The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตรการรู้หนังสือ 2557

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ครูณัชชา, 2022-09-05 06:40:08

หลักสูตรการรู้หนังสือ 2557

หลักสูตรการรู้หนังสือ 2557

หลกั สตู รการรู้หนงั สือไทย
พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๗

ส�ำ นักงานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
ส�ำ นกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
กระทรวงศกึ ษาธิการ

เอกสารทางวิชาการหมายเลข ๓๓/๒๕๕๗

ชอื่ หนงั สือ : หลกั สตู รการรู้หนงั สอื ไทย พทุ ธศักราช ๒๕๕๗

เอกสารทางวิชาการหมายเลข : ๓๓/๒๕๕๗

จัดพิมพ์และเผยแพร่ : กลุ่มพัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรยี น
สำ�นกั งานสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั
ส�ำ นักงานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
กระทรวงศึกษาธกิ าร
โทรศพั ท ์ ๐ ๒๒๘๒ ๑๘๙๕, ๐ ๒๒๘๒ ๖๑๘๐
โทรสาร ๐ ๒๒๘๑ ๓๗๓๒

เว็บไซท์ : http://www.nfe.go.th/0405

คำ�นำ�

การส่งเสริมให้บุคคลที่ไม่รู้หนังสือไทยหรือลืมหนังสือไทย และประชาชนทั่วไปที่สนใจ
จะเรยี นรภู้ าษาไทยไดเ้ รยี นรหู้ นงั สอื ไทย เพอ่ื ใหผ้ เู้ รยี นมคี วามสามารถในการฟงั พดู อา่ น เขยี นภาษาไทย
และคิดคำ�นวณเบ้ืองต้นท่ีสามารถนำ�ไปใช้ในชีวิตประจำ�วัน อันจะเป็นทักษะพ้ืนฐานในการแสวงหา
ความรไู้ ดอ้ ยา่ งตอ่ เนอื่ ง รวมทง้ั ปลกู จติ ส�ำ นกึ และความเปน็ ไทย อนรุ กั ษแ์ ละพฒั นาทรพั ยากรธรรมชาติ
และส่ิงแวดล้อม มีคุณธรรม จริยธรรม สามารถอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างสันติสุข โดยเน้นการเรียนรู้
ตามสภาพ ความตอ้ งการ และปัญหาของสังคมทผี่ กู พนั กบั วิถกี ารด�ำ เนินชวี ติ ของผ้เู รยี น เป็นบทบาท
หนา้ ทข่ี องส�ำ นกั งานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ทต่ี อ้ งจดั สง่ เสรมิ สนบั สนนุ
ให้ภาคีเครือข่ายท้ังภาครฐั และเอกชนรว่ มดำ�เนินการ โดยส�ำ นักงานส่งเสริมการศกึ ษานอกระบบและ
การศึกษาตามอธั ยาศยั ได้จัดท�ำ หลกั สูตรการร้หู นังสอื ไทย พุทธศกั ราช ๒๕๕๗ ข้ึน และมกี ารกำ�หนด
หัวข้อของหลักสูตรเกี่ยวกับหลักการ จุดหมาย กลุ่มเป้าหมาย โครงสร้าง การจัดหลักสูตร การจัด
กระบวนการเรยี นรู้ สอ่ื และแหลง่ การเรยี นรู้ การวดั และประเมนิ ผล การจบหลกั สตู ร เอกสารหลกั ฐาน
การศึกษา และการบริหารหลักสูตร ทั้งนี้ สถานศึกษาที่จะน�ำ หลักสูตรน้ีไปใช้ต้องน�ำ ขอบข่ายเน้ือหา
มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดที่กำ�หนด ไปพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาให้สอดคล้องกับสภาพ ปัญหา
ความตอ้ งการของผ้เู รยี น ชุมชน และสงั คม
ในการพัฒนาหลักสูตรการรู้หนังสือไทย พุทธศักราช ๒๕๕๗ สำ�เร็จลงได้ด้วยความ
รว่ มมือจากผู้ทรงคณุ วฒุ ิ ผู้บรหิ าร เจา้ หนา้ ท่ี ครู กศน. และภาคเี ครอื ขา่ ยท่ไี ดเ้ สนอแนะความคดิ เห็น
อนั เปน็ ประโยชนย์ ง่ิ ตอ่ การพฒั นาเปน็ หลกั สตู รการรหู้ นงั สอื ไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๗ ส�ำ นกั งานสง่ เสรมิ
การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย ขอขอบคณุ ในความรว่ มมือมาในโอกาสน้ี

(นายประเสรฐิ บุญเรอื ง)
เลขาธกิ าร กศน.







สารบัญ หนา้


ค�ำ น�ำ ๒
สารบญั ๒
ความน�ำ ๒
หลกั การ ๒
จดุ หมาย ๒
กลมุ่ เป้าหมาย ๒
โครงสรา้ ง ๓
๑. ระดับการศกึ ษา ๓
๒. มาตรฐานการเรียนรู้ ๔
๓. ตวั ช้ีวัด ๔
๔. ขอบขา่ ยเน้อื หา ๕
๕. เวลาเรยี น ๗
การจัดหลกั สตู ร ๗
การจัดกระบวนการเรียนร้ ู ๘
สอื่ และแหลง่ การเรียนร ู้ ๘
การวัดและประเมินผล ๘
การจบหลกั สูตร ๑๑
เอกสารหลกั ฐานการศึกษา ๑๓
การบริหารหลกั สตู ร ๑๔
ภาคผนวก ๑๕
นิยามศพั ท ์ ๓๑
ตวั อยา่ งคลงั คำ�หลกั ๓๔
รายละเอียดคำ�หลักของสภาพการเรยี นรู้ ๔๔
ค�ำ หลกั และสัญลักษณท์ างคณติ ศาสตรท์ ี่เกีย่ วข้องกับชีวติ ประจำ�วัน
บรรณานกุ รม
คณะผู้จัดท�ำ



หลกั สูตรการรู้หนงั สอื ไทย
พทุ ธศักราช ๒๕๕๗

ความนำ�
การรหู้ นงั สอื เปน็ คณุ สมบตั พิ น้ื ฐานทจ่ี �ำ เปน็ ตอ่ การเรยี นรแู้ ละการสอ่ื สารในสงั คมปจั จบุ นั เปน็ บนั ได
ขน้ั แรกของการแสวงหาความรู้อันมหาศาลในโลกนี้ และเป็นการเช่ือมโยงการส่ือสารของผู้คนต่าง ๆ
ในสังคมนีเ้ ขา้ ด้วยกัน องค์การยเู นสโกถือว่าการร้หู นังสอื เป็นประตสู อู่ ิสรภาพของมนุษยชาติ
ประชาชนชาวไทยทกุ คนมสี ทิ ธไิ ดร้ บั การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานอยา่ งเทา่ เทยี มและมคี ณุ ภาพ ซง่ึ รฐั บาล
ทกุ ยคุ ทกุ สมยั ใหค้ วามส�ำ คญั ในการสง่ เสรมิ สนบั สนนุ ใหบ้ คุ คลไดเ้ รยี นรภู้ าษาไทยเพอ่ื การตดิ ตอ่ สอ่ื สารใหเ้ ขา้ ใจ
ตรงกนั และสามารถนำ�ความรู้ไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตได้ ตามความต้องการและความสนใจ
ของแตล่ ะบคุ คล รวมทง้ั การใชภ้ าษาไทยเปน็ เครอ่ื งมอื ในการแสวงหาความรไู้ ดอ้ ยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ประเทศไทย
มภี าษาไทยเปน็ ภาษาประจ�ำ ชาติ เปน็ ภาษากลางในการสอ่ื สาร เปน็ มรดกทางวฒั นธรรม การรหู้ นงั สอื ไทย
เป็นความสามารถพน้ื ฐานในการตดิ ตอ่ สอ่ื สาร การเรยี นรู้ การแสวงหาความรอู้ ยา่ งตอ่ เนอ่ื งตลอดชวี ติ
คนไทยทกุ คนและผู้อาศัยอยู่ในประเทศไทย จึงจำ�เป็นต้องเรียนรู้ภาษาไทยให้เข้มแข็ง อันเป็นเครื่อง
แสดงถึงความเปน็ ไทย ความภาคภมู ิใจ ความมเี อกลกั ษณ์ มอี ารยธรรม และความเจรญิ ของชาตไิ ทย
การรหู้ นงั สอื เปน็ สทิ ธขิ นั้ พนื้ ฐานและเปน็ เครอื่ งมอื สำ�คญั ส�ำ หรบั การพฒั นาทรพั ยากรมนษุ ย์
และรัฐบาลไทยได้ให้ความสำ�คัญในการส่งเสริมสนับสนุนให้ประชาชนชาวไทยและประชาชนท่ัวไป
ได้เรียนรู้ภาษาไทย เพ่ือการติดต่อสื่อสารให้เข้าใจตรงกัน และสามารถนำ�ความรู้ไปใช้ในการพัฒนา
คณุ ภาพชวี ติ ไดต้ ามความตอ้ งการและความสนใจของแตล่ ะบคุ คล รวมทงั้ การใชภ้ าษาไทยเปน็ เครอื่ งมอื
ในการแสวงหาความรไู้ ดอ้ ยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ประเทศไทยยงั มผี ไู้ มร่ หู้ นงั สอื อยมู่ ากพอสมควร ดงั จะเหน็ ไดจ้ าก
สถติ ขิ อ้ มลู ประชากรวยั แรงงาน พ.ศ. ๒๕๕๒ ของส�ำ นกั งานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษา
ตามอธั ยาศยั ระบวุ า่ ประชากรทม่ี อี ายตุ ง้ั แต่ ๑๕ - ๕๙ ปี จ�ำ นวน ๑๑,๑๙๐,๗๕๘ คนทว่ั ประเทศ เปน็
ผไู้ มร่ หู้ นังสือ จ�ำ นวน ๒๖๒,๗๐๘ คน นอกจากน้ันยังมผี ู้ท่รี หู้ นงั สือแลว้ แต่ไม่ไดใ้ ช้ทักษะการรหู้ นงั สือ
อยา่ งตอ่ เนอื่ งจะมโี อกาสลมื หนงั สอื ได้ รวมทง้ั มชี าวตา่ งชาตซิ ง่ึ อยอู่ าศยั และประกอบสมั มาอาชพี อยใู่ น
ประเทศไทย แต่ยังไม่สามารถใช้ภาษาไทยได้อย่างดีอีกจำ�นวนไม่น้อย ดังน้ัน จึงมีความจำ�เป็นต้องมี
หลกั สตู รการรู้หนงั สอื ไทย พทุ ธศักราช ๒๕๕๗ เพอ่ื ส่งเสริมใหป้ ระชาชนชาวไทยที่ไม่รหู้ นังสือ หรอื ลมื
หนงั สอื และประชาชนทวั่ ไปทสี่ นใจจะเรยี นรภู้ าษาไทยไดเ้ รยี นรหู้ นงั สอื ไทย อนั จะเปน็ ทกั ษะพนื้ ฐานใน
การแสวงหาความรไู้ ดอ้ ยา่ งตอ่ เนอื่ ง ส�ำ นกั งานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั
จงึ ไดด้ �ำ เนินการจดั ทำ�หลักสูตรการรหู้ นังสอื ไทย พุทธศักราช ๒๕๕๗ เพือ่ เปน็ แนวทางใหส้ ถานศกึ ษา
รว่ มกบั ภาครฐั เอกชน ชุมชน และสงั คม น�ำ ไปพัฒนาสภาพการเรียนรูเ้ ฉพาะสถานศกึ ษาตอ่ ไป

หลักสูตรการรู้หนงั สือไทย พทุ ธศักราช ๒๕๕๗ 1

หลกั การ
๑. เป็นการจัดการศกึ ษาตามหลกั การการรหู้ นงั สอื แบบเบด็ เสรจ็ (Functional Literacy)
ทเ่ี นน้ การเรยี นรหู้ นงั สอื ไทย และการคดิ ค�ำ นวณเบอ้ื งตน้ ทบ่ี รู ณาการกบั สภาพ ความตอ้ งการ และปญั หา
ของสังคมทส่ี อดคลอ้ งกบั วถิ ีการด�ำ เนนิ ชวี ติ ของผเู้ รยี น
๒. มคี วามยดื หยนุ่ ทง้ั เนอ้ื หา เวลาเรยี น วธิ เี รยี น สอ่ื แหลง่ การเรยี นรู้ วธิ กี ารวดั และประเมนิ ผล
โดยเนน้ การพัฒนาการเรียนรู้ของผ้เู รียนทแ่ี ตกตา่ งกันเป็นรายบคุ คล
๓. เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้นำ�ความรู้และประสบการณ์มาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ตามปรัชญา
คดิ เป็น ส่งเสริมการมสี ว่ นร่วมของผูเ้ รียน ครอบครัว ชุมชน และสงั คม เปน็ ส�ำ คัญ

