยเน้ือหา ๖ เร่อื ง ดังน้ี
บทที่ ๑ ผา ไหมปกธงชัย (จาํ นวน ๕ ชว่ั โมง)
เร่ืองที่ ๑ ความรทู ัว่ ไปเก่ยี วกบั ผา ไหม
เรอ่ื งท่ี ๒ ประวัติความเปนมาของผา ไหมปกธงชัย
เรื่องท่ี ๓ ความสําคญั ของผาไหมปกธงชัย
เรอื่ งที่ ๔ ลกั ษณะเดน ของผาไหมปก ธงชัย
เรื่องท่ี ๕ แหลงเรียนรแู ละภูมปิ ญ ญาทองถิ่นของผา ไหมปกธงชยั
บทที่ ๒ การประดิษฐของท่ีระลึกจากผา ไหมปกธงชัย (จาํ นวน ๓ ช่วั โมง)
เรื่องที่ ๑ ความหมายและความสําคญั ของทีร่ ะลกึ
เรือ่ งท่ี ๒ วัสดุ,อปุ กรณแ ละการเกบ็ รักษา
เร่อื งที่ ๓ วธิ ีการเลือกผา ไหมเพื่อใชใ นการประดษิ ฐ
เร่อื งที่ ๔ เทคนคิ และวธิ กี ารประดษิ ฐข องทรี่ ะลกึ จากผา ไหมปก ธงชัย
บทท่ี ๓ การประดษิ ฐก ระเปาใสเ หรียญจากผาไหมปก ธงชัย (จาํ นวน ๑๒ ช่วั โมง)
เรอื่ งที่ ๑ การเตรยี มวสั ดุและอุปกรณ
เรื่องท่ี ๒ ขัน้ ตอนการประดษิ ฐ
เรื่องท่ี ๓ ประโยชนแ ละการนาํ ไปใช
บทที่ ๔ การประดษิ ฐพวงกญุ แจจากผาไหมปก ธงชัย (จํานวน ๑๒ ชวั่ โมง)
เรื่องท่ี ๑ การเตรยี มวัสดแุ ละอปุ กรณ
เรือ่ งที่ ๒ ขน้ั ตอนการประดิษฐ
เรอ่ื งท่ี ๓ ประโยชนและการนําไปใช


บทที่ ๕ การประดิษฐกลอ งนามบตั รจากผาไหมปก ธงชัย (จํานวน ๑๒ ชว่ั โมง)

เรอ่ื งท่ี ๑ การเตรียมวัสดุและอปุ กรณ
เรอ่ื งที่ ๒ ข้ันตอนการประดิษฐ
เรื่องที่ ๓ ประโยชนและการนาํ ไปใช
บทท่ี ๖ การบริหารจัดการอาชีพการจําหนายของท่ีระลึกจากผาไหมปกธงชัย (จํานวน ๘
ชั่วโมง)
เรอื่ งท่ี ๑ ชองทางการจดั จาํ หนา ยของทรี่ ะลึกจากผาไหมปกธงชยั
เรื่องท่ี ๒ การกาํ หนดราคาจําหนา ยของท่ีระลกึ จากผา ไหมปกธงชยั
เร่อื งที่ ๓ การทําบญั ชรี ายรับ-รายจาย
เรือ่ งท่ี ๔ คณุ ธรรม จรยิ ธรรมในการประกอบอาชีพจําหนา ยของที่ระลึกจากผาไหมปกธงชยั

รายละเอียดโครงสรางเน้ือหาของหลักสตู ร

ที่ เร่อื ง จดุ ประสงค เนอ้ื หา การจัดกระบวน จาํ นวนชว่ั โมง
๑ ผา ไหมปก ธงชัย การเรียนรู การเรียนรู ทฤษฎี ปฏิบตั ิ

๑.อธิบายลักษณะ ๑. ความรทู ่ัวไปเกีย่ วกบั ๑. บรรยาย ๓ ๒
และการดูแลรักษา ผาไหม ๒. ศึกษาใบความรู
ผา ไหมได ๑.๑ ลักษณะของ ๓. ทาํ ใบงาน
๒. บอกประวัติความ ผาไหม ๔. แลกเปล่ยี น
เปนมาของผาไหม ๑.๒ การดแู ลรกั ษา เรยี นรกู ับภูมิปญ ญา
ปกธงชยั ได ผาไหม ๕. เรียนรูดว ย
๓. บอกความสําคัญ ๒. ประวัติความเปน มา ตนเองจากแหลง
ของผาไหมปกธงชัย และความสําคัญของ เรียนรู /
ได ผาไหมปก ธงชยั สื่ออเี ล็กทรอนิกส
๔. บอกลักษณะเดน ๒.๑ ประวตั ิความ
ของผาไหมปกธงชัย เปน มาของผาไหม
ได ปก ธงชยั
๕. ระบุแหลง เรยี นรู ๒.๒ ความสําคญั ของ
และภูมิปญ ญา ผาไหมปกธงชัย
ทอ งถิน่ ในการทอผา ๒.๓ ลกั ษณะเดน ของ
ไหมปก ธงชัยได ผาไหมปกธงชัย

