The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ฐาณิกา ไขสูงเนิน, 2023-11-29 10:15:34

การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ

การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ

Keywords: การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ

บันทึกการเรียนรู้ บั รู้ บันทึกการเรียนรู้ การพัพั พัพั ฒนาคุคุ คุคุ ณภาพชีชี ชีชี วิวิวิวิตผู้ผู้ผู้ผู้สูสู สูสู งอายุยุ ยุยุ เสนอ อาจารย์ย์ ย์ย์สิสิสิสิริริริริกร บุบุ บุบุญสัสั สัสั งข์ข์ ข์ข์ จัจั จัจั ดทำทำ ทำทำ โดย นางสาว ฐาณิ ณิกา ไขสูสู สูสู งเนินินินิน รหัหั หัหัส 6440304110


รายงานเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ (219211) ภาคเรียนที่1 ปีการศึกษา 2566 ของนักศึกษาปีที่3 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสรุป บทเรียนและการเรียนรู้โดยการสืบค้นเนื้อหาของการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูง อายุด้วยตนเองและเรียบเรียงเนื้อหาสาระสำ คัญตลอดภาคเรียน เพื่อทำ ความ เข้าใจการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุส่วนต่างๆ การจัดทำ รายงานชิ้นนี้สำ เร็จลุล่วงวัตถุประสงค์ไปด้วยดี ผู้จัดทำ หวังเป็นอย่าง ยิ่งว่ารายงานเล่มนี้จะเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่ได้รับมาศึกษาเป็นอย่างดี หากมีข้อ ผิดพลาดประการใด ขออภัยมา ณ ที่นี้ ฐาณิกา ไขสูงเนิน คำ นำ


ส า ร บั ญ 1 2 สถานการณ์ผู้สูงอายุในประเทศไทย 3 4-8 9 10 ความหมายของคำ ว่าผู้สูงอายุ แนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับผู้สูงอายุ การเรียนรู้จากการทำ รายงานตัวอย่างของ ประเทศต่างๆในการพัฒนาคุณชีวิตผู้สูงอายุ การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุของ ประเทศไทยมีเรื่องอะไรบ้าง 11 12 13 การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุโดยชุมชน การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุโดยท้องถิ่น การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุโดยภาค เอกชน สรุปความรู้ว่าการเรียนการพัฒนาคุณภาพ ชีวิตผู้สูงอายุ เกี่ยวข้องกับการพัฒนาสังคม อย่างไร


เปิดรายงานสถานการณ์ผู้ณ์ ผู้สูงอายุไทยปี 2565 ประเทศไทยกำ ลังก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูง อายุ หลังจากเมื่อสามปีก่อนนับเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ที่ประเทศไทยมีจำ นวนผู้ สูงวัยอายุ 60 ปีขึ้นไปมากกว่าเด็กอายุต่ำ กว่า 15 ปี โดยประชากรผู้สูงอายุในปี 2565 นั้นมีมากถึง 12,116,199 คน คิดเป็น 18.3% ของประชากรทั้งหมด เพิ่มขึ้นจากปีที่ แล้ว 0.5% แบ่งเป็น “ผู้สูงอายุวัยต้น” ช่วงอายุ 60-69 ปี จำ นวน 6,843,300 คน คิดเป็น 56.5% ของผู้สูง อายุทั้งหมด “ผู้สูงอายุวัยกลาง” ช่วงอายุ 70-79 ปี มีจำ นวน 3,522,778 คน คิดเป็น 29.1% และ “ผู้สูงอายุวัยปลาย” อายุ 80 ปีขึ้นไป จำ นวน 1,750,121 คน คิดเป็น 14.4% ล่าสุด ในเดือนพฤษภาคม 2565 มีเรื่องน่ายินดีสำ หรับผู้สูงอายุเกิดขึ้น คณะ รัฐมนตรีมีมติเห็นชอบ “ร่างพัฒนาประชากรเพื่อพัฒนาประเทศในระยะยาว ปี 2565- 2580” กรอบแนวทางการพัฒนาประชากรของแผนฯ นี้ โดยรวมวางโครงสร้างพัฒนา ประชากรไทยในทุกช่วงวัยด้วยแนวคิด “เกิดดี อยู่ดี กินดี” ให้ความสำ คัญ 3 ด้าน ได้แก่ การเกิดอย่างมีคุณภาพ การอยู่อย่างมีคุณภาพและมีส่วนร่วมในการพัฒนา ประเทศ การแก่และการตายอย่างมีคุณภาพ สถานการณ์ผู้สูงอายุในประเทศไทย 1