จุดหมาย
ผเู้ รยี นมคี วามรู้ ความสามารถ และทกั ษะการฟงั พดู อา่ น เขยี นภาษาไทย และการคดิ ค�ำ นวณ
เบอ้ื งตน้ ในเรอ่ื งทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั ชวี ติ ประจ�ำ วนั และใชเ้ ปน็ เครอ่ื งมอื ในการสอ่ื สารกบั ผอู้ น่ื ตลอดจนแสวงหา
ความรเู้ พอ่ื การพัฒนาคณุ ภาพชีวิต

กลุม่ เป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย ไดแ้ ก่
๑. ประชาชนชาวไทยที่ไม่รหู้ นงั สอื ไทย
๒. ประชาชนชาวไทยที่ลมื หนังสือไทย
๓. ประชาชนชาวไทยกลมุ่ เปา้ หมายเฉพาะบางกลุม่ ทไี่ มใ่ ช้ภาษาไทยในชวี ติ ประจ�ำ วัน
๔. ประชาชนทว่ั ไปทสี่ นใจจะเรียนรภู้ าษาไทย

โครงสรา้ ง
เพ่ือใหก้ ารจดั การศกึ ษาเป็นไปตามหลกั การ จุดหมาย และมาตรฐานการเรยี นร้ทู ่กี �ำ หนดไว้
ให้สถานศึกษาและภาคีเครือข่ายมีแนวปฏิบัติในการพัฒนาสภาพการเรียนรู้เฉพาะสถานศึกษา จึงได้
ก�ำ หนดโครงสรา้ งของหลักสตู รการรู้หนังสือไทย พุทธศักราช ๒๕๕๗ ไว้ดังนี้
๑. ระดับการศกึ ษา
ระดับการรู้หนงั สอื ไทย
๒. มาตรฐานการเรยี นรู้
หลักสูตรการรู้หนังสือไทย พุทธศักราช ๒๕๕๗ กำ�หนดมาตรฐานการเรียนรู้ที่เป็น
ข้อก�ำ หนดคณุ ภาพของผเู้ รยี น ดังน้ี

2 หลักสูตรการรูห้ นังสือไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๗

๒.๑ มีความรู้ ความเข้าใจ และทักษะในการฟงั พูด อ่าน เขียน คำ�ท่ีใชใ้ นชวี ิตประจ�ำ วนั
อยา่ งนอ้ ย ๘๐๐ ค�ำ
๒.๒ สามารถใชพ้ ยัญชนะ สระ วรรณยกุ ต์ ในภาษาไทย
๒.๓ สามารถใชก้ ารค�ำ นวณเบือ้ งตน้ ในเร่อื งทเี่ กย่ี วขอ้ งกับชวี ติ ประจำ�วนั
๓. ตวั ชี้วดั
๓.๑ ฟงั พดู อา่ น เขยี น ค�ำ ประโยค ไดอ้ ยา่ งเขา้ ใจ และสามารถน�ำ ไปใชใ้ นโอกาสตา่ ง ๆ
๓.๒ ปฏบิ ัติตนเป็นผูม้ ีมารยาทในการฟงั พดู อ่าน และเขยี น
๓.๓ อ่าน เขียนตัวเลขไทย เลขอารบิก จำ�นวน และคำ�นวณ การบวก ลบ คูณ หาร
เบอ้ื งตน้ ทใี่ ชใ้ นชวี ติ ประจำ�วัน
๓.๔ ใชภ้ าษาไทยในชวี ิตประจ�ำ วันได้ถกู ตอ้ ง
๓.๕ เลา่ เร่อื ง และแสดงความร้สู ึกเก่ยี วกบั ตนเอง ครอบครวั และชมุ ชน
๔. ขอบขา่ ยเนอ้ื หา
ขอบข่ายเน้ือหาประกอบด้วยการเรียนรู้คำ�หลัก อย่างน้อย ๘๐๐ คำ� ซึ่งเป็นการเรียนรู้
ที่ประกอบด้วยทักษะการฟัง พูด อ่าน เขียน การใช้พยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ และการคิดคำ�นวณ
เบื้องต้น โดยบูรณาการอยู่ในสภาพการเรยี นรู้ทีส่ อดคลอ้ งกับวถิ ชี วี ิตของผเู้ รียน ครอบครัว ชมุ ชน และ
สังคม อย่างนอ้ ย ๑๒ สภาพ ดังนี้
สภาพที ่ ๑ เมอื งไทยของเรา โดยเนน้ การเรยี นรเู้ กยี่ วกบั ชาติ ศาสนา และพระมหากษตั รยิ ์
สภาพท ่ี ๒ ชวี ติ ของเรา โดยเนน้ การเรยี นรเู้ กย่ี วกบั รา่ งกายของเรา ครอบครวั และเครอื ญาติ
อาหาร การออกก�ำ ลงั กายและนนั ทนาการ สขุ อนามยั โรคภัยไขเ้ จ็บ และเรอ่ื งใกลต้ วั
สภาพที่ ๓ ภยั ใกลต้ วั โดยเนน้ การเรยี นรเู้ กยี่ วกบั การพนนั อนั ตราย และภยั จากสงิ่ เสพตดิ
สภาพท ่ี ๔ การทำ�มาหากิน โดยเน้นการเรียนรู้เก่ียวกับอาชีพ ผลิตภัณฑ์ชุมชน เงินตรา
เศรษฐกิจ และการตลาดในชุมชน
สภาพที ่ ๕ สง่ิ แวดลอ้ มยง่ั ยืน โดยเน้นการเรียนร้เู ก่ียวกบั การอนุรักษ์ทรพั ยากรธรรมชาติ
ดนิ และป่าไม้ แหลง่ นาํ้ ภัยธรรมชาติ มลพิษ และการอนุรักษ์ส่งิ แวดลอ้ ม
สภาพท ่ี ๖ ชมุ ชนเขม้ แขง็ โดยเนน้ การเรยี นรเู้ กย่ี วกบั การรวมกลมุ่ กฎ ระเบยี บของชมุ ชน
จติ สาธารณะ ประชาธปิ ไตย การปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ และการอยู่รว่ มกัน
สภาพท ี่ ๗ กฎหมายน่ารู้ โดยเน้นการเรียนรู้เก่ียวกับกฎหมายครอบครัว และมรดก
กฎหมายจราจร กฎหมายแรงงาน

หลักสตู รการร้หู นังสอื ไทย พทุ ธศักราช ๒๕๕๗ 3

สภาพที่ ๘ คณุ ธรรมนำ�สนั ตสิ ขุ โดยเนน้ การเรยี นรเู้ กย่ี วกบั ความสภุ าพ ออ่ นนอ้ ม ซอ่ื สตั ย์
กตญั ญู ขยนั ประหยดั สามคั คี มนี ํ้าใจ และมีวินัย
สภาพท ่ี ๙ เปดิ โลกเรียนรู้ โดยเนน้ การเรยี นรเู้ กย่ี วกบั แหลง่ เรยี นรู้ การคดิ เปน็ กบั การเรยี นรู้
การแสวงหาความรู้ และสถานทส่ี �ำ คญั ของชุมชน
สภาพท ่ี ๑๐ เทคโนโลยีใกล้ตัว โดยเน้นการเรียนรู้เก่ียวกับเทคโนโลยีท่ีเก่ียวข้องกับชีวิต
ประจ�ำ วัน และเครอื ขา่ ยสังคมออนไลน์ เทคโนโลยีการใชป้ ยุ๋ ยาฆา่ แมลง สารเคมี และสารพษิ
สภาพท่ี ๑๑ พลังงาน โดยเน้นการเรียนรู้เกี่ยวกับพลังงาน การประหยัดพลังงานและ
การเลือกใช้พลังงาน
สภาพท่ ี ๑๒ ทอ่ งเที่ยวท่วั ไทย โดยเนน้ การเรียนรูเ้ กี่ยวกบั ประเพณี วฒั นธรรม ขอ้ มูลและ
แหลง่ ทอ่ งเทย่ี ว เสน้ ทางการทอ่ งเทย่ี ว การจดั การทอ่ งเทย่ี วและมคั คเุ ทศก์ สง่ เสรมิ อาชพี เพอ่ื การทอ่ งเทย่ี ว
และสญั ลักษณ์ทีค่ วรรู้
๕. เวลาเรยี น
ใช้เวลาเรียนตลอดหลักสูตรการรู้หนังสือไทย พุทธศักราช ๒๕๕๗ ไม่น้อยกว่า
๒๐๐ ชัว่ โมง

การจดั หลักสูตร
หลกั สตู รการรหู้ นงั สอื ไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๗ ประกอบดว้ ยความรแู้ ละทกั ษะภาษาไทย ไดแ้ ก ่
การฟงั พดู อา่ น และเขยี น ค�ำ หลกั ทใ่ี ชใ้ นชวี ติ ประจำ�วนั ไมน่ อ้ ยกวา่ ๘๐๐ ค�ำ จากค�ำ หลกั ของหลกั สตู ร
๑,๐๐๙ ค�ำ รวมทงั้ การคดิ ค�ำ นวณเบอ้ื งตน้ โดยบรู ณาการกบั สภาพการเรยี นรทู้ สี่ อดคลอ้ งกบั วถิ ชี วี ติ ของ
ผเู้ รยี น ครอบครวั ชมุ ชน และสงั คม จ�ำ นวน ๑๒ สภาพ ทง้ั น้ี ก�ำ หนดใหผ้ เู้ รยี นทกุ คนตอ้ งเรยี นรู้ สภาพท่ี ๑
เมอื งไทยของเรา ตามขอบขา่ ยเนอ้ื หาทก่ี �ำ หนด และเลอื กเรยี นเพม่ิ เตมิ อกี ๑๑ สภาพ ซง่ึ เปน็ อสิ ระตอ่ กนั
โดยเรียนตามท่ีหลักสูตรกำ�หนดให้ หรือสถานศึกษาอาจพัฒนาเพิ่มข้ึนใหม่ตามความต้องการของ
ผู้เรียน ครอบครวั ชมุ ชน และสงั คม หรอื ตามสถานการณ/์ เหตกุ ารณต์ า่ ง ๆ ทเ่ี กดิ ขน้ึ ในทอ้ งถน่ิ โดยสถานศกึ ษา
กำ�หนดสภาพให้สอดคล้องกับแต่ละสภาพของท้องถิ่นตามโครงสร้างหลักสูตรการรู้หนังสือไทย
พุทธศักราช ๒๕๕๗

4 หลักสตู รการรู้หนงั สอื ไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๗

รายละเอียดการจดั หลักสูตรการรู้หนงั สือไทย พุทธศกั ราช ๒๕๕๗ ดงั น้ี
๑. สถานศึกษาจัดให้ผู้เรียน เรียนรู้ สภาพท่ี ๑ เมืองไทยของเรา ตามขอบข่ายเน้ือหาที่
ก�ำ หนด และเลอื กเรยี นเพม่ิ เตมิ อกี ๑๑ สภาพ รวม ๑๒ สภาพ ตามทห่ี ลกั สตู รก�ำ หนด โดยสามารถเลอื ก
ใชค้ �ำ หลกั ทกี่ �ำ หนดไวใ้ นแตล่ ะสภาพ หรอื เพอื่ ใหย้ ดื หยนุ่ ตามความตอ้ งการของผเู้ รยี น ครอบครวั ชมุ ชน
และสงั คม สถานศกึ ษากบั ผเู้ รยี นสามารถปรบั เปลย่ี นค�ำ หลกั ใหส้ อดคลอ้ งกบั หวั เรอ่ื งนน้ั ในแตล่ ะสภาพได้
โดยสถานศึกษาจดั ให้มกี ารเรียนรู้รวมกนั ทัง้ หลักสูตร อยา่ งน้อย ๘๐๐ ค�ำ
๒. สถานศึกษาสามารถเพิ่มเติมสภาพการเรียนรู้ขึ้นใหม่ได้ตามความต้องการของผู้เรียน
ครอบครวั ชมุ ชน และสงั คม โดยกำ�หนดชอื่ สภาพ หัวเรอ่ื ง และใชค้ �ำ หลักท่อี ยู่ในคลงั คำ�หลกั
๓. ใช้สภาพการเรียนรู้ท่ีมีเน้ือหาต่าง ๆ เป็นการจูงใจผู้เรียนท่ีมีความสนใจในเรื่องน้ัน ๆ
ตามสภาพการเรียนรู้ที่ก�ำ หนด เพื่อนำ�ไปสู่การเรียนรู้วิชาภาษาไทยกับการคิดค�ำ นวณเบ้ืองต้น ท่ีเป็น
เป้าหมายหลักของหลกั สตู รน้ี
๔. การเรยี นรแู้ ตล่ ะสภาพการเรยี นรู้ ควรเลอื กเนอ้ื หาทใ่ี กลต้ วั ผเู้ รยี น เพอ่ื ใหผ้ เู้ รยี นมคี วามรู้
ความเขา้ ใจ และสามารถนำ�ไปใช้ในชวี ติ ประจ�ำ วนั ได้
๕. การเรียนร้วู ิชาภาษาไทย ต้องการให้ผ้เู รียนเข้าใจ และมีทักษะการฟัง พูด อ่าน เขียน
ค�ำ หลกั และประโยคตา่ ง ๆ ทใ่ี ช้ในชีวิตประจ�ำ วนั
๖. การเรยี นรวู้ ชิ าเลขคณติ ตอ้ งการใหผ้ เู้ รยี นสามารถบวก ลบ คณู หาร ทใ่ี ชใ้ นชวี ติ ประจ�ำ วนั ได้
๗. หลักสูตรกำ�หนดให้ใช้เวลาเรียนตามหลักสูตรการรู้หนังสือไทย พุทธศักราช ๒๕๕๗
ไม่น้อยกว่า ๒๐๐ ช่ัวโมง สามารถยืดหยุ่นเวลาเรียนได้ ข้ึนอยู่กับความรู้พ้ืนฐานและความสามารถ
ในการเรยี นรขู้ องผู้เรยี น