๒.๔ แหลงเรียนรูและ

ภมู ิปญญาทองถ่นิ ใน

การทอผา ไหมปกธงชยั



ที่ เร่ือง จดุ ประสงค เนอื้ หา การจัดกระบวน จํานวนชัว่ โมง
การเรยี นรู การเรียนรู ทฤษฎี ปฏิบัติ

๒ การประดิษฐ ๑. บอกความหมาย ๑. ความหมายและ ๑. บรรยาย ๒ ๑
ของทร่ี ะลกึ จาก และความสําคญั ของ ความสําคัญของ ๒. ศกึ ษาใบความรู ๒ ๑๐
ผา ไหมปก ธงชยั ของทีร่ ะลึกได ของทร่ี ะลกึ ๓. ทําใบงาน ๒ ๑๐
๒. ระบุวัสดุ,อุปกรณ ๒. วสั ด,ุ อปุ กรณท่ีใช ๔. แลกเปล่ยี น
ท่ใี ชในการประดิษฐ ในการประดิษฐของ เรียนรกู ับภูมปิ ญ ญา
ของทรี่ ะลกึ จาก ทีร่ ะลึกจากผา ไหม ๕. เรียนรูดวย
ผาไหมปกธงชัย ปก ธงชัยและวธิ กี าร ตนเองจากส่ือ
และวิธีการเกบ็ รักษา เกบ็ รักษา อิเลก็ ทรอนิกส/
ได แหลงเรยี นรู
๓. อธบิ ายเทคนคิ ๓. เทคนคิ และวธิ กี าร ๖. ฝกปฏบิ ตั ิจริง
และวธิ ีการประดิษฐ ประดิษฐของทีร่ ะลึก
ของทีร่ ะลึกจาก จากผา ไหมปกธงชยั
ผา ไหมปก ธงชยั ได
๓ การประดิษฐ ๑. เตรียมวัสดแุ ละ ๑. การเตรยี มวัสดแุ ละ ๑. บรรยาย
กระเปาใสเ หรียญ อุปกรณการประดษิ ฐ อปุ กรณการประดษิ ฐ ๒. สาธิต
จากผา ไหม กระเปา ใสเหรยี ญจาก กระเปาใสเหรียญ ๓. ศกึ ษาใบความรู
ปกธงชัย ผาไหมปก ธงชัยได จากผาไหมปกธงชัย ๔. ทําใบงาน
๒. ประดษิ ฐกระเปา ๒. ขน้ั ตอนการ ๕. แลกเปลย่ี น
ใสเหรียญจากผา ไหม ประดษิ ฐก ระเปา เรียนรูก บั ภมู ิปญญา
ปกธงชัยได ใสเ หรยี ญจากผา ไหม ๖. เรียนรดู วย
ปก ธงชัย ตนเองจากสื่อ
๓. บอกประโยชนข อง ๓. ประโยชนข อง อิเลก็ ทรอนิกส/
กระเปา ใสเ หรยี ญ กระเปา ใสเ หรยี ญจาก แหลงเรยี นรู
จากผาไหมปกธงชัย ผาไหมปกธงชัยและ ๗. ฝก ปฏบิ ัตจิ ริง
และการนําไปใชได การนําไปใช
๔ การประดิษฐ ๑. เตรยี มวัสดแุ ละ ๑. การเตรยี มวสั ดุและ ๑. บรรยาย
พวงกญุ แจจาก อุปกรณการประดษิ ฐ อุปกรณการประดษิ ฐ ๒. สาธิต
ผา ไหมปก ธงชยั พวงกญุ แจจาก พวงกญุ แจจากผาไหม ๓. ศกึ ษาใบความรู
ผา ไหมปก ธงชัยได ปกธงชยั ๔. ทําใบงาน
๒. ขั้นตอนการ ๕. แลกเปลยี่ น
๒. ประดิษฐ ประดษิ ฐพ วงกุญแจ เรียนรูกบั ภูมปิ ญญา
พวงกุญแจจาก จากผาไหมปกธงชัย ๖. เรียนรูดว ย
ผาไหมปก ธงชัยได ๓. ประโยชนข องพวง ตนเองจากส่อื
๓. บอกประโยชน กญุ แจจากผา ไหม อเิ ลก็ ทรอนิกส/
ของพวงกุญแจจาก ปก ธงชัยและการ แหลงเรียนรู
ผาไหมปกธงชยั นําไปใช ๗. ฝกปฏิบัตจิ ริง
และการนาํ ไปใชได



ท่ี เรื่อง จุดประสงค เนอ้ื หา การจัดกระบวน จํานวนช่วั โมง
การเรยี นรู การเรยี นรู ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ

๕ การประดิษฐ ๑. เตรยี มวัสดแุ ละ ๑. การเตรยี มวัสดุและ ๑. บรรยาย ๒ ๑๐
กลอ งนามบัตร อปุ กรณการประดษิ ฐ อุปกรณการประดษิ ฐ ๒. สาธิต
จากผา ไหม ๓. ศึกษาใบความรู
ปกธงชัย กลอ งนามบัตรจาก กลอ งนามบัตรจากผา ๔. ทําใบงาน
ผา ไหมปกธงชยั ได ไหมปกธงชยั ๕. แลกเปล่ยี น
๒. ประดษิ ฐกลอ ง ๒. ขน้ั ตอนการ เรียนรูกับภมู ปิ ญญา
นามบตั รจากผาไหม ประดษิ ฐก ลอง ๖. เรยี นรดู ว ย

ปก ธงชยั ได นามบตั รจากผา ไหม ตนเองจากสอื่
อเิ ลก็ ทรอนิกส/
ปกธงชยั
๓. บอกประโยชน ๓. ประโยชนข องกลอง แหลงเรยี นรู
ของกลอ งนามบัตร นามบตั รจากผาไหม ๗. ฝกปฏบิ ัติจริง

จากผาไหมปกธงชยั ปกธงชัยและการนํา

และการนําไปใชไ ด ไปใช

๖ การบรหิ ารจดั การ ๑. ระบุชองทางใน ๑. ชองทางการจดั ๑. บรรยาย ๓ ๕
อาชพี การจําหนา ย การจัดจาํ หนายของ จาํ หนา ยของทรี่ ะลึก ๒. ศึกษาใบความรู
ของทรี่ ะลกึ จาก ที่ระลึกจากผาไหม จากผาไหมปกธงชยั ๓. ทาํ ใบงาน
ผาไหมปกธงชัย ปก ธงชยั ได ๔. แลกเปลีย่ น
๒. กําหนดราคา ๒. การกาํ หนดราคา เรยี นรกู ับภมู ปิ ญญา
จาํ หนายของทรี่ ะลึก จําหนายของท่รี ะลึก ๕. เรยี นรดู วย
จากผาไหมปกธงชยั จากผา ไหมปกธงชัย ตนเองจากสอื่
ได อิเลก็ ทรอนกิ ส/
๓. ทําบญั ชีรายรับ- ๓. การทําบญั ชีรายรับ- แหลง เรียนรู
รายจา ยได รายจาย ๖. ฝกปฏบิ ตั ิจรงิ
๔. บอกคณุ ธรรม ๔. คุณธรรม จรยิ ธรรม
จริยธรรมในการ ในการประกอบอาชีพ
ประกอบอาชีพ จาํ หนา ยของท่ีระลึก
จําหนา ยของทร่ี ะลึก จากผาไหมปกธงชัย
จากผา ไหมปกธงชัย
ได



แหลง การเรยี นรแู ละส่ือประกอบการเรยี น
๑. สอ่ื เอกสาร
๑.๑ ใบความรู
๑.๒ นิตยสาร หนังสอื เรียน
๑.๓ ใบงาน
๒. สื่ออเิ ล็กทรอนิกส
๓. ภมู ปิ ญญา เรือ่ ง การประดิษฐของที่ระลึกจากผา ไหมปกธงชัย
๔. สถานประกอบการ
๕. แหลง เรียนรู บา นจะโปะ ตําบลเมอื งปก อําเภอปก ธงชัย จังหวัดนครราชสมี า

การวดั และประเมนิ ผลการเรียน
๑. การประเมินความรภู าคทฤษฎรี ะหวา งเรียน
๒. การประเมนิ ผลจากสภาพจรงิ จากผลการปฏิบตั งิ าน
๓. ประเมนิ ดา นคณุ ธรรม ดวยแบบประเมนิ คณุ ธรรม

การจบหลักสตู ร
๑. มเี วลาเรยี นและฝกปฏบิ ตั ิตามหลกั สูตร ไมน อยกวารอยละ ๘๐
๒. มผี ลการประเมินผา นตลอดหลักสตู ร ไมนอ ยกวา รอ ยละ ๖๐
๓. มผี ลงาน (ตามรายวิชาท่เี รยี น/ตามหลักสตู ร) ที่ไดม าตรฐาน

เอกสารหลกั ฐานการศกึ ษา
๑. หลักฐานการประเมนิ ผล
๒. ทะเบยี นคมุ วฒุ บิ ัตร
๓. วุฒบิ ัตรออกโดยสถานศึกษา

การเทียบโอน
ผเู รยี นท่ีเรยี นจบหลกั สูตรนี้แลว สามารถนาํ ผลการเรียนไปเทียบโอนกับหลักสูตรการศึกษา

นอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ในสาระการประกอบอาชีพวิชาเลือกเสรี
ท่สี ถานศึกษาไดจดั ทาํ ขนึ้ ในระดบั ใดระดบั หนึง่ ได ๑ หนว ยกติ (๑ หนว ยกิต = ๔๐ ชั่วโมง)


Click to View FlipBook Version