ความหมายของผู้สูงอายุ ผู้สูงอายุ หมายถึง บุคคลที่มีสัญชาติไทยและมีอายุตั้งแต่ 60 ปีบริบูรณ์ขึ้ณ์ ขึ้นไป ทั้งนี้ผู้สูง อายุไม่ได้มีลักษณะเหมือนกันหมด แต่จะมีความแตกต่างกันไปตามช่วงอายุ โดยแบ่ง กลุ่มผู้สูงอายุไว้ 3 กลุ่ม ดังนี้ 1. ผู้สูงอายุตอนต้น อายุ 60 - 69 ปี เป็นผู้สูงอายุที่ยังมีกำ ลังช่วยเหลือตนเองได้ 2. ผู้สูงอายุตอนกลาง อายุ 70 - 79 ปี เป็นผู้สูงอายุที่เริ่มมีอาการเจ็บป่วป่ย ร่างกายเริ่ม อ่อนแอ มีโรคประจำ ตัวหรือโรคเรื้อรัง 3. ผู้สูงอายุตอนปลาย อายุ 80 ปีขึ้นไป เป็นผู้สูงอายุที่เจ็บป่วป่ยบ่อยขึ้น อวัยวะเสื่อม สภาพ และอาจมีภาวะทุพพลภาพ การจำ แนกกลุ่มผู้สูงอายุตามศักยภาพ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ได้ประยุกต์ เกณฑ์การประเมินความสามารถในการดำ เนินชีวิตประจำ วัน ดังนี้ กลุ่มที่ 1 ติดสังคม ผู้สูงอายุที่ช่วยเหลือตนเองได้ ช่วยเหลือผู้อื่นและสังคม ชุมชนได้ สามารถเดินขึ้นบันไดเองโดยไม่ต้องช่วยเหลือ เดินออกนอนบ้านได้ เดินตามลำ พังบน ทางเรียบได้ รับประทานอาหารด้วยตนเองได้ดี ใช้สุขาด้วยตนเองได้อย่างเรียบร้อย กลุ่มที่ 2 ติดบ้าน ผู้สูงอายุกลุ่มที่ช่วยเหลือตนเองได้บ้าง ไม่สามารถเดินตามลำ พังบน ทางเรียบได้ต้องใช้อุปกรณ์ช่ณ์ ช่วยเหลือ ต้องการความช่วยเหลือขณะรับประทานอาหาร ต้องการความช่วยเหลือพาไปห้องน้ำ กลุ่มที่ 3 ติดเตียง ผู้สูงอายุที่ป่วป่ยและช่วยเหลือตนเองไม่ได้ พิการ/ทุพพลภาพไม่ สามารถย้ายตนเองขณะนั่งได้ ไม่สามารถขยับได้ในท่านอน การรับประทานอาหารกลืน ลำ บาก แม้ว่าผู้ดูแลจะป้อป้นอาหารให้ ต้องขับถ่ายในท่านอนหรืออยู่บนเตียง สวมใส่ผ้า อ้อมตลอดเวลาต้องเปลี่ยนผ้าอ้อมประจำ ความหมายของคำ ว่าผู้สูงอายุ 2


1.ทฤษฎีทางด้านชีววิทยา ทฤษฎีพันธุ์ศาสตร์ ( Genetic Theory ) ทฤษฎีนี้เชื่อว่า คนชรา เกิดขึ้นตามพันธุกรรม มีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้าง อวัยวะบางส่วนของร่างกายคล้ายคลึงกันและลักษณะนั้นแสดงออก เมื่ออายุมากขึ้น เช่น ผมหงอก ศีรษะล้าน และเดินหลังค่อม 2.ทฤษฎีทางด้านจิตวิทยาสังคม ทฤษฎีการถดถอย ( Disengagement Theory ) ทฤษฎีนี้เชื่อว่าผู สูงอายุส่วนใหญ่จะค่อยๆถอดออกจากสังคม ทั้งในกลุ่มผู้สูงอายุ และกลุ่มคนในวัยอื่นๆ ด้วยเพื่อลกภาวะกดดันทางสังคมบาง ประการ 3.ทฤษฎีทางด้านบุคลิกภาพ บุคลิกของบุคคลที่มีวุฒิภาวะ หมายถึงบุคคลทมิมนุษนุย์สัมพันธ์ต่อ ผู้อื่นเป็นอย่างดียอมรับในจุดอ่อนและจุดแบ้งของความมีอายุ ค้น พบปัญหาและปัจจัยที่ส่งผลต่อความเสื่อมถอยของตนเอง รับ สภาพความเปลี่ยนแปลงทางร่างกายโดยไม่รู้สึกว่าเป็นสิ่งที่น่า รังเกียจหรืออับอาย แนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับผู้สูงอายุ 3