การจดั กระบวนการเรยี นรู้
การจัดกระบวนการเรียนรู้ตามหลักสูตรการรู้หนังสือไทย พุทธศักราช ๒๕๕๗ มุ่งพัฒนา
ผูเ้ รียนใหม้ ีความสามารถในการฟงั พูด อา่ น และเขียน รวมทั้งการคิดค�ำ นวณเบือ้ งต้น โดยบูรณาการ
กับสภาพ ความต้องการ และปญั หาของสงั คมท่สี อดคลอ้ งกบั วถิ กี ารด�ำ เนนิ ชวี ติ ของผูเ้ รยี น ดงั น้ี
๑. จัดกระบวนการเรียนรู้ตามธรรมชาติการเรียนรู้ของกลุ่มเป้าหมาย โดยเรียนรู้คำ�หลัก
ไมน่ ้อยกวา่ ๘๐๐ คำ� ตามสภาพ ปญั หา และความต้องการของผเู้ รียน ชมุ ชน และสงั คม โดยน�ำ มา
เปน็ ประเดน็ ในการอภปิ ราย พดู คุย สนทนา เพือ่ ใหเ้ กิดกระบวนการเรยี นรู้ และเพม่ิ เติมการฝึกทกั ษะ
การฟัง พดู อ่าน และเขียน รวมทง้ั การคดิ คำ�นวณเบ้อื งตน้ ตามสภาพการเรียนรทู้ ีก่ �ำ หนดให้
๒. จัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลาย เช่น แลกเปลี่ยนความคิดเห็น พบผู้รู้/ภูมิปัญญา
เรียนรู้ด้วยตนเอง เรียนรู้กับครู/ผู้สอน ศึกษาดูงาน เรียนรู้จากการปฏิบัติจริงหรือเรียนรู้รูปแบบ/
วธิ กี ารอน่ื ทเ่ี หมาะสมในแตล่ ะสภาพจากสอ่ื และแหลง่ การเรยี นรทู้ ห่ี ลากหลายทเ่ี หมาะสมในแตล่ ะทอ้ งถน่ิ

หลักสูตรการร้หู นงั สือไทย พุทธศกั ราช ๒๕๕๗ 5

๓. ผเู้ รยี นน�ำ ความรู้ ทกั ษะทไ่ี ดเ้ รยี นรไู้ ปประยกุ ตใ์ ชใ้ หส้ อดคลอ้ งกบั สถานการณท์ เี่ หมาะสม
กับครอบครัว ชุมชน และสังคม
๔. ประเมนิ ผลการเรยี นรู้ โดยใหม้ ีการประเมินพัฒนาการ ทบทวน แกไ้ ขขอ้ บกพร่อง และ
ตรวจสอบผลการเรยี นรู้ใหบ้ รรลตุ ามเป้าหมายการเรยี นรูท้ ่ีวางไว้
ท้งั น้ี ผ้เู รียนต้องผา่ นการเรียนรใู้ นสภาพท่ี ๑ ตามขอบขา่ ยเน้อื หาทก่ี �ำ หนด และเลอื กเรียน
เพม่ิ เติมอกี ๑๑ สภาพ รวม ๑๒ สภาพ และคำ�หลกั ไม่น้อยกวา่ ๘๐๐ คำ� โดยใช้เวลาเรยี น จำ�นวน
๒๐๐ ช่วั โมง ดังน้นั คร/ู ผสู้ อนตอ้ งจัดการเรียนรโู้ ดยเฉลยี่ ช่ัวโมงละ ๔ ค�ำ หลัก เป็นอย่างน้อย ซ่งึ ครู/
ผูส้ อนตอ้ งวางแผนจัดการเรียนรูใ้ หต้ ลอดหลกั สตู ร โดยมีการจดั กระบวนการเรยี นรู้ ดงั นี้
๔.๑ จัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ โดยสามารถบูรณาการเน้ือหาได้ทั้งต่างสภาพ
การเรยี นรู้ หรอื ภายในสภาพการเรยี นรเู้ ดยี วกนั และทกุ เรอ่ื งใหบ้ รู ณาการวชิ าภาษาไทย และวชิ าเลขคณติ
ให้เหมาะสมกบั เนือ้ หานัน้ ๆ
๔.๒ ครู/ผู้สอนสามารถนำ�สภาพ ปัญหา ความต้องการของผ้เู รียน ชุมชน และสังคม
มาจดั ท�ำ ประเดน็ /หวั ขอ้ เพ่ือใช้ในการอภิปราย เพ่ือให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการน�ำ เสนอประสบการณ์
ของตนเองต่อเรอ่ื งนน้ั
๔.๓ ครู/ผสู้ อนพยายามน�ำ ปรัชญา “คดิ เปน็ ” กับ ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง มาใช้
อภปิ ราย แสดงความคดิ เหน็ ใหส้ อดคลอ้ งกบั เนอื้ หานนั้ ๆ เพอื่ ใหผ้ เู้ รยี นน�ำ ไปใชว้ เิ คราะหก์ บั การด�ำ เนนิ
ชวี ติ ได้ เป็นการพัฒนาคณุ ภาพชวี ิตของผ้เู รยี นได้อีกทางหน่งึ
๔.๔ เลือกเน้ือหาที่อยู่ในความสนใจและสอดคล้องกับสภาพการด�ำ เนินชีวิตของผู้เรียน
มาใชใ้ นการจดั การเรยี นรู้ เพอ่ื ใหผ้ เู้ รยี นมคี วามรู้ ความเขา้ ใจ และสามารถน�ำ ไปปฏบิ ตั ไิ ดใ้ นชวี ติ ประจ�ำ วนั
๔.๕ จัดกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีหลากหลาย เช่น การศึกษาดูงาน การปฏิบัติ การพบผู้รู้
โดยใช้ส่อื ทีห่ ลากหลาย เชน่ บัตรคำ� หนงั สอื เรยี น หนังสอื พิมพ์ ของจรงิ
๔.๖ ขัน้ ตอนการสอนภาษาไทย และการคิดค�ำ นวณเบอื้ งตน้
๑) สอนการฟัง ควรเริ่มจากการฟังก่อน จากเน้ือหาท่ีผู้สอนเตรียมไว้ และให้
ผเู้ รยี นทำ�ความเขา้ ใจในเนอ้ื หาแลว้ ดงึ คำ�ทเ่ี ปน็ ค�ำ หลกั ออกมาพดู ใหฟ้ งั ใหเ้ ขา้ ใจความหมาย โดยอาจใช้
ส่อื ตา่ ง ๆ เช่น บัตรค�ำ แผ่นภาพ ส่ือของจรงิ
๒) สอนการพดู ให้ผู้เรียนฝึกพดู คำ�หลกั จากส่ือท่ีเตรียมไว้ โดยการฝึกออกเสียงให้
ถูกตอ้ ง และใหเ้ ขา้ ใจความหมายของคำ�นน้ั ๆ ตลอดจนการน�ำ ไปใช้ในแงม่ มุ ต่าง ๆ
๓) สอนการอา่ น ให้ผู้เรยี นฝกึ อา่ นคำ�หลกั โดยการผสมสระ พยญั ชนะ วรรณยุกต์
และการแจกลกู ไดถ้ กู ตอ้ งจากสื่อการเรียนรขู้ องผเู้ รยี น
๔) สอนการเขยี น ซง่ึ เปน็ ทกั ษะขน้ั สดุ ทา้ ยของภาษาไทย การเขยี นมกั ใชส้ อนควบคู่
ไปกับการอ่าน อา่ นแลว้ เขียนไปด้วย โดยพยายามใหอ้ ่าน เขียน ค�ำ งา่ ย ๆ

6 หลกั สตู รการรหู้ นงั สอื ไทย พุทธศักราช ๒๕๕๗

๕) การคิดคำ�นวณเบือ้ งตน้ ให้ผู้เรียนฝึกฟัง พูด อ่าน เขียน เลขอารบิก เลขไทย
ตัวอักษร คำ�ศัพท์ทางคณิตศาสตร์ และสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ และฝึกให้บวก ลบ คูณ หาร
ในเร่ืองนัน้ ๆ

สอื่ และแหล่งการเรยี นรู้
ใชส้ ่ือการเรยี นรูท้ ี่หลากหลาย ทีเ่ หมาะสมกบั สภาพของผู้เรียน ชมุ ชน และสังคม
๑. สื่อการเรียนรู้ท่ีสำ�นักงาน กศน. พัฒนาข้ึน เป็นส่ือท่ีประกอบด้วย เนื้อหา ประเด็น
แบบฝึก ฯลฯ เพอื่ ให้ผเู้ รยี นไดฝ้ กึ ทกั ษะ และคร/ู ผูส้ อนสามารถใชว้ ัดและประเมินผลระหว่างเรยี นได้
๒. สื่อท่สี ถานศกึ ษาพัฒนาขน้ึ
๓. บัตรคำ� ครู/ผู้สอนควรทำ�บัตรคำ�ที่ผู้เรียนสามารถมองเห็นได้ชัดเจนและเป็นสิ่งจูงใจ
ในการเรียนรู้
๔. สื่อส่ิงพิมพ์ ครู/ผู้สอนสามารถจัดหาเนื้อหาที่เกิดข้ึนในขณะนั้นมาใช้ในการเรียนรู้
โดยพิจารณาคำ�หลกั ที่สอดคลอ้ งกบั เร่อื งนัน้ ๆ จากหนงั สอื พิมพ์ นิตยสาร วารสารตา่ ง ๆ
๕. สื่อของจริงที่มีอยู่ในชุมชน เช่น ต้นไม้ เคร่ืองมือ เคร่ืองจักร อุปกรณ์การผลิตทาง
การเกษตร
๖. แหล่งเรียนรู้ ครู/ผู้สอนสำ�รวจแหล่งเรียนรู้ในชุมชนว่ามีอะไรบ้าง เพื่อใช้เป็นสื่อเรียนรู้
ในเรอ่ื งน้ัน ๆ

การวัดและประเมินผล
การวดั และประเมนิ ผลเปน็ การตรวจสอบความกา้ วหนา้ และผลสมั ฤทธ์ิ เนน้ การพฒั นาผเู้ รยี น
ไดเ้ รยี นร้อู ยา่ งเต็มศักยภาพ ซึ่งสถานศกึ ษา ครู/ผ้สู อน และผ้เู รยี นร่วมกนั ดำ�เนินการใหส้ อดคล้องกับ
มาตรฐานและตัวชวี้ ัด ดังนี้
๑. ประเมนิ พัฒนาการดา้ นการเรยี นรขู้ องผู้เรยี นเป็นรายบคุ คล
๒. ประเมินทักษะการฟัง พูด อ่าน และเขียน รวมท้ังการใชส้ ระ วรรณยุกต์ ตลอดจนการ
คดิ คำ�นวณเบื้องตน้
การวดั และประเมนิ ผลตามหลกั สูตรการรู้หนังสือไทย พุทธศกั ราช ๒๕๕๗ เป็นการวดั และ
ประเมินผลทักษะในวิชาภาษาไทยและการคิดค�ำ นวณเบ้ืองต้น จึงควรวัดและประเมนิ ผล ดังนี้
ประเมนิ ผลก่อนเรียน เพอื่ ใหท้ ราบความรู้พ้ืนฐานของผู้เรียนว่าสามารถ พดู ฟัง ได้ หรือ
พูด ฟัง อ่าน เขียน ในทักษะภาษาไทยไม่ได้ โดยการพูดคุยซักถาม ให้ทดลองอ่าน เขียนคำ�ง่าย ๆ
ท่ีเกี่ยวข้องในชีวิตประจำ�วัน หรือทำ�แบบประเมินก่อนเรียนง่าย ๆ เพื่อนำ�ข้อมูลมาใช้วางแผนใน
การจดั การเรยี นรใู้ ห้เหมาะสมกับผเู้ รยี น ในการคิดค�ำ นวณเบื้องตน้ ให้บรู ณาการกับวิชาเลขคณิต

หลกั สูตรการรหู้ นงั สือไทย พุทธศักราช ๒๕๕๗ 7

ประเมินผลระหว่างเรียน ระหว่างการจัดการเรียนรู้ ครู/ผู้สอนสามารถพิจารณาความ
สามารถในการเรยี นรใู้ นแตล่ ะสภาพ ซงึ่ สามารถประเมนิ ไดโ้ ดยวธิ ตี า่ ง ๆ เชน่ การสงั เกต การตอบค�ำ ถาม
การพดู คยุ การตรวจผลงาน การทำ�แบบฝึกหัดต่าง ๆ โดยใหม้ ที กั ษะในการเรียนรู้ทางภาษาไทย และ
การคิดคำ�นวณเบ้อื งตน้
ประเมินผลหลังเรียน เป็นการประเมินในภาพรวมทั้งหมด โดยครู/ผู้สอนอาจจะทดสอบ
และหรือ ตรวจสอบเอกสาร หลกั ฐาน เชน่ สื่อการเรยี นรขู้ องผูเ้ รียน แบบบนั ทึกต่าง ๆ ของครู/ผ้สู อน
หรือจัดท�ำ แบบประเมินหลงั เรียน เพอื่ พจิ ารณาว่า ผา่ นการเรยี นร้ไู ปแลว้ อย่างนอ้ ย ๘๐๐ ค�ำ หรือไม่

การจบหลกั สตู ร
สถานศึกษาเป็นผ้ดู ำ�เนินการจัดทำ�เคร่อื งมือวัดและประเมินผลในแต่ละสภาพ และจัดทำ�
เคร่อื งมือวัดและประเมินผลการจบหลักสูตร ตามตัวชี้วัดที่กำ�หนดในหลักสูตร รวมทั้งอนุมัติ
ผลการจบหลกั สตู ร
ผจู้ บการศกึ ษาตามหลกั สตู รการรหู้ นงั สอื ไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๗ ตอ้ งผา่ นเกณฑก์ ารจบหลกั สตู ร
ดงั น้ี
๑. ผเู้ รยี นตอ้ งเรยี นและผา่ นการประเมนิ สภาพที่ ๑ และมคี วามสามารถในการ ฟงั พดู อา่ น
และเขยี นตามคลังคำ�หลักทก่ี �ำ หนดไม่น้อยกว่า ๘๐๐ ค�ำ
๒. ผ้เู รียนต้องผา่ นการประเมนิ ตามเครือ่ งมอื ท่ีสถานศึกษากำ�หนด

เอกสารหลักฐานการศกึ ษา
เอกสารหลกั ฐานการศกึ ษาให้เปน็ ไปตามที่ ส�ำ นักงาน กศน. กำ�หนดใหส้ ถานศึกษาทุกแห่ง
ต้องจัดทำ�หลกั ฐานการศกึ ษา ดงั น้ี
๑. ทะเบยี นผ้เู รยี น
๒. แบบบันทึกผลการเรียนและการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
๓. แบบรายงานผูจ้ บหลกั สตู ร
๔. วฒุ บิ ตั รการรหู้ นงั สอื ไทย

การบริหารหลกั สูตร
สถานศกึ ษาทจ่ี ะน�ำ หลกั สตู รการรหู้ นงั สอื ไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๗ ไปใชค้ วรด�ำ เนนิ การ ดงั นี้
๑. การวางแผนการดำ�เนินงาน สถานศึกษาช้ีแจงสร้างความเข้าใจให้บุคลากรท่ีเก่ียวข้อง
รว่ มกันวางแผนเกี่ยวกับหลักสูตร เอกสาร สอ่ื อุปกรณท์ างการศึกษา แหลง่ เรียนรู้ บคุ ลากร ภูมิปญั ญา
งบประมาณ

8 หลกั สูตรการรหู้ นังสอื ไทย พุทธศกั ราช ๒๕๕๗

๒. การพฒั นาสภาพการเรยี นรเู้ ฉพาะสถานศกึ ษาตามหลกั สตู รการรหู้ นงั สอื ไทยพทุ ธศกั ราช๒๕๕๗
ใหเ้ หมาะสมกบั ผเู้ รยี น และสอดคลอ้ งกบั บรบิ ทของผเู้ รยี น ครอบครวั ชมุ ชน และสงั คม และขอความเหน็ ชอบ
จากคณะกรรมการสถานศึกษา
๓. การอบรมครู/ผู้สอน สถานศกึ ษาจดั ใหม้ กี ารอบรมครู/ผู้สอนเพอ่ื ใหม้ คี วามรู้ ความเขา้ ใจ
เกย่ี วกบั การพฒั นาหลกั สูตรสถานศึกษา ตามหลักสูตรการรู้หนังสือไทย พุทธศักราช ๒๕๕๗ การจัด
กระบวนการเรียนรู้ การวดั และประเมินผล และอ่ืน ๆ ทีเ่ ก่ยี วขอ้ ง
๔. การประชาสัมพันธ์ สถานศึกษาดำ�เนินการประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับการจัดการศึกษา
ตามหลักสูตรการรหู้ นังสือไทย พุทธศกั ราช ๒๕๕๗ ให้กับประชาชนทวั่ ไป ได้รบั ขอ้ มลู ขา่ วสารอย่าง
ตอ่ เน่อื ง โดยใชส้ อ่ื ท่ีหลากหลาย
๕. การประสานความรว่ มมอื กบั ภาคเี ครอื ขา่ ย ใหส้ ถานศกึ ษาประสานงาน ชแ้ี จง ท�ำ ความเขา้ ใจ
กบั ภาคเี ครือขา่ ย เพือ่ รว่ มกันจดั สง่ เสริม สนบั สนนุ และพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา
๖. การรับสมัครและขึ้นทะเบียนผู้เรียน สถานศึกษาและหรือภาคีเครือข่าย ดำ�เนินการ
รับสมคั รและขึน้ ทะเบียนผู้เรียน ตามหลักสูตรการรูห้ นงั สือไทย พุทธศักราช ๒๕๕๗
๗. การแนะแนวการเรียน หลังจากรับสมัครผู้เรียนแล้ว สถานศึกษาจัดให้ผู้เรียนได้รับ
การปฐมนเิ ทศและแนะแนวเกย่ี วกบั วธิ กี ารเรยี นรู้ การวดั และประเมนิ ผล ตามหลกั สตู รการรหู้ นงั สอื ไทย
พุทธศกั ราช ๒๕๕๗
๘. การวางแผนการจัดการเรียนรู้ คร/ู ผสู้ อนและผู้เรยี นรว่ มกนั จดั ท�ำ แผนการจดั การเรยี นรู้
เปน็ รายบคุ คล/รายกลมุ่ ตามสภาพและบรบิ ทของผู้เรียน รวมทง้ั ทรัพยากรแหล่งเรยี นรู้ในชุมชน
๙. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ให้สถานศึกษาดำ�เนินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแผน
การจัดการเรียนรทู้ กี่ ำ�หนด
๑๐. การวัดและประเมินผล ให้สถานศึกษาจัดทำ�เคร่ืองมือการวัดและประเมินผลตามท่ี
หลักสูตรกำ�หนด
๑๑. การจบหลักสตู ร ใหเ้ ปน็ ไปตามท่ีก�ำ หนดไว้ในหลกั สูตร

หลักสตู รการรู้หนงั สอื ไทย พุทธศักราช ๒๕๕๗ 9

10 หลักสตู รการรู้หนงั สอื ไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๗

ภาคผนวก

หลักสตู รการรหู้ นงั สอื ไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๗ 11

12 หลักสตู รการรู้หนงั สอื ไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๗

นิยามศพั ท์

๑. การรู้หนงั สือไทย หมายถงึ ความสามารถในการส่ือสารโดยการฟงั พูด อ่าน และเขียน
ภาษาไทย รวมทงั้ การคดิ คำ�นวณเบอ้ื งตน้ ในเรอื่ งทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั ชวี ติ ประจำ�วนั ตามเกณฑข์ องหลกั สตู ร
การรหู้ นังสอื ไทย พุทธศักราช ๒๕๕๗
๒. สภาพ หมายถึง เน้ือหาหรือเรื่องท่ีหลักสูตรกำ�หนดข้ึน เพ่ือใช้ในการจัดการเรียนรู้
ตามหลักสตู รการรหู้ นงั สือไทย พทุ ธศักราช ๒๕๕๗
๓. หวั เร่ือง หมายถึง เนือ้ หาหรอื เร่อื งราวที่ตอ้ งเรียนรูใ้ นแต่ละสภาพ
๔. ค�ำ หลัก หมายถึง คำ�สำ�คัญทจ่ี ำ�เปน็ ตอ้ งเรยี นรู้ในแตล่ ะหวั เร่อื ง
๕. ครู/ผู้สอน หมายถึง ผูท้ ่ไี ด้รบั การแตง่ ตัง้ จากสถานศกึ ษาใหเ้ ปน็ ผ้จู ัดกระบวนการเรียนรู้
ตามหลักสูตรการรหู้ นังสือไทย พทุ ธศักราช ๒๕๕๗
๖. ผเู้ รียน หมายถึง ผู้สมัครเรยี นหลกั สตู รการรู้หนงั สือไทย พทุ ธศักราช ๒๕๕๗
๗. ผู้ไม่รู้หนังสือ หมายถึง ผู้ที่ไม่สามารถอ่าน เขียน ภาษาไทย และคิดคำ�นวณ
หรอื ไมม่ ีความสามารถดงั กลา่ วอย่างใดอย่างหน่ึง (อา่ นไม่ออก/เขยี นไม่ได้/คดิ เลขไม่เป็น)
๘. ผู้ลืมหนังสือ หมายถึง ผู้ท่ีเคยผ่านการเรียนมาก่อนแล้ว แต่ไม่ได้ใช้มาเป็นเวลานาน
จงึ ท�ำ ให้ไม่สามารถอา่ นออก เขียนได้

หลักสตู รการรู้หนงั สอื ไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๗ 13

ตัวอย่างคลงั คำ�หลกั

ตัวอย่างคลังคำ�หลัก ตามหลักสูตรการรู้หนังสือไทย จำ�นวน ๑๒ สภาพ ซึ่งประกอบด้วย
ค�ำ หลกั จ�ำ นวน ๑,๐๐๙ คำ� ดังน้ี

สภาพที่ ช่ือสภาพ จำ�นวนคำ�หลกั (ค�ำ )
๑ เมอื งไทยของเรา ๒๐
๒ ชวี ติ ของเรา ๔๗๙
๓ ภัยใกลต้ ัว ๒๓
๔ การท�ำ มาหากิน ๘๔
๕ สิ่งแวดลอ้ มยัง่ ยืน ๕๔
๖ ชุมชนเข้มแขง็ ๖๒
๗ กฎหมายน่ารู้ ๓๖
๘ คณุ ธรรมนำ�สนั ตสิ ุข ๒๙
๙ เปดิ โลกเรียนรู้ ๖๑
๑๐ เทคโนโลยใี กล้ตวั ๕๘
๑๑ พลงั งาน ๒๒
๑๒ ท่องเทย่ี วทั่วไทย ๘๑

สว่ นค�ำ เสรมิ ทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั สภาพ เปน็ ค�ำ ทมี่ คี วามเชอื่ มโยงกบั สภาพการเรยี นรขู้ องหลกั สตู ร
การรู้หนังสือไทย พุทธศักราช ๒๕๕๗ ซ่ึงสถานศึกษาสามารถนำ�ไปใช้ในการจัดการเรียนรู้ได้ตาม
ความเหมาะสม

14 หลักสูตรการรหู้ นงั สือไทย พุทธศกั ราช ๒๕๕๗

รายละเอยี ดค�ำ หลกั ของสภาพการเรียนรู้

สภาพที่ ๑ เมืองไทยของเรา
ประกอบด้วยค�ำ หลกั จ�ำ นวน ๒๐ คำ� และค�ำ เสริมทเี่ ก่ยี วขอ้ งกับสภาพ จ�ำ นวน ๑๓ ค�ำ

ท่ี หัวเร่ือง ค�ำ หลกั จ�ำ นวน ค�ำ เสริม จำ�นวน
คำ�หลกั ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั สภาพ คำ�เสริม

๑ ชาติ ชาตไิ ทย ธงชาติ เพลงชาติ ๕ ขวานทอง ๒
แผนท ่ี ประเทศไทย สวุ รรณภูมิ

๒ ศาสนา ศาสนา พุทธ คริสต์ อสิ ลาม ๕ พระสงั ฆราช ๕
เจ้าอาวาส ศาลาวัด โบสถ ์
วหิ าร มสั ยดิ

๓ พระมหากษัตริย์ พระเจา้ อยหู่ วั พระราชิน ี ๑๐ พระเจา้ แผน่ ดิน ๖
พระบรมโอรสาธิราช ในหลวง แม่หลวง
สมเด็จพระเทพ พระมหากษตั ริย์
พระราชบิดา พระราชนัดดา พอ่ หลวง
พระราชดำ�รัส สมเด็จย่า
พระราชโอรส พระราชธิดา
พระราชดำ�ริ

หลักสตู รการรู้หนังสือไทย พทุ ธศักราช ๒๕๕๗ 15

สภาพที่ ๒ ชวี ิตของเรา
ประกอบดว้ ยคำ�หลัก จำ�นวน ๔๗๙ คำ� และค�ำ เสริมทเี่ กย่ี วขอ้ งกับสภาพ จำ�นวน ๑๕๑ คำ�

ที่ หวั เร่ือง ค�ำ หลัก จำ�นวน คำ�เสรมิ จำ�นวน
๑ รา่ งกายของเรา คำ�หลัก ทเี่ กย่ี วขอ้ งกับสภาพ ค�ำ เสริม

อวยั วะภายนอก ๕๗ ๒๒

แขน ขา เท้า มือ น้วิ ๒๐ ขาออ่ น น่อง ๔
ทอ้ ง ไหล่ หลงั เขา่ หน้าตา หน้าทอ้ ง
เล็บ ตา หู ปาก หวั
ผม คิ้ว ฟนั ลน้ิ คอ
จมกู

ไต ตับ ปอด หัวใจ ๑๐ สูบ ฉดี ไหล เวยี น ๕
ล�ำ ไส ้ สมอง ไส้ตง่ิ ไขข้อ
อวยั วะภายใน หลอดลม มดลูก
ลักษณะทางกาย กระเพาะอาหาร

อว้ น ผอม สงู เต้ยี ๑๕ เจ็บ ปวด หอบ ๙
หลอ่ ผิวดำ� ผวิ ขาว ร้อน อบอนุ่ หนาว
งาม สาว หนุ่ม แก ่ เยน็ อ่อนเพลยี
เหนอ่ื ย เมอ่ื ย หิว ง่วง มนึ งง

กริ ิยาทา่ ทาง ยนื นง่ั นอน หัวเราะ ๑๒ สภุ าพ ออ่ นนอ้ ม ๔
ย้มิ เดิน ว่งิ กนิ โกรธ เกรยี้ วกราด ทอ้ แท ้
น่ิง ร้องไห ้ ด่ืม

๒ ครอบครัว/ ๓๗ ๑๒
เครอื ญาติ

ค�ำ น�ำ หนา้ นาม/ นาย นาง นางสาว ๑๗ ยศ ตำ�แหนง่ ชื่อ ๗
สรรพนาม/ เดก็ ผใู้ หญ่ ทารก นาม สกุล รวย จน
วัย/สถานภาพ ชาย หญงิ คณุ ทา่ น
ฉนั เธอ โสด หย่า
หมา้ ย (มา่ ย) วยั รุ่น
วยั ชรา

16 หลกั สูตรการรูห้ นงั สอื ไทย พุทธศักราช ๒๕๕๗

ที่ หัวเร่ือง ค�ำ หลัก จ�ำ นวน ค�ำ เสริม จ�ำ นวน
ค�ำ หลกั ท่ีเก่ียวข้องกบั สภาพ ค�ำ เสรมิ

ครอบครัว/ พ่อ แม ่ พ ี่ น้อง ป ู่ ๒๐ บิดา มารดา ๕
เครอื ญาติ ยา่ ตา ยาย ลุง ป้า เลอื ดเน้อื เช้ือไข
น้า อา ลูก หลาน ครอบครวั ญาตมิ ิตร
เหลน เขย ทวด สะใภ้
พอ่ ตา แม่ยาย

๓ อาหาร ๑๒๙ ๔๗

วตั ถุดบิ แป้ง ขา้ ว นม ปู ไก่ ๑๕ ปมู ้า ปูทะเล ปนู า ๖
ไข ่ กงุ้ เนอ้ื หม ู เนอ้ื ววั หมูสับ ปกี ไก่
ปลา หอย กบ เปด็ นอ่ งไก ่
ปลาหมกึ ปลาแห้ง

การปรงุ อาหาร แกง ผัด ตม้ ต๋นุ ปิ้ง ๑๗ ขลกุ ขลิก จิ้มจมุ่ ๓
ย่าง ทอด น่งึ อบ ย�ำ ผดั ฉ่า
หมกั ดอง ควั่ ลาบ
หลน เคยี่ ว พลา่

ประเภทอาหาร อาหารคาว ๑๖ ขา้ วเกรยี บ ขนมจบี ๖
อาหารหวาน ซาลาเปา นา้ํ ยา
อาหารพื้นบ้าน ข้าวผัด ข้าวแช่ ไก่ทอด
ขนมปัง ผัดไทย เกย๊ี ว
บะหมี่ ขนมจนี สม้ ตำ�
ราดหน้า ก๋วยเตีย๋ ว
สงั ขยา ข้าวเหนยี ว
ฝอยทอง ลอดชอ่ ง

เคร่ืองปรุง กะปิ เกลอื พรกิ ไทย ๑๓ น้ํามะขามเปยี ก ๗
ซอี ๊ิว น้าํ ปลา นา้ํ ตาล เครอื่ งแกง น้ําพรกิ
ผงชูรส นํ้าสม้ สายชู น้ําปลาหวาน น้ําบดู ู
นํา้ ซปุ ซีอว๊ิ ด�ำ ปลาร้า นา้ํ พริกเผา น้าํ จมิ้
ผงกะหรี่ ผงพะโล้

หลักสตู รการร้หู นังสือไทย พุทธศกั ราช ๒๕๕๗ 17

ที่ หัวเรื่อง คำ�หลกั จ�ำ นวน คำ�เสริม จ�ำ นวน
ค�ำ หลัก ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกับสภาพ ค�ำ เสรมิ

พืช ผกั ผลไม้ มะระ ผกั บุ้ง ผกั คะน้า ๓๒ วติ ามิน เกลือแร ่ ๘
ผกั กาด กะเพรา พรกิ นาํ้ ผลไม ้ ผกั ต้ม
กระเทยี ม แตงกวา ถ่ัว เครื่องเคยี ง
ขงิ ขา่ ตะไคร้ มะเขอื ผกั เพอ่ื สขุ ภาพ
หน่อไม ้ ตำ�ลึง มะนาว ผลไมแ้ ปรรปู
มะกรูด มะขาม มังคดุ พืชสมนุ ไพร
แตงโม สม้ ฝร่ัง เงาะ
ล�ำ ไย มะพร้าว มะมว่ ง
มะละกอ กล้วย สม้ โอ
สบั ปะรด ทุเรียน ขนุน

ภาชนะ/เคร่ืองใช้ จาน ชาม ช้อน ส้อม ๒๕ ถว้ ยตวง หม้อแขก ๑๔
ในครวั ตะเกยี บ ตะหลวิ ถ้วย หม้อตุ๋น ซง้ึ หวด
กระตบ๊ิ มีดแกะสลัก
แกว้ กระชอน ทพั พ ี มีดเจียน มีดคว้าน
เตา ครก สาก เขียง เตาไฟฟา้ เตาแก๊ส
มดี ฝาชี ปน่ิ โต หมอ้ เตาถา่ น ตกู้ บั ขา้ ว
กระทะ หม้อหงุ ข้าว ลงั ถงึ
ตเู้ ย็น กะละมัง
โอง่ ขัน กระป๋อง

รสชาติ ขม จดื มนั เปร้ยี ว ๑๑ อมเปรี้ยวอมหวาน ๓
เค็ม เผด็ หวาน แซบ่ หวานมัน เข้มข้น
ฝาด อรอ่ ย กลมกล่อม

๔ การออกกำ�ลังกาย ๓๐ ๑๕
และนนั ทนาการ

การออกกำ�ลังกาย/ ปิงปอง ว่ิงแขง่ โยคะ ๑๔ กีฬาพนื้ บา้ น กอล์ฟ ๗
กีฬา ตะกร้อ ยงิ ปืน ยงิ ธนู แชร์บอล ว่ิงผลดั
ป่ันจกั รยาน แขง่ เรอื วงิ่ เปี้ยว เปตอง
วอลเลยบ์ อล ว่ายน้ํา บาสเกตบอล
ฟุตบอล แบดมนิ ตนั
เทนนิส กฬี ามวย

18 หลักสตู รการรหู้ นงั สือไทย พทุ ธศักราช ๒๕๕๗

ท่ี หัวเร่ือง คำ�หลัก จ�ำ นวน ค�ำ เสรมิ จ�ำ นวน
นันทนาการ/ ค�ำ หลกั ทเ่ี กีย่ วขอ้ งกับสภาพ คำ�เสรมิ
การละเลน่
การแสดงพืน้ เมอื ง เกม ๑๖ มโนราห์ หนงั ตะลุง ๘
๕ สุขอนามัย ร้องเพลง ภาพยนตร์ หนงั ใหญ่ เพลงฉ่อย
สขุ อนามยั นยิ าย นิทาน ดูหนงั เตน้ ก�ำ ร�ำ เคยี ว
สว่ นบุคคล ดนตร ี รำ�วง โขน ลเิ ก เพลงเกย่ี วขา้ ว
ลำ�ตดั หมอลำ� วาดรปู เพลงพวงมาลัย
สุขอนามัย หมากเก็บ หมากรกุ
บา้ นเรือน เพลงเรอื
๖ โรคภัยไขเ้ จ็บ
อาการ ๒๖ ๙

โรค ลา้ งหนา้ แปรงฟนั ๑๔ ครีมบ�ำ รงุ ผวิ โลช่นั ๔
อาบนา้ํ สระผม ตดั ผม ครีมนวดผม
ตดั เลบ็ ลา้ งมอื ซกั ผา้ น้ํายาบ้วนปาก
ผงซกั ฟอก ผา้ เชด็ มอื
ยาสฟี นั แชมพสู ระผม
สบ ู่ กระดาษช�ำ ระ

ขดั ถู ล้าง ปดั กวาด ๑๒ ชกั โครก โถสว้ ม ท่อ ๕
เช็ด สกปรก สะอาด ถังพกั ขยะ ระบาย
ถงั ขยะ ฝนุ่ ไร เรยี บรอ้ ย

๕๒ ๑๑

ป่วย ชา ไอ จาม หัก ๒๔ คล่นื ไส ้ พกั ผอ่ น ๓
ปวด บวม แผล เจบ็ ปวดหวั
เป็นลม ไข้ อาเจียน
ทอ้ งเสีย ทอ้ งผกู คนั
เหนือ่ ย ออ่ นเพลยี ผด
ผื่น วิงเวยี น ตวั รอ้ น
ชกั จุกหอบ เสียด

เอดส์ วัณโรค มะเรง็ ๑๖ พยาธใิ บไม้ในตบั ๔
ไข้เลือดออก โรคฉหี่ น ู ตาแดง ไหลตาย
นาํ้ กดั เทา้ ความดนั ฝี มือเท้าปาก
โรคหวั ใจ เบาหวาน ไข ้
ไขห้ วัด คางทมู ปวดหัว
มาลาเรีย อหวิ าตกโรค

หลกั สตู รการรู้หนังสอื ไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๗ 19

ที่ หัวเรอื่ ง ค�ำ หลัก จำ�นวน ค�ำ เสรมิ จำ�นวน
ค�ำ หลัก ทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั สภาพ ค�ำ เสริม

ยา ยาธาต ุ ยาหอม ยาอม ๑๒ สมุนไพร ๔
ยาแดง ยาถา่ ย ยาดม ทิงเจอรไ์ อโอดีน
ยาหมอ่ ง ยาระบาย ยาสามญั ประจำ�บ้าน
ยาแกไ้ อ ยาแก้ปวด ยาแผนปจั จบุ นั
ยาลดไข ้ ยาบ�ำ รุง

๗ เร่ืองใกลต้ วั ๑๔๘ ๓๕

อารมณ์/ความร้สู กึ รกั ชอบ เกลยี ด ดใี จ ๑๕ เมตตา ๓
เสยี ใจ โกรธ กลัว สุข กรณุ า
ทกุ ข ์ รอ้ น หนาว เบอ่ื ชว่ ยเหลอื
เหงา งอน สงสาร

การวางแผน ถงุ ยาง อนามยั วางแผน ๗ เพศสมั พันธ์ ๒
ครอบครัว ครอบครัว คมุ กำ�เนดิ ประจำ�เดือน
ท�ำ หมัน ต้ังครรภ์

ทอ่ี ยู่ ทีอ่ ย ู่ บา้ นเลขท่ี ตรอก ๑๑ ภาคต่าง ๆ จนี ๗
ซอย ถนน แขวง เขต ลาว เขมร พม่า
ตำ�บล อ�ำ เภอ จังหวัด กรุงเทพมหานคร
ประเทศ บรุ ษุ ไปรษณีย์

สี ส ี ด�ำ ขาว แดง ชมพ ู ๑๓ คราม แสด เทา ๕
อปุ กรณ์ ฟา้ เขยี ว นํา้ เงนิ สม้ ๑๓ ข้มี ้า หัวเป็ด ๑
ม่วง เหลือง เงิน ทอง นา้ํ ยาลบคำ�ผดิ
ไม้บรรทดั ปากกา
ดินสอ ยางลบ สมดุ
หนังสอื ตะป ู คอ้ น
เล่ือย เหล็ก กรรไกร
ตลับเมตร มดี

20 หลักสตู รการรหู้ นังสอื ไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๗

ที่ หัวเร่ือง คำ�หลัก จ�ำ นวน ค�ำ เสริม จำ�นวน
วนั เดอื น ปี ค�ำ หลกั ทีเ่ กยี่ วขอ้ งกบั สภาพ คำ�เสริม

สัตว์ วัน อาทิตย ์ จนั ทร ์ ๓๔ วันเกดิ ๘
เครื่องแตง่ กาย อังคาร พธุ พฤหสั บดี วันนกั ขัตฤกษ์
ดอกไม้/ต้นไม้ ศุกร ์ เสาร ์ เดอื น วันลอยกระทง
มกราคม กุมภาพนั ธ ์ วนั ปใี หม่
มีนาคม เมษายน วนั เฉลมิ พระชนม์
พฤษภาคม มิถุนายน วนั สงกรานต์
กรกฎาคม สิงหาคม วันพระ
กนั ยายน ตลุ าคม ปพี ทุ ธศกั ราช
พฤศจิกายน ธันวาคม
ป ี ชวด ฉล ู ขาล
เถาะ มะโรง มะเสง็
มะเมีย มะแม วอก
ระกา จอ กนุ

ไก ่ หม ู หมา นก แมว ๒๒ คอก เล้า สวนสตั ว์ ๔
เสอื ลงิ มา้ ชา้ ง แพะ ปา่ เปิด
ววั กระตา่ ย จระเข ้ ง ู
หา่ น กระทงิ แรด หมี
เปด็ ควาย กวาง เกง้

เสอ้ื กางเกง กระโปรง ๑๓
กระเปา๋ ถงุ เทา้ รองเทา้
ผา้ ขาวมา้ โสรง่ ผา้ ถงุ
ชุดชัน้ ใน ผ้าเช็ดหนา้
เข็มกลัด เข็มขัด

มะลิ ชบา กหุ ลาบ ๒๐ ไมด้ อก ไมป้ ระดบั ๕
บัว เข็ม จำ�ป ี คนู ไม้มงคล ไม้เลือ้ ย
ยาง มะค่า ประด่ ู ไม้ผล
กลว้ ยไม ้ อัญชนั สัก
ชงิ ชนั ไผ่ สน นนทร ี
เขม็ ลลี าวดี ขอ่ ย

หลักสตู รการรหู้ นงั สอื ไทย พุทธศักราช ๒๕๕๗ 21

สภาพท ่ี ๓ ภัยใกล้ตัว
ประกอบดว้ ยค�ำ หลัก จ�ำ นวน ๒๓ คำ� และคำ�เสริมที่เกีย่ วขอ้ งกบั สภาพ จำ�นวน ๗ คำ�

ที่ หัวเรือ่ ง คำ�หลัก จ�ำ นวน ค�ำ เสริม จ�ำ นวน
ค�ำ หลัก ที่เก่ียวข้องกับสภาพ คำ�เสริม
๑ การพนันอนั ตราย ไพ่ หวย พนนั ชนไก่ ๑๐ วิวาท ทะเลาะ ๔
ไฮโล ตดิ คุก หนส้ี นิ ท้าทาย เส่ยี งโชค
โตะ๊ พนนั ส่วย กนิ รวบ
๒ ภยั จาก ภยั สง่ิ เสพตดิ ๑๓ ตดิ ยา ดมกาว ๓
สิง่ เสพตดิ รา้ ยแรง โทษ เหล้า ตบั แข็ง
เบยี ร์ บุหร่ี สรุ า
ยาบ้า เฮโรอีน กาว
กัญชา ฝ่ิน

สภาพที่ ๔ การท�ำ มาหากนิ
ประกอบดว้ ยคำ�หลกั จำ�นวน ๘๔ คำ� และค�ำ เสริมที่เกีย่ วข้องกบั สภาพ จ�ำ นวน ๑๕ คำ�

ที่ หวั เร่ือง ค�ำ หลกั จ�ำ นวน ค�ำ เสริม จำ�นวน
๑ อาชีพ คำ�หลกั ทเ่ี ก่ยี วขอ้ งกบั สภาพ คำ�เสริม
ข้าราชการ ตำ�รวจ ทหาร ๒๑ พนกั งานรกั ษาความ ๓
๒ ผลติ ภัณฑ์ คร ู หมอ พยาบาล ชาวนา ปลอดภยั
ชุมชน ชาวสวน ชาวไร่ เกษตรกร พนกั งานขับรถ
ประมง เลีย้ งสัตว์ ค้าขาย พนกั งานทำ�ความ
รบั จา้ ง พนกั งานเสรฟิ ชา่ ง สะอาด
นกั แสดง นกั รอ้ ง นกั ดนตร ี
นักการเมือง ทนายความ

ยา่ ม กระเป๋า หมวก กำ�ไล ๑๕ วิสาหกจิ ธรุ กิจชมุ ชน ๕
สรอ้ ย แหวน ผา้ นงุ่ ผ้าทอ ธรุ กิจในครวั เรอื น
ผ้าฝา้ ย ผา้ ไหม เสอื่ รม่ ส่ิงแวดลอ้ ม
ไมก้ วาด ไมแ้ กะสลกั สนิ คา้ ทรพั ยากร

22 หลักสูตรการรูห้ นังสือไทย พทุ ธศักราช ๒๕๕๗

ท่ี หัวเรอ่ื ง คำ�หลัก จ�ำ นวน ค�ำ เสรมิ จ�ำ นวน
ค�ำ หลัก ท่เี กีย่ วขอ้ งกับสภาพ คำ�เสริม
๓ เงินตรา ธนบัตร เหรยี ญ บาท ๕ เงินทอน ๑
เงิน สตางค์
๔ เศรษฐกิจ หนุ้ ปนั ผล จำ�นอง จำ�น�ำ ๒๕ เศรษฐกิจลอยตัว ๓
บัญชี ดอกเบี้ย ทุน กยู้ ืม เงนิ ออม เงินฝาก
หนส้ี ิน หนส้ี าธารณะ ก�ำ ไร
สะสม คาํ้ ประกนั ยากจน
มรดก คา่ ใชจ้ ่าย
เศรษฐกจิ พอเพยี ง
บัญชีครัวเรือน ทรัพย์สิน
ทรัพย์สมบัต ิ พอประมาณ
มีเหตุผล ภูมคิ มุ้ กนั
ประกนั สงั คม
กองทุนพฒั นา
๕ การตลาด ซ้อื ขาย ราคา รายรบั ๑๘ ราคาสด ราคาผ่อน ๓
ในชุมชน รายจ่าย กลมุ่ สหกรณ ์ ราคามิตรภาพ
อาชพี ตลาด แลกเปล่ียน
สนิ ค้า พืน้ เมอื ง ผลิตภณั ฑ์
ค้าขาย ตอ่ รอง คนกลาง
พ่อค้า แมค่ ้า

หลักสูตรการรหู้ นังสอื ไทย พทุ ธศักราช ๒๕๕๗ 23

สภาพที่ ๕ สิ่งแวดล้อมยั่งยนื
ประกอบดว้ ยค�ำ หลกั จำ�นวน ๕๔ ค�ำ

ที่ หวั เรือ่ ง คำ�หลัก จำ�นวน
ค�ำ หลกั

๑ ทรพั ยากรธรรมชาติ ฤด ู ฝน ดิน น้าํ หิน ลม ถาํ้ ภเู ขา สัตว์ปา่ กา๊ ซ ๑๒
แรธ่ าตุ ทรพั ยากรธรรมชาติ

๒ ดินและป่าไม ้ ปา่ ไม้ ต้นนาํ้ ชมุ่ ชื้น บุกรุก ปลกู หญ้าแฝก ดนิ ร่วน ๑๑
ดินเคม็ ดนิ เปรยี้ ว ดนิ เหนียว ดินทราย

๓ แหลง่ น้ํา เข่ือน น้ําบาดาล บึง บ่อ อา่ งเก็บนํ้า ฝาย ห้วย ๑๕
หนอง คลอง ล�ำ ธาร แมน่ ํา้ ทะเล แหล่งนา้ํ
ชลประทาน แกม้ ลงิ

๔ ภยั ธรรมชาติ มลพิษ อนุรักษ์ สิ่งแวดล้อม มลพิษ โลกรอ้ น การเตอื นภยั ๑๖
และการอนุรกั ษ์ พายุ ดินถล่ม น้ําป่า นํ้าท่วม ควันไฟ ไฟปา่
สิ่งแวดลอ้ ม ฝนแล้ง แผน่ ดนิ ไหว แห้งแลง้ ฝนุ่ ละออง ขยะ

สภาพที่ ๖ ชมุ ชนเข้มแขง็
ประกอบดว้ ยค�ำ หลกั จ�ำ นวน ๖๒ คำ�

ท่ี หวั เร่ือง คำ�หลัก จ�ำ นวน
๑ การรวมกลุม่ ค�ำ หลัก

๒ กฎระเบยี บชมุ ชน เวทชี าวบา้ น ปัญหา กองทนุ พฒั นา การรวมกลุ่ม ๑๐
และจติ สาธารณะ กลุ่มสตร ี บทบาท ออมทรพั ย์ เยาวชน ประชาคม

กฎ ระเบียบ ขอ้ ตกลง ขอ้ บงั คบั ฝ่าฝนื ลงโทษ ปรับ ๑๔
ประกาศ แบ่งปนั จติ สาธารณะ ช่วยเหลือ จติ อาสา
อาสาสมัคร ดแู ล

24 หลักสูตรการรู้หนังสอื ไทย พุทธศักราช ๒๕๕๗

ท่ี หัวเร่อื ง ค�ำ หลกั จ�ำ นวน
๓ ประชาธปิ ไตย ค�ำ หลัก

และการปกครอง การเมือง การปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ ก�ำ นนั ผใู้ หญ่บา้ น ๑๗
สว่ นท้องถ่ิน เทศบาล เลือกต้ัง องค์การบริหารส่วนต�ำ บล (อบต.)
องค์การบริหารส่วนจังหวัด (อบจ.) รฐั สภา รฐั มนตรี
๔ การอย่รู ว่ มกัน รัฐบาล รัฐธรรมนญู นายกรัฐมนตร ี คณะรฐั มนตร ี
สมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎร (ส.ส.) สมาชิกวุฒสิ ภา (ส.ว.)
ประชาธปิ ไตย

ความสงบ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม นา้ํ ใจ ไมตรี เอื้อเฟ้ือ ๒๑
เผอื่ แผ่ อภัย สทิ ธ ิ เสรภี าพ กตกิ า ประชุม ประธาน
สมาชกิ กรรมการ เลขานกุ าร หนา้ ท่ ี สามัคคี มีวินยั
เสยี สละ ตรงตอ่ เวลา

สภาพท่ี ๗ กฎหมายนา่ รู้
ประกอบด้วยค�ำ หลกั จ�ำ นวน ๓๖ คำ�

ที่ หวั เรอื่ ง ค�ำ หลัก จำ�นวน
๑ กฎหมายครอบครัว คำ�หลัก
บุตร พยาน ทายาท สนิ สอด แจง้ เกดิ แจ้งตาย
มรดก บตุ รบุญธรรม มรดก ทะเบยี นบา้ น พินยั กรรม ๑๕
สนิ สมรส สตู ิบตั ร มรณบัตร บัตรประชาชน
๒ กฎหมายจราจร ทะเบียนสมรส ๑๓
ขับข่ ี รถยนต์ จักรยานยนต ์ ประมาท สัญญาณ
๓ กฎหมายแรงงาน ใบอนญุ าต กฎจราจร ประกันภยั อบุ ัตเิ หตุ ๘
ระมดั ระวัง ทะเบียนรถ หมวกนริ ภัย เขม็ ขดั นริ ภัย
แรงงาน ลกู จา้ ง นายจ้าง สญั ญา เงินเดอื น
สวัสดกิ าร คา่ แรงขั้นต่ํา ประกนั สังคม

หลกั สตู รการร้หู นังสอื ไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๗ 25

สภาพที่ ๘ คณุ ธรรมน�ำ สันติสุข
ประกอบดว้ ยค�ำ หลกั จ�ำ นวน ๒๙ คำ�

ท่ี หัวเรื่อง คำ�หลัก จำ�นวน
ค�ำ หลัก

๑ ความสุภาพ ออ่ นน้อม/ ไหว ้ กราบ สภุ าพ สวัสดี ขอโทษ ขอบคณุ สจุ ริต ๑๖
ความซือ่ สตั ย์ อ่อนนอ้ ม กริ ิยา มารยาท บุญคุณ ตอบแทน
และความกตญั ญู ซ่ือสัตย ์ กตญั ญ ู ทดแทน ผมู้ ีพระคณุ

๒ ความขยนั และประหยัด/ รบั ผิดชอบ สามัคคี วนิ ัย ขยัน อดทน พยายาม ๑๓
ความสามคั คี มนี ํา้ ใจ ประหยดั อดออม หมั่นเพียร ร่วมมอื สว่ นรวม
มวี ินยั ปรองดอง มีน้าํ ใจ

สภาพท่ี ๙ เปดิ โลกเรยี นรู้
ประกอบดว้ ยคำ�หลัก จำ�นวน ๖๑ ค�ำ

ที่ หัวเรอ่ื ง ค�ำ หลกั จำ�นวน
คำ�หลัก

๑ แหล่งเรยี นรู้ วิทยุ โทรทัศน์ หนังสอื พมิ พ์ ห้องสมดุ แหลง่ เรียนร ู้ ๑๓
ป้ายประกาศ กระดานขา่ ว อินเทอร์เนต็ ภูมิปญั ญา
ปราชญ์ เสียงตามสาย สวนสตั ว ์ พพิ ธิ ภัณฑ์

๒ คิดเป็นกับการเรยี นร ู้ คดิ เปน็ วชิ าการ แยกแยะ รอบคอบ จัดกลุ่ม ขอ้ มลู ๑๒
ทางเลือก ตดั สินใจ แกป้ ญั หา ประเภท ชุมชน
สังคม

๓ การแสวงหาความร้ ู สงั เกต ค้นคว้า สอบถาม แสวงหา ปฏิบตั ิ ๑๖
เลยี นแบบ ลองผิดลองถกู ทศั นศึกษา ทดลอง
สมั ภาษณ ์ ทฤษฎ ี อ่าน เขยี น คิด ฟัง ดูภาพยนตร์

26 หลักสูตรการรู้หนงั สือไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๗

ที่ หวั เรือ่ ง ค�ำ หลกั จำ�นวน
๔ สถานทส่ี ำ�คญั คำ�หลัก

ของชมุ ชน สถานตี �ำ รวจ ทว่ี า่ การอำ�เภอ ศาลากลางจังหวดั ๒๐
มสั ยิด วัด บ้าน โรงเรียน กศน.อำ�เภอ โรงพยาบาล
ธนาคาร โรงพยาบาลสขุ ภาพประจ�ำ ต�ำ บล
หอ้ งสมดุ ประชาชน มหาวิทยาลัย วทิ ยาลยั ราชภฏั
สถานท่ีราชการ แรงงานจังหวดั เกษตรจงั หวัด
อุตสาหกรรมจงั หวัด สวนสาธารณะ

ภาพท่ี ๑๐ เทคโนโลยใี กลต้ วั
ประกอบดว้ ยค�ำ หลกั จ�ำ นวน ๕๘ คำ�

ที่ หวั เรื่อง คำ�หลกั จ�ำ นวน
คำ�หลกั

๑ เทคโนโลยีทีเ่ กยี่ วข้อง จานดาวเทยี ม สื่อสาร คอมพิวเตอร์ โทรสาร ๒๐
กับชีวิตประจำ�วัน/ โทรศพั ท ์ เครอ่ื งคดิ เลข เทคโนโลย ี พดั ลม เครอ่ื งใช้
เครือข่ายสังคมออนไลน์ เครื่องมอื ตู้เยน็ หม้อหงุ ขา้ ว เตารดี เคร่ืองซักผ้า
เครื่องอบผา้ เตาไฟฟ้า กระทะไฟฟ้า เครอ่ื งเป่าผม
เครอ่ื งทำ�น้าํ อุ่น เคร่ืองทำ�ความเยน็

๒ เทคโนโลยแี ละ ไซ ยอ สมุ่ แห อวน เบด็ สวิง โม่ จอบ ข้อง ๒๒
ภูมิปญั ญาชาวบา้ น เคียว คันไถ เคร่อื งสขี า้ ว คราด เสียม บงุ้ กี๋ กงั หนั
กระบุง โพงพาง กระตบิ๊ ขันโตก ตะกร้า

๓ ปยุ๋ /ยาฆา่ แมลง/ ปุย๋ เคม ี ปยุ๋ คอก ปยุ๋ หมกั ปุ๋ยชีวภาพ ปุ๋ยอินทรยี ์ ๑๖
สารเคมี/สารพษิ กากน้ําตาล แมลง แมง สารเคมี ตกคา้ ง อันตราย
ศัตรูพชื สารดูดซึม ปุ๋ยเรง่ ดอก ป๋ยุ เร่งใบ
น้ําส้มควันไม้

หลักสตู รการรหู้ นงั สือไทย พุทธศกั ราช ๒๕๕๗ 27

สภาพท่ี ๑๑ พลังงาน
ประกอบดว้ ยค�ำ หลกั จ�ำ นวน ๒๒ คำ�

ท่ี หัวเรอื่ ง คำ�หลกั จำ�นวน
ค�ำ หลกั

๑ พลงั งานและการเลอื ก นํ้ามนั เช้ือเพลงิ ฟืน ถา่ น แกลบ พลงั งาน ถา่ นหิน ๑๒
ใช้พลังงาน เชอื้ เพลิง กา๊ ซชีวภาพ ไฟฟา้ แสงอาทติ ย ์ แกส๊ หงุ ต้ม
แก๊สโซฮอล์

๒ การประหยัด หมุนเวยี น บำ�รงุ รักษา ตรวจสอบ ช�ำ รุด คุม้ คา่ ๑๐
และอนุรักษ์พลงั งาน ซอ่ มแซม ทดแทน ใช้ซํา้ พฒั นา

สภาพที่ ๑๒ ท่องเท่ียวท่วั ไทย
ประกอบดว้ ยค�ำ หลกั จำ�นวน ๘๑ ค�ำ

ท่ี หัวเรื่อง คำ�หลกั จำ�นวน
คำ�หลกั

๑ ข้อมูล ประชาสัมพนั ธ์ แผ่นพับ ใบปลิว วารสาร เผยแพร ่ ๒๕
และแหลง่ ท่องเทยี่ ว โฆษณา ปราสาท พระราชวงั ประวตั ศิ าสตร ์ โบราณสถาน
โบราณวตั ถ ุ แหลง่ ทอ่ งเทย่ี ว เจดยี ์ ตลาดนา้ํ ศนู ยเ์ รยี นร ู้
ศูนยว์ ัฒนธรรม ภเู ขา นาํ้ ตก แม่น้ํา อทุ ยานแหง่ ชาติ
วัด โครงการพระราชด�ำ ร ิ ดอย ทะเล หม่เู กาะ

๒ เสน้ ทางการทอ่ งเทยี่ ว เดินทาง เรือ รถประจำ�ทาง รถไฟ เคร่อื งบนิ แผนที ่ ๑๓
ทศิ ภาค ใต้ เหนือ ตะวนั ตก ตะวันออก
ตะวนั ออกเฉยี งเหนอื

๓ การจัดการ ทีพ่ กั เจา้ ของ คนงาน ลูกค้า วัสด ุ บริการ จัดการ ๑๔
การทอ่ งเที่ยว / ขนส่ง ธรุ กจิ ยดื หยุ่น เอาใจใส่ ความร ู้ ตั๋ว มคั คเุ ทศก ์
มัคคเุ ทศก์

28 หลกั สูตรการรหู้ นังสอื ไทย พุทธศักราช ๒๕๕๗

ท่ี หวั เรื่อง ค�ำ หลัก จำ�นวน
คำ�หลกั

๔ ส่งเสริมอาชพี เพ่ือ เช่า ถ่ายรปู พ้นื เมือง นวดแผนไทย ของทร่ี ะลกึ ๖
การทอ่ งเทยี่ ว อาหารแปรรูป

๕ วัฒนธรรม ประเพณี ภาษา ศลิ ปะ ประเพณี วฒั นธรรม สงกรานต์ ปใี หม่ ๑๐
ท�ำ บญุ แตง่ งาน บวช งานศพ
สัญลักษณ์ ความหมาย
๖ สญั ลักษณท์ ่คี วรรู้ ๑๓

โรงพยาบาล

อย.

ห้ามใช้เสียง

อนั ตราย

สญั ญาณไฟข้างหน้า

ห้ามใช้โทรศัพท์

หลกั สตู รการร้หู นงั สือไทย พุทธศักราช ๒๕๕๗ 29

ท่ี หัวเร่ือง ค�ำ หลกั จำ�นวน
๖ สญั ลกั ษณท์ ค่ี วรรู้ (ตอ่ ) คำ�หลกั
สญั ลกั ษณ์ ความหมาย

หอ้ งนํา้ (หญิง ชาย)

หา้ มสบู บหุ รี่

หา้ มเดนิ ข้าม

ห้ามจอด

ขา้ มทางม้าลาย

ห้ามทิ้งขยะ

ประหยัดไฟ

30 หลักสตู รการรูห้ นังสอื ไทย พทุ ธศักราช ๒๕๕๗

ค�ำ หลักและสัญลักษณ์ทางคณติ ศาสตรท์ ่เี กย่ี วข้องกับชีวติ ประจำ�วนั

ที่ หัวเรื่อง คำ�หลกั

๑ ตัวเลข/ตวั อกั ษร

๑.๑ เลขอารบกิ 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11... 100... 1,000…

๑.๒ เลขไทย ๐ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑... ๑๐๐... ๑,๐๐๐...

๑.๓ ตวั อักษร ศูนย์ หน่ึง สอง สาม สี่ ห้า หก เจ็ด แปด เก้า สบิ สิบเอ็ด
ยี่สิบ ร้อย พนั หมื่น แสน ลา้ น

๒ คำ�ศัพทท์ าง คบื ศอก วา หลา นิว้ ฟตุ เซนติเมตร เมตร กโิ ลเมตร
คณิตศาสตร์ ตารางวา งาน ไร ่ ขดี กรัม กิโลกรมั ตัน ถัง ปีบ๊ กระสอบ
หาบ เกวียน แกลลอน ลติ ร ชั่วโมง นาที วินาท ี เศษสว่ น
๓ สัญลกั ษณ์ ถ้วน กว้าง ยาว กลม รี สเี่ หลยี่ ม จ�ำ นวน ร้อยละ ผลลพั ธ ์
ทางคณิตศาสตร์ ทศนยิ ม บาท สตางค์

= (เท่ากับ)
≠ (ไม่เท่ากับ)
+ (บวก)
- (ลบ)
x (คูณ)
÷ (หาร)
> (มากกวา่ )
< (น้อยกวา่ )
( ) (วงเลบ็ )
% (เปอร์เซ็นต์)

หลกั สูตรการรู้หนงั สอื ไทย พุทธศกั ราช ๒๕๕๗ 31

อักษรไทย มี ๔๔ ตัว ดงั นี้

ก ข ฃ ค ฅ ฆ ง
จ ฉ ช ซ ​ฌ ญ ฎ
ฏ ฐ ฑ ฒ ณ ด ต
ถ ท ธ น บ ป ผ
ฝ พ ฟ ภ ม ย ร
ล ว ศ ษ ส ห ฬ
อ ฮ

32 หลักสตู รการรหู้ นงั สอื ไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๗

เสียงสระในภาษาไทย มี ๓๒ เสียง ดังนี้

เสียงสระ

ชนิด สระเสยี งส้ัน สระเสยี งยาว
๑. สระเสียงแท้หรอื สระเดีย่ ว
คอื สระที่เปล่งออกมาเป็น อะ  อ ิ อึ อา  อี  อือ
เสียงเดียว อ ุ เอะ แอะ อ ู เอ  แอ
๒. สระประสม คอื สระท่ี โอะ เอาะ เออะ โอ  ออ เออ
ประกอบด้วยสระเด่ียว
สองเสยี ง เอยี ะ (อิ + อะ) เอีย (อี + อา)
๓. สระเกนิ คอื สระท่มี ีเสียง เอือะ (อึ + อะ) เอือ (อือ + อา)
พยญั ชนะประสมกบั สระเดย่ี ว อวั ะ (อุ + อะ) อัว (อู + อา)

ฤ ฦ (ร ล + อึ)
อำ� (อะ + ม) ฤา ฦา (ร, ล + อือ)
ใอ, ไอ (อะ +ย)
เอา (อะ + ว)

หลักสตู รการรูห้ นงั สือไทย พุทธศักราช ๒๕๕๗ 33

บรรณานุกรม

ส�ำ นักงาน กศน.. ๒๕๕๕. นโยบายและจุดเนน้ การด�ำ เนนิ งาน สำ�นักงาน กศน. ประจ�ำ ปี
งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พช์ มุ นมุ สหกรณก์ ารเกษตรแหง่ ประเทศไทย
จ�ำ กัด.
_________. ๒๕๕๖. การศึกษาตลอดชีวติ เน่ืองในโอกาสวันทรี่ ะลกึ สากลแหง่ การรู้หนังสือ
ปี พ.ศ. ๒๕๕๖. กรงุ เทพฯ : มปท.
ส�ำ นักบรหิ ารงานการศกึ ษานอกโรงเรียน. ๒๕๔๙. การรหู้ นงั สอื : บนั ไดสู่อสิ รภาพ นิยามและ
การประเมนิ ของนานาชาติ. กรงุ เทพฯ : มปท.
สำ�นักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำ�นกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. ๒๕๓๑.
บญั ชคี �ำ พน้ื ฐานทใ่ี ชใ้ นการเรยี นการสอนภาษาไทย ชว่ งชน้ั ท่ี ๑ (ชน้ั ประถมศกึ ษา
ปที ่ี ๑-๓). (อัดส�ำ เนา)

34 หลกั สูตรการร้หู นงั สือไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๗

รายช่ือคณะทำ�งานยกรา่ งหลักสตู รการรหู้ นังสือไทย (พ.ศ. ๒๕๕๓)

ท่ีปรกึ ษา จรี ะวุฒ ิ เลขาธิการ กศน.
๑. นายอภิชาต ิ แก้วไทรฮะ ที่ปรึกษาด้านหลกั สตู ร
๒. นายทองอยู่ อมิ่ สวุ รรณ์ รองเลขาธกิ าร กศน.
๓. นายชัยยศ ตณั ฑวฑุ โฒ ผู้อ�ำ นวยการกล่มุ พัฒนาการศึกษานอกโรงเรยี น
๔. นางรักขณา

คณะทำ�งาน ข้าราชการบำ�นาญ
๑. นางพรทิพย ์ กล้ารบ
๒. นางสาวพูนศร ี อ่ิมประไพ ข้าราชการบำ�นาญ สพฐ.
๓. นางนิตยา จรูญผลฐติ ิ ข้าราชการบำ�นาญ สพฐ.
๔. นางสาวอรุณโรจน์ ทองงาม สถาบัน กศน. ภาคกลาง
๕. นางสาวสรุ ตั นา บรู ณะวิทย ์ สถาบัน กศน. ภาคตะวนั ออก
๖. นายรว่ มมติ ร คำ�ผา สถาบัน กศน. ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื
๗. นางสาวพรทิพย ์ ชาตะรัตน์ สถาบนั กศน. ภาคใต้
๘. นางสาวสุดใจ บุตรอากาศ สถาบนั กศน. ภาคเหนอื
๙. นางอุไรวรรณ อนิ ทยารัตน ์ สำ�นกั งาน กศน. จังหวดั นครศรธี รรมราช
๑๐. นายนรนิ ทร ์ ปาระมี ส�ำ นักงาน กศน. จังหวัดลำ�พูน
๑๑. นางอ�ำ นวย คุณสขุ ส�ำ นกั งาน กศน. จงั หวัดจันทบรุ ี
๑๒. นางสาวกฤษณา บำ�รุงกลู สำ�นกั งาน กศน. จงั หวัดขอนแก่น
๑๓. นางสาวโสภา หนูสงิ ห ์ สำ�นักงาน กศน. จังหวัดสตลู
๑๔. นางวัชรี สวสั ดี สำ�นกั งาน กศน. จังหวัดสุรินทร์
๑๕. นางเบญจมาศ สระทองหย่อม กศน. อำ�เภอวชริ บารมี จังหวัดพจิ ติ ร
๑๖. นางสาวกุหลาบ ออ่ นระทวย กศน. อำ�เภอเกาะลนั ตา จังหวดั กระบ่ี
๑๗. นายสุรพล วงศห์ วัน กศน. อำ�เภอแมส่ รวย จังหวัดเชยี งราย
๑๘. นายเกษม บาตรโพธ ิ์ กศน. อำ�เภอขามสะแกแสง จงั หวัดนครราชสมี า
๑๙. นายสมบรู ณ ์ เหลา่ วงศ์วัฒนา กศน. อำ�เภอศรีมโหสถ จงั หวดั ปราจนี บุรี
๒๐. นายคธาวฒุ ิ บญุ อยู ่ กศน. อำ�เภอตะพานหนิ จังหวดั พิจิตร
๒๑. นางพนอ ธรรมเนียมอนิ ทร ์ ศนู ยเ์ ทคโนโลยีทางการศึกษา
๒๒. นางสาวจตุพร สุทธวิ ิวฒั น์ หน่วยศกึ ษานิเทศก์
๒๓. นางสาวจรรยา สงิ หท์ อง หน่วยศกึ ษานเิ ทศก์
๒๔. นางดุษฎี ศรีวฒั นาโรทัย กลุม่ พัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรยี น

หลักสตู รการรู้หนงั สือไทย พุทธศักราช ๒๕๕๗ 35

๒๕. นางพรทิพย ์ เข็มทอง กลุ่มพฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น
๒๖. นางศุทธินี งามเขตต ์ กลมุ่ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น
๒๗. นางพรรณทิพา ชินชชั วาล กลมุ่ พัฒนาการศึกษานอกโรงเรยี น
๒๘. นางนพรัตน ์ เวโรจนเ์ สรีวงศ ์ กลมุ่ พัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรียน
๒๙. นายสมชาย ฐติ ิรตั นอัศว ์ กลุ่มพฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น
๓๐. นางสาวอนงค์ เชอื้ นนท ์ กลุม่ พฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน
๓๑. นางรุง่ อรณุ ไสยโสภณ กลุ่มพฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น
๓๒. นางนสุ รา สกลนุกรกจิ กล่มุ พัฒนาการศึกษานอกโรงเรยี น
๓๓. นางรุ้งลาวัณย ์ พิไลวงศ์ กลุ่มพัฒนาการศึกษานอกโรงเรยี น

36 หลกั สตู รการรู้หนังสือไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๗

รายช่อื ผเู้ ข้ารว่ มประชมุ ปฏบิ ัตกิ ารพัฒนาหลักสตู รการรู้หนังสือไทย
ระหว่างวนั ที่ ๒๑ - ๒๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๔

ณ หอ้ งประชมุ กลมุ่ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น ชน้ั ๓ อาคารส�ำ นกั งาน กศน.

๑. นายทองอย ู่ แก้วไทรฮะ ทีป่ รึกษา
๒. นายทรงชยั ขยันงาน ผเู้ ชย่ี วชาญเฉพาะดา้ นพัฒนาหลกั สตู ร
๓. นางรักขณา ตณั ฑวุฑโฒ ผู้อำ�นวยการกลุม่ พัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน
๔. นายสุรพงษ ์ ไชยวงศ ์ ผู้อ�ำ นวยการสำ�นักงาน กศน. จงั หวัดลำ�พนู
๕. นายสรุ พล วงศ์หวัน ผอู้ �ำ นวยการ กศน. อ�ำ เภอแม่สรวย จังหวดั เชยี งราย
๖. นางเบญจมาศ สระทองหย่อม ผู้อ�ำ นวยการ กศน. อำ�เภอวชิรบารมี จงั หวัดพิจิตร
๗. นางสาวอนงค์ เช้อื นนท์ กศน. เขตบางเขน กทม.
๘. นางสาวจรสั ศรี หวั ใจ กศน. อำ�เภอพานทอง จงั หวดั ชลบรุ ี
๙. นางดษุ ฎ ี ศรีวัฒนาโรทยั กลมุ่ พัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรยี น
๑๐. นางพรทพิ ย ์ เขม็ ทอง กลมุ่ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น
๑๑. นางนพรัตน์ เวโรจนเ์ สรวี งศ์ กลมุ่ พฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน
๑๒. นางรุง่ อรณุ ไสยโสภณ กลุ่มพัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรียน
๑๓. นางสาวผณินทร ์ แซอ่ ึ้ง กลุ่มพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน
๑๔. นางนุสรา สกลนุกรกจิ กลุม่ พฒั นาการศึกษานอกโรงเรยี น
๑๕. นางสกุ ญั ญา กลุ เลศิ พทิ ยา กลุ่มพฒั นาการศึกษานอกโรงเรยี น
๑๖. นายกว ี โสนน้อย กลมุ่ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น

ผ้รู ับผิดชอบโครงการ ไสยโสภณ กลุ่มพฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน
นางรงุ่ อรณุ

หลักสตู รการรหู้ นังสือไทย พุทธศักราช ๒๕๕๗ 37

รายช่อื ผู้เขา้ รว่ มประชุมปฏิบตั ิการพัฒนาคู่มือการใช้หลักสูตรการร้หู นงั สือไทย
ระหว่างวันที่ ๙ – ๑๑ กรกฎาคม ๒๕๕๕

ณ โรงแรมรอยลั รเิ วอร์แคว รสี อรท์ แอนด์ สปา จังหวัดกาญจนบรุ ี

คณะที่ปรึกษา บญุ เรือง เลขาธิการ กศน.
๑. นายประเสริฐ อิม่ สุวรรณ์ รองเลขาธิการ กศน.
๒. นายชัยยศ เลิศสุริยะกลุ ผู้เช่ยี วชาญเฉพาะดา้ นพัฒนาหลกั สตู ร
๓. นายกลุ ธร จันทรโ์ อกุล ผเู้ ชี่ยวชาญเฉพาะด้านพัฒนาสอื่ การเรยี นการสอน
๔. นางวทั นี แกว้ ไทรฮะ ขา้ ราชการบ�ำ นาญ
๕. นายทองอยู่ งามเขตต ์ ผอู้ ำ�นวยการกลมุ่ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น
๖. นางศุทธิน ี

คณะทำ�งาน
๑. นางดุษฎี ศรวี ัฒนาโรทยั ข้าราชการบำ�นาญ
๒. นางพรทพิ ย ์ เขม็ ทอง ขา้ ราชการบ�ำ นาญ
๓. นางนพรตั น ์ เวโรจนเ์ สรีวงศ ์ ขา้ ราชการบ�ำ นาญ
๔. - ๑๑.  ผู้แทนผบู้ รหิ าร ครู หรือบคุ ลากรที่เก่ียวข้อง ท่มี คี วามรู้ ความสามารถ และประสบการณ์
ในการจัดการศกึ ษา เพ่ือส่งเสรมิ การรู้หนังสอื จากหน่วยงาน/สถานศกึ ษา ในจงั หวดั ของ
เขตภาคเหนอื ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ภาคกลาง กรงุ เทพมหานคร แห่งละ ๒ คน
จำ�นวน ๘ คน
๑๒. นายสมศักด์ิ วชริ พันธ์ สถาบนั กศน. ภาคเหนอื
๑๓. นางพนิตตา กิจจนศริ ิ สถาบนั กศน. ภาคตะวนั ออก
๑๔. นางเออ้ื พร เขมากรณ ์ สถาบัน กศน. ภาคใต