The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by 12, 2023-01-03 20:58:29

pdf_20230104_085611_0000

pdf_20230104_085611_0000

รายงาน
การเลือกซื้ออาหารกระป๋อง

จัดทําโดย

ด.ช.เจษฎากร กรงรัมย์ เลขที่3
ด.ช.ณพลพัทธ์ โพธิ์ธนานนท์ เลขที่6

ด.ช.นวรัตน์ กนกแก้ว เลขที่12
ด.ช.ปริยะวัฒน์ วารีดํา เลขที่14
ด.ช.พลพล ยวนเขียว เลขที่15

เสนอ

อาจาร์ศิริรักษ์ สมพงษ์

รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาการงาน
วิชาการงานอาชีพ (ง23201)
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565

สารบัญ ก

ปกรายงาน ข

คํานํา 4

ประเภทกระป๋อง 5
การเลือกซื้อ 6

การเลือกซื้อ
กระป๋องเคลือบดีบุก 7

กระป๋องเคลือบแลคเกอร์
กระป๋องอลูมิเนียม 8
กระป๋องกระดาษ
9
บรรณานุกรม
10


11

คํานํา

รายงานนี้ทําขึ้นมาเพื่อเป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาการงาน เพื่อ
ให้ได้ความรู้เกี่ยวกับการเลือกซื้ออาหารกระป๋องและได้หา
ข้อมูลจาก เว็ปไซต์,หนังสือ ซึ่งมีเนื้อหาเกี่ยวกับ การเลือกซื้อ
อาหารกระป๋อง

ผู้ทําหวังว่ารายงานนี้จะให้ความรู้แก่ผู้ที่สนใจ

ประเภทของกระป๋อง

กระป๋องเคลือบ กระป๋องเคลือบ
ดีบุก แลคเกอร์

กระป๋องอลูมิเนียม กระป๋องกระดาษ

การเลือกซื้ออาหารกระป๋อง

1. กระป๋องต้องสุกใสเป็นเงางาม ต้องไม่บุบบี้หรือโป่งพอง ตะเข็บหรือ
รอยต่อต้องแน่นหนา ขอบกระป๋องต้อง ไม่นูนหรือโป่งออกมา และ
กระป๋องต้องไม่เป็นสนิม

2. ส่วนอื่นของฝากระป๋อง หรือตัวกระป๋อง
โป่งหรือพองออก ไม่ควรเลือกกระป๋อง
นั้น

3. ถ้ามีอากาศ(ลม)พุ่งออกมาจากภายใน
กระป๋อง ห้ามกินอาหารในกระป๋อง

4. ถ้ามีเสียงกระฉอกของน้ำ ไม่ควรซื้อ
หรือแม้จะเป็นกระป๋องอื่นชนิดเดียวกัน
5. กลิ่นผิดแปลกไปจากที่เคยใช้หรือ
เคยกินห้ามกินอาหารในกระป๋อง

6. ศึกษาวันเดือนปีที่ผลิตอาหารกระป๋องนั้น ไม่
ควรซื้อหรือกินอาหารกระป๋องที่เก็บไว้นาน

กระป๋องเคลือบดีบุก

กระป๋องชนิดนี้ทำจากแผ่นเหล็กเคลือบ
ดีบุกเหมาะสำหรับบรรจุ ผักผลไม้ที่มีสี
อ่อน ไม่มีสีขาวละลายน้ำ มีความเป็นกรด
ต่ำ (pH สูงกว่า 4.5) และมีโปรตีนต่ำ เช่น
ลิ้นจี่ ลำไย เงาะ แห้ว สับปะรด เป็นต้น ผล
ไม้เหล่านี้ เมื่อใส่กระป๋องชนิดนี้ จะทำให้มี
รสชาติและสีเป็นที่ยอมรับของผู้บริโภค

มากกว่าบรรจุในกระป๋องเคลือบ
แลคเกอร์ ทั้งนี้เพราะกรดในผลไม้เมื่อทำ
ปฏิกิริยากับดีบุกที่เคลือบผิวกระป๋อง จะ
ทำให้อาหารมีกลิ่นและรสเฉพาะรวมทั้ง

ทำให้อาหารมีสีขาวขึ้น

กระป๋องเคลือบแลคเกอร์

กระป๋องชนิดนี้ทำจากแผ่นเหล็กเคลือบดีบุกหรือแผ่น
เหล็กเคลือบโครเมี่ยม หรือแผ่นอลูมิเนียม แล้วนำมา

เคลือบแลคเกอร์ที่ผิวอีกชั้นหนึ่ง เพื่อป้องกันมิให้
คุณภาพของอาหารเสียไปเหมาะสำหรับบรรจุอาหารที่

ทำปฏิกิริยากับดีบุกหรือเหล็กแล้วทำให้คุณภาพ
อาหารเสียไป ใช้บรรจุอาหารจำพวกเนื้อสัตว์และปลา
ที่มีสารประกอบของกำมะถันอยู่ในปริมาณที่สูง เช่น
ผลิตภัณฑ์ อาหารทะเลหรือผักบางชนิด รวมทั้งผัก
หรือผลไม้ที่มีสี และอาหารที่มีฤทธิ์เป็นกรดค่อนข้างสูง
เช่น ผลไม้บางชนิด นอกจากนี้อาหารบางชนิดที่มีการ
เติมสารฟอกสี พวกโซเดียมเมตตาไบซัลไฟท์ จำเป็น
ต้องบรรจุในกระป๋องเคลือบแลคเกอร์ เช่น เห็ด หน่อไม้

หน่อไม้ฝรั่ง ฯลฯ ทั้งนี้เนื่องจากเมื่อกำมะถันทำ
ปฏิกิริยากับดีบุกที่เคลือบกระป๋องทำให้เกิดรอยดำ
แม้ว่าบริโภคแล้วจะไม่เป็นอันตรายต่อร่างกาย แต่ไม่
เป็นที่ยอมรับของผู้บริโภคในการเลือกใช้กระป๋อง
เคลือบแลคเกอร์ ผู้ผลิตต้องเลือกใช้ชนิดของแลคเกอร์

ให้เหมาะสมกับอาหารแต่ละชนิดด้วย

กระป๋องอลูมิเนียม

ถึงแม้การใช้แผ่นเหล็กทำภาชนะบรรจุจะมี
ความก้าวหน้ามากก็ยังมีผู้สนใจที่จะหาภาชนะ

บรรจุจากโลหะอื่นๆอีก
โลหะที่ได้รับความสนใจมากคือ อลูมิเนียมมี
คุณสมบัติทนต่อการกัดกร่อนของกรดและมี

น้ำหนักเบา
กระป๋องอลูมิเนียมที่ใช้บรรจุอาหารก็มี เช่น

ปลากระป๋อง เครื่องดื่ม นมผง ฯลฯ
กระป๋องอลูมิเนียมเกือบทุกชนิดเป็นแบบที่ใช้
ความสะดวกในการเปิด เช่น มีแหวนสำหรับ

เปิดฝาออก หรือเปิดขอบข้างริมตะเข็บ

กระป๋องกระดาษ

เป็นภาชนะบรรจุที่ทำจากวัสดุ 2 ชนิด คือ ตัวกระป๋องทำด้วย
กระดาษแข็ง



แต่ฝาทำด้วยโลหะหรือพลาสติก ตัวทำด้วยกระดาษแข็ง
โดยปกติทำด้วยกระดาษกราฟ



เมื่อม้วนตัวกระดาษแข็งเรียบร้อย แล้วก็บุทับอีกทีหนึ่ง สิ่งที่
ใช้บุอาจทำด้วย Panchment paper



กระดาษชุบเทียน แผ่นอลูมิเนียม glassine หรือกระดาษชุบ
โพลิเอทิลีน ฝาอาจจะทำเป็นแบบครอบหรือสวม



หรืออาจทำเป็นตะเข็บคู่ กระป๋องแบบนี้มีลักษณะที่ดีกว่า
กระป๋องโลหะ เพราะสามารถทำลายได้ง่าย



ในปัจจุบันกระป๋องแบบนี้ใช้บรรจุอาหารจำพวก มันฝรั่งทอด
กรอบ (potato chip) ถั่วอบ หรืออาหารแห้งอื่นๆ เป็นต้น

บรรณานุกรม

https://sites.google.com/site/foodtechnologyca
nned/canned/prapheth-khxng-krapxng

https://www.doctor.or.th/article/
detail/3375


Click to View FlipBook Version