การดูแลผู้สูงอายุของญี่ปุ่นปุ่คือปี 1973 (2516) เริ่มให้ผู้สูงอายุอายุ 70 ปีขึ้นไปไม่ต้องเสียค่า รักษาพยาบาล ผลคือจำ นวนผู้สูงอายุที่เข้าโรงพยาบาลเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วและเป็นผู้สูงอายุใน ภาวะ พึ่งพิง (Social admission) • ปี 2526 รัฐบาลญี่ปุ่นปุ่จึงยกเลิกการรักษาฟรีผู้มีอายุ 70 ขึ้นไป ระบบการดูแลผู้สูงอายุแบบ ดั้งเดิมของญี่ปุ่นปุ่ภายในครอบครัวเริ่มประสบภาวะวิกฤตหรือขาดแคลนเพราะระบบครอบครัว ขยายและการดูแลผู้อาวุโสในครอบครัวกาลังหดหายไป • ปี 2532 โดย แผนทองคำ (Gold Plan) มียุทธศาสตร์ 10 ปี เพื่อส่งเสริมสุขภาพและสวัสดิการ ของผู้สูงอายุ ยุทธศาสตร์พื้นฐานในการดำ เนินนโยบาย 1. การทางาน เงินบานาญ 2. การส่งเสริมสุขภาพการช่วยเหลือบริบาล การแพทย์ 3. การเข้ามาส่วนร่วมทางสังคม และการเรียนรู้ 4. การพัฒนาสิ่งแวดล้อมในการอยู่อาศัย 5.การกระตุ้นตลาดเพื่อรองรับกับสังคมสูงอายุและส่งเสริมงานสารวจและวิจัย 6. เสริมสร้างพื้นฐานให้กลุ่มคนทุกช่วงวัยมีส่วนร่วมเพื่อรองรับระดับสังคมผู้สูงอายุอย่างเต็มที่ (Super-aged society) ผู้สูงอายุ อายุ 60 ปีขึ้นไป มีจานวนถึง 40 ล้าน หรือหนึ่งในสาม ตัวเลขของผู้สูงอายุที่จะขยับไปสู่ ช่วงอายุที่มากกว่า 75 ปีเฉลี่ยในเเต่ละเดือนเพิ่มขึ้น 30,000 คน -ผู้สูงอายุ อายุ 65 ขึ้นไป ถึง 32 ล้านคน หรือหนึ่งในสี่ -ผู้สูงอายุที่มีอายุระหว่าง 65 -74 ปี มีจานวน 17.64 ล้านคน (ผู้สูงวัยตอนต้น) -ผู้สูงอายุที่มีอายุ 75 ปีขึ้นไปในญี่ปุ่นปุ่มีจานวน 17.7 ล้านคน (ผู้สูงวัยตอนปลาย) ผู้สูงอายุประเทศญี่ปุ่น 4


รัฐสวัสดิการผู้สูงอายุจะมีการตั้งระบบกองทุนสำ รองเลี้ยงชีพกลางเพื่อให้ออมเงินไว้ใช้หลังเกษียณ สิงคโปร์ให้ความสำ คัญกับการพึ่งพาตนเอง โดยกองทุนนี้มีชื่อว่า Central Provident Fund (CPF) เป็นกองทุนที่อยู่ในภาคบังคับใช้ สร้างขึ้นเมื่อปี ค.ศ.1955 โดย the British colonial administration นายจ้างจะหักจากเงินเดือนเข้าสมทบกับกองทุน นายจ้างจ่ายร้อยละ 20 ส่วน ลูกจ้างจ่ายร้อยละ 10 แต่ปัจจุบันได้มีการเปลี่ยนระบบเป็นประกันสังคมแทน โดยจะมีการบริการรูป แบบอื่นให้กับสมาชิกในกองทุน -การรักษาพยาบาลสมาชิกของกองทุนประกันสังคมสามารถนำ เงินสะสมในกองทุนมาจ่ายค่ารักษา พยาลได้หรือนำ มาลดหย่อนได้ ในกรณีเป็นโรคร้ายแรงหรือโรคที่ต้องใช้เวลารักษาในระยะยาว -สนับสนุนนุนโยบายการมีบ้านหรือที่พักอาศัยเป็นของตัวเองจะได้มีเกิดปัญหา Homeless และ ปัญหาความยากจนในอนาคต กับนโยบายที่ชื่อว่า Housing Policy รัฐสนับสนุนนุให้ประชาชนซื้อ บ้านเคหะของรัฐบาลในราคาถูกหรือบางกรณีก็ฟรีไปเลย บ้านที่ซื้อนี้อาจจะมีราคาสูงในวันข้างหน้าน้ผู้ พักอาศัยสามารถเอาไปลงทุนได้ตามสะดวกเพราะจะกลายเป็นทรัพย์สินส่วนบุคคล รัฐบาลได้มีการจัดตั้ง Ministerial on Aging ระบบสวัสดิการของผู้สูงอายุที่จะได้รับจากรัฐบาล 1.ส่งเสริมการจ้างงานและสร้างความมั่นคงทางการเงิน โดยผู้สูงอายุยังสามารถหางานทำ ได้อยู่แม้จะ อายุมากแล้ว เพราะหลักของสิงคโปร์คือการพึ่งพาตนเอง คุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในสิงคโปร์ส่วน ใหญ่จึงเป็นแบบ “รวยก่อนแก่” 2.การให้บริการดูแลสุขภาพในราคาย่อมเยา และเข้าถึงได้อย่างถ้วนหน้าน้เพราะรัฐเชื่อว่าถ้าการดูแล รักษาสุขภาพมีราคาถูก จะทำ ให้ประชาชนมาใช้บริการมากขึ้นอย่างสม่ำ เสมอ ไม่ค่อยกังวลเรื่อง ทางการเงินและก็จะมีสุขภาพที่ดี 3.ให้ความสะดวกด้านอาคารและสถานที่สาธารณะและระบบขนส่งมวลชน เพื่อให้เกิดความสะดวก สบายในการให้ผู้สูงอายุเข้าไปมีส่วนร่วมกับสังคมโดยไม่มีอุปสรรคด้านการเดินทาง ประชากรอายุ 65 ปีขึ้นไปมากกว่าร้อยละ 14 ของประชากรทั้ง ประเทศ จนมาถึงปี 2021 สัดส่วนประชากรสูงวัยยิ่งเพิ่มขึ้นเป็นร้อย ละ 17.6 และมีแนวโน้มน้ที่จะสูงขึ้นไปเรื่อยถึงร้อยละ 23.8 ในปี 2030 ผู้สูงอายุประเทศสิงคโปร์ 5


ฟินแลนด์ ผู้อายุสูงเป็นอันดับ 2 ของโลกประเทศเป็นอีกหนึ่งประเทศที่กำ ลังเดินหน้าน้ เข้าสู่สังคม ผู้สูงอายุ โดยมีสัดส่วนผู้สูงอายุที่มีอายุ 65 ปีขึ้นไปในประเทศฟินแลนด์มี สูงขึ้น ถึง 39.2 ต่อประชากรวัยทำ งาน 100 คน ผลกระทบต่อประเทศคือผู้สูงอายุมาก ขึ้นทำ ให้ขาดแคลนแรงงาน การพัฒนาคุณภาพชีวิตของประเทศฟินแลนด์มีการจัด สวัสดิการด้านที่อยู่อาศัยแก่ผู้สูงอายุ ดังนี้ -มีสวัสดิ์การด้านที่อยู่สำ หรับผู้สูงอายุ -มีนโยบายการพัฒนาความสุขสบายและมีคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ -มีการสนบสนุนนุความเป็นอิสระ และการมีส่วนร่วมในสังคมู่ความสุขสบายของผู้สูง อายุครอบคลุมในมิติเรื่องสุขภาพ การบริการสังคม ระบบบำ นาญที่จะให้ความมันคง ทางด้านเศรษฐกิจ และทีอยู่อาศัย -มีกองทุนหลังเกษียณเพียงพอสำ หรับระยะยาว -มียิมฟรีสำ หรับผู้สูงอายุ -มีเทคโนโลยีทางการแพทย์เพื่อพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุ ปัญหาและอุปสรรค ตอนนี้ยังมีการขาดแคลนแรงงานในประเทศเนื่องจาประเทศ ฟินแลนด์ในขณะนี้กำ ลังพบเจอกับสถานการณ์ปัณ์ ปัญหาหนักในประเทศเนื่องจากตอนนี้ เป็นประเทศที่กำ ลังเดินหน้าน้เข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ ผู้สูงอายุประเทศฟินแลนด์ 6


• สวัสดิการด้านที่อยู่อาศัย ผู้สูงอายุจะได้รับความช่วยเหลือในการจัดหาที่พักอาศัย รวมไปถึงผู้พิการ และครอบครัวรายได้ต่ำ ที่มีเด็กอายุต่ำ กว่า 18 ปีอาศัยอยู่ด้วย • เงินจากกองทุนผู้สูงอายุ (Old age pension) สำ หรับผู้ที่จ่ายเงินสมทบ หรือก็คือผู้เสียภาษี แต่สำ หรับผู้ที่ไม่ได้เสียภาษีหรือไม่ได้เงินจากกองทุนผู้สูงอายุ จะได้รับเงินจาก Guarantee pension สำ หรับผู้ที่อาศัยอยู่ในสวีเดนเกิน 40 ปี • เงินช่วยเหลือยังชีพ (Maintenance support) สำ หรับผู้ที่ไม่ได้อยู่ในระบบกองทุนผู้สูงอายุ การรักษาพยาบาล การบริการสุขภาพระยะยาว ทุกคนสามารถเลือกโรงพยาบาลรักษาได้อย่างอิสระ แต่ต้องอยู่ภายใต้เงื่อนไขที่สภาเขตกำ หนดไว้ • ระบบบริการ ณ ที่พักอาศัย เพราะสวีเดนมีหลักในการดูแลผู้สูงอายุโดยต้องอาศัยอยู่ในบ้านของ ตนเองให้นานที่สุด และมีบริการดูแลและบริการให้ถึงบ้าน เช่นมีพนักงานทำ ความสะอาดให้ ซื้อของ ให้ ซักผ้า บริการอาหารการกิน ดูแลความปลอดภัยและบริการดูแลเรื่องในชีวิตประจำ วันอื่นๆ -ในบางครอบครัวจะได้เงินสนับสนุนนุจากรัฐเป็นค่าตอบแทนในการดูแลผู้สูงอายุในบ้านของตนเอง -สำ หรับผู้ที่มีโรคประจำ ตัว ป่วป่ยหนัก ผู้ป่วป่ยติดเตียงหรือไม่สามารถเคลื่อนย้ายได้ก็จะอยู่แต่เพียง ที่พักอาศัยของตนเท่านั้น แต่จะมีการบริการด้านสุขภาพให้ ณ ที่พักอาศัย • ระบบขนส่งสาธารณสุข ผู้สูงอายุสามารถเรียกใช้ แท็กซี่หรือบริการพิเศษได้เพาะในกรณีที่ไม่ สามารถใช้บริการได้ด้วยตนเอง • ระบบบำ นาญ อย่างที่กล่าวไปข้างต้นว่าผู้เสียภาษี จะได้รับเงินประกันสังคมและเงินบำ นาญเมื่อถึง วัยเกษียณ จะได้รับเงินบำ นาญเฉลี่ย 13,000 โครนาสวีเดน หรือ 46,306.57 บาทไทย จำ นวนที่ได้ รับนี้จะแตกต่างออกไปตามจำ นวนเงินเดือนที่ได้รับและการสะสมเงินในกองทุน ประชากรผู้สูงอายุในสวีเดน อายุ 65 ปี มีจำ นวนร้อยละ 20 ของ ประชากรทั้งประเทศ และร้อยละ 5.2 ของผู้สูงอายุที่มีอายุ 80 ปี และอีก ร้อยละ 1 ตกเป็นของผู้สูงอายุที่มีอายุ 90ขึ้นไป ผู้สูงอายุประเทศสวีเดน 7


โดยสวัสดิการจากกรมกิจการผู้สูงอายุที่กำ หนดไว้ 16 ด้านด้วยกันในการคุ้มครองและส่งเสริม คุณภาพความเป็นอยู่ ขอยกตัวอย่างคร่าวๆ เช่น – ด้านการแพทย์และสาธารณสุข จัดช่องทางพิเศษเฉพาะในการเข้ารับบริการอย่างสะดวกและ รวดเร็ว – การศึกษา ศาสนา และข้อมูลข่าวสาร จัดศูนย์การเรียนรู้ในชุมชนมีหลักสูตรการเรียนการสอน ในผู้สูงอายุที่มีตั้งแต่การศึกษาขั้นพื้นฐาน ทั้งในระบบและนอกระบบ การจัดรายการโทรทัศน์ เพื่อผู้สูงอายุ – ด้านตลาดแรงงาน มีการจัดหางานให้ มีศูนย์ให้คำ ปรึกษาและข้อมูลข่าวสารด้านอาชีพที่ สำ นักงานจัดหางานทุกแห่ง – เงินเบี้ยยังชีพให้กับผู้สูงอายุที่ผ่านเกณฑ์ โดยต้องเป็นผู้ที่มีสัญชาติไทย ไม่เป็นผู้ได้รับ สวัสดิการหรือสิทธิประโยชน์อื่น์ อื่นใดจากหน่วยงานของรัฐ หรือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รายได้ เบี้ยยังชีพจะแบ่งไปตามช่วงอายุ อายุ 60-69 ปี เดือนละ 600 บาท อายุ 70-79 ปี เดือนละ 700 บาท อายุ 80-89 ปีเดือนละ 800 บาท อายุ 90 ปีขึ้นไป เดือนละ 1000 บาท – ระบบเงินบำ เหน็จน็บำ นาญของราชการตั้งแต่ 10 ปีขึ้นไป – กองทุนประกันสังคม – ด้านการให้ความช่วยเหลือของเจ้าหน้าน้ตามอาคาร สถานที่ ยานพาหนะหรือบริการสาธารณะ อื่นๆ การดำ เนินชีวิตของผู้สูงอายุในไทยสามารถนิยามได้ว่า “แก่แล้วยังจน” เพราะในด้านการให้ บริการอาจดูเหมือนยังไม่ครอบคลุมมากพอหรือทั่วถึงไหร่นัก เพราะคนจนในประเทศยังอยู่มาก และผู้สูงอายุหลายคนยังต้องทำ งานหาเลี้ยงชีพของตนเอง หวังพึ่งรัฐอย่างเดียวคงไม่ได้ ผู้สูงอายุในประเทศไทยทั้งชายและหญิงรวมเป็น 11,627,130 คน หรือคิดเป็นร้อยละ 17.57 ของจำ นวนประชากรทั้งประเทศ ปี2563 ผู้สูงอายุประเทศไทย 8


นโยบายสวัสดิการผู้สูงอายุของไทย -นโยบายด้านสุขภาพอนามัย -นโยบายด้านการศึกษา -นโยบายด้านความมั่นคงของรายได้และการทำ งาน -นโยบายด้านสังคมและวัฒนธรรม -นโยบายด้านสวัสดิการสังคม การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุของ ประเทศไทยมีเรื่องอะไรบ้าง การบริหารจัดการ -กฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง -บุคลากรเจ้าหน้าน้ที่ -งบประมาณ -วัฒนธรรม การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในประเทศไทย -ด้านสุขภาพและการรักษา -ด้านความมั่นคงทางเศรษฐกิจ -ด้านที่พักอาศัย -ด้านนันทนาการ -ด้านความมั่นคงทางสังคม -ด้านการสร้างบริการและเครือข่ายการดูแล 9


‘5 ก.’ กลไกชุมชน เพื่อสังคมที่เอื้อต่อผู้สูงวัย 1. การป้อป้งกันและลดอุบัติเหตุในผู้สูงอายุ การป้อป้งกันที่ดีนั้นเริ่มได้ตั้งแต่การปรับสภาพแวดล้อมของบ้านให้เอื้อต่อการดำ เนินชีวิต ของผู้สูงอายุ โดยการจัดสภาพแวดล้อมให้สะอาด ไม่มีสิ่งกีดขวางทางเดิน ห้องน้ำ มีราวจับ เพื่อให้เดินได้สะดวก มีการเฝ้าฝ้ระวังภาวะฉุกเฉินและอุบัติเหตุทั้งในพื้นที่ส่วนตัวและ ภายในชุมชน 2. การตั้งและพัฒนาโรงเรียนผู้สูงอายุ สร้างโรงเรียนผู้สูงอายุขึ้น เพื่อเป็นสถานแลกเปลี่ยนความรู้ด้านภูมิปัญญาท้องถิ่น สร้างผู้ สูงวัยให้สามารถเป็นวิทยากรในเรื่องที่ตนเชี่ยวชาญได้ พร้อมให้ชาวชุมชนที่มีอายุ 50 – 59 ปี ได้เตรียมตัวเข้าสู่วัยสูงอายุด้วยการเข้าเรียนในโรงเรียนผู้สูงวัย เพื่อเก็บเกี่ยวความรู้ ด้านการดูแลสุขภาพ การทำ กิจกรรมร่วมกัน การใช้เทคโนโลยี และเรื่องอื่น ๆ ที่จำ เป็น 3. การพัฒนาชมรมผู้สูงอายุ ส่งเสริมให้ผู้สูงวัยเข้าร่วมเป็นสมาชิกของชมรมในชุมชน ร่วมทำ กิจกรรมกับชมรม เพื่อให้ เกิดการพบปะกับกลุ่มคนวัยเดียวกันและกลุ่มคนที่มีความสนใจคล้าย ๆ กัน จนกลายเป็น สังคมของกลุ่มผู้สูงวัยที่จะคอยช่วยเหลือกันเมื่อมีเหตุฉุกเฉิน 4. การดูแลต่อเนื่องที่บ้าน เตรียมพร้อมสู่การเป็นผู้สูงวัยด้วยการเข้าฝึกอบรมเตรียมความพร้อมทั้งด้านร่างกาย จิตใจ และสังคม จัดหาอาหารที่ปลอดภัย เหมาะสมกับสุขภาวะและโรค ออกกำ ลังกาย อย่างสม่ำ เสมอ และร่วมเป็นแกนนำ ในการเป็นอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุ 5. การบริการกายอุปกรณ์ รณรงค์ให้ผู้สูงอายุและครอบครัวบริจาคกายอุปกรณ์แณ์ละเครื่องมือทางการแพทย์ที่ไม่ใช้ แล้วแก่ศูนย์กายอุปกรณ์ชุณ์ชุมชน อาทิ รถเข็น หรือไม้ค้ำ ยัน ส่งเสริมให้ชุมชนผลิตอุปกรณ์ ออกกำ ลังกาย เพื่อบริหาร ฟื้นฟูข้อและกล้ามเนื้อด้วยวัสดุที่มีในท้องถิ่น พร้อมสนับสนุนนุ ให้จัดศูนย์บริการอุปกรณ์ต่ณ์ ต่าง ๆ ขึ้นในชุมชน เพื่อให้ผู้สูงวัยสามารถหยิบยืมไปใช้ได้อย่าง เต็มที่ การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ โดยชุมชน 10


“กลไกของชุมชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการดูแลครัวเรือนเปราะบาง” การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ โดยท้องถิ่น กลไกลการส่งเสริมการรวมกลุ่ม สำ หรับกลุ่มผู้สูงอายุในครัวเรือนที่ยังสามารถดูแลตนเองได้ กระตุ้นผู้สูงอายุให้เข้ารวมกลุ่มกันในการทำ กิจกรรม แข็งแรง สุขภาพจิตดี สังคมสิ่งแวดล้อมดี ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ ศูนย์ส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ กลไกการรวมกลุ่มนั้น สำ หรับกลุ่มผู้สูงอายุในครัวเรือนเปราะบางที่ยังสามารถดูแลตนเองได้ เป็นกลไกล หลักที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นใช้ในการส่งเสริมและกระตุ้นผู้สูงอายุให้เข้ามารวมกลุ่มกันทำ กิจกรรม เพื่อช่วยลดความเปราะบางในด้านต่าง ๆ ที่อาจจะเกิดขึ้น รวมถึงเป็นการขยายระยะเวลาของการเป็นผู้สูง อายุที่มีภาวะพฤฒพลัง (Active Aging) ด้วยการมี “ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ โรงเรียนผู้สูงอายุ หรือศูนย์ส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุ” 11


พม. หนุนนุภาคธุรกิจเอกชน สร้างสุขวัยเก๋า พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุทุกมิติ รัฐบาลได้ส่งเสริมและสนับสนุนนุให้ภาคธุรกิจเอกชน และภาคีเครือข่าย มี บทบาทสำ คัญในการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในทุกมิติ อาทิ การจ้างงาน การ สร้างหลักประกันทางการเงิน การดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง การพัฒนา นวัตกรรม สินค้าและบริการการดูแลสุขภาพ รวมทั้งการสนับสนุนนุกิจกรรมทาง สังคมต่างๆ เพื่อมุ่งหวังให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดี มีความมั่นคงในชีวิต และ หนึ่งในตัวอย่างของภาคธุรกิจเอกชน คือ บริษัท เอก-ชัย ดีสทริบิวชั่นซิสเทม จำ กัด เป็นบริษัทเอกชนที่มีความรับผิดชอบต่อสังคม ด้วยการพัฒนาและยก ระดับคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ โดยให้ความสำ คัญกับการส่งเสริมความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับสุขภาพทางกายและจิตใจที่ดีให้แก่ผู้สูงอายุ ซึ่งได้ออกแบบผลิตภัณฑ์ที่ คำ นึงถึงสุขภาพของผู้สูงอายุ และเปิดโอกาสในการจ้างงาน สร้างอาชีพ รวมทั้งส่ง เสริมให้พนักงานบริษัทมีส่วนร่วมในการสนับสนุนนุกิจกรรมเพื่อสังคม กิจกรรม ดังนี้ 1) การเสวนา เรื่อง สะสมสุขภาพดีเป็นบำ นาญชีวิต เปิดโอกาสในการสร้างรายได้ และใส่ใจผู้สูงวัย ใส่ใจผู้ดูแล โดยไอดอลด้านการดูแลสุขภาพ นายแพทย์สมชัย คุณณัฐรดา สุขสุธรรมวงศ์ และผู้แทนผู้สูงอายุที่ทำ งานภายใต้ บริษัท เอก-ชัย ดี สทริบิวชั่นซิสเทม จำ กัด 2) การเสวนาเรื่องการดูแลผู้สูงอายุขั้นเบื้องต้น ความรู้ทั่วไป สิทธิและสวัสดิการ ทักษะพื้นฐานในการดูแลผู้สูงอายุ โดย นางสาวกอบกุล กวั่งซ้วน ผู้เชี่ยวชาญด้าน ผู้สูงอายุ กรมกิจการผู้สูงอายุ ด้านอาหารและโภชนาการสำ หรับผู้สูงอายุ โดย นายสุพจน์ รื่นเริงกลิ่น นักโภชนาการชำ นาญการพิเศษ กรมอนามัย เรื่องโรค และกลุ่มอาการผู้สูงอายุและการปฐมพยาบาลเบื้องต้น โดย นางทิวาพร วิถี พยาบาลวิชาชีพชำ นาญการ ศูนย์บริการสาธารณสุข 5 จุฬาลงกรณ์ 3) บูธจำ หน่ายสินค้าจากเครือข่ายผู้สูงอายุ และ 4) บูธตรวจสุขภาพสำ หรับผู้สูงอายุ การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ โดยเอกชน 12


ผู้สูงอายุเป็นบุคคลที่มีอายุมากกว่า 60 ปีขึ้นไป ทั้งเพศชายและเพศหญิง สังคมไทยกำ ลังก้าวเข้า สู่สังคมผู้สูงอายุอย่างเต็มที่ รัฐบาลควรจะมีการวางแผนเพื่อรองรับผู้สูงอายุ จากสถานการณ์ที่ณ์ ที่ ผ่านมาสังคมไทยมีประชากรผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไปจำ นวน 11.6 ล้านคน ซึ่งบางคนพอได้ยินคำ ว่า ผู้สูงอายุจะคิดว่าผู้สูงอายุเป็นบุคคลที่อ่อนแอเป็นบุคคลที่เสื่อมโทรมไร้ประสิทธิภาพ แต่ผู้สูง อายุไม่ใช่ผู้ที่ด้อยโอกาสหรือเป็นภาระต่อสังคม ผู้สูงอายุเป็นบุคคลที่มีความคิดความสามารถ มี คุณค่าและศักดิ์ศรีเท่าเทียมกับทุกวัย ทฤษฎีที่เกี่ยวกับผู้สูงอายุจะมีอยู่ 3 ทฤษฎีได้แก่ ทฤษฎี ด้านชีววิทยา ทฤษฎีด้านจิตวิทยา และทฤษฎีด้านบุคลิกภาพ จะขอยกตัวอย่างการพัฒนาผู้สูง อายุในประเทศสวีเดน ประเทศสวีเดนเป็นประเทศที่ต้องเผชิญกับปัญหาประชากรผู้สูงอายุโดย ประเมินว่าอีก 10 ปีข้างหน้าน้ประชากร ที่มีอายุ 80 ปีขึ้นไปจะเพิ่มขึ้นร้อยละ 47 นอกจากนี้ ประเทศสวีเดนมีสวัสดิการมากมายให้กับผู้สูงอายุเช่นด้านที่อยู่อาศัยให้กับผู้สูงอายุมีกองทุนผู้ สูงอายุ แต่มีข้อดีแล้วก็ย่อมมีปัญหาตามมาประเทศสวีเดนอาจจะมีบางกลุ่มที่ยังไม่สนใจปรับ ตัว ให้เข้ากับเทคโนโลยีและสื่อใหม่ๆจึงไม่สามารถเข้าถึงได้ความสำ คัญของ คุณภาพชีวิต จุดมุ่ง หมายของทุกคนจะอยู่ที่ชุมชนและประเทศชาติ หากประชากร ด้อยคุณภาพ ถึงจะมีทรัพยากรที่ ดีก็ไม่สามารถที่ทำ ให้ประเทศเจริญได้และพัฒนาให้เท่าเทียมกับประเทศอื่น ทั้งนี้ผู้สูงอายุยังมี หน่วยงานต่างๆเข้ามาเกี่ยวข้องกับเรื่องการจัดสวัสดิการให้กับผู้สูงอายุ จะขอยกตัวอย่าง เช่น กรมกิจการผู้สูงอายุ (ผส.) กรมในสังกัดกระบวนการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษนุย์จะมี อำ นาจดูแลผู้สูงอายุให้ได้รับสิทธิ์ตามกฎหมายทุกคน การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุในบ้าน อาสา สมัครดูแลผู้สูงอายุ อผส. จะเป็นอาสาดูแลผู้สูงอายุในชุมชนที่ขาดการดูแลที่ถูกทอดทิ้งที่ช่วย เหลือตนเองไม่ได้และถูกละเลยจากคนในครอบครัวหรือสังคม อาสาสมัครจะเข้าไปดูแลหรือ เป็นสื่อกลางในการประสานงานส่งต่อบริการสังคมให้แก่ผู้สูงอายุที่มีประสบการณ์หณ์าทุกข์ยาก เดือดร้อน ทั้งนี้ยังมีอีกมากมายหน่วยงานที่เข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการสวัสดิการให้กับผู้สูง อายุเพื่อให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพที่ดีขึ้น สรุปความรู้ว่าการเรียนวิชาการพัฒนา คุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ 13


Click to View FlipBook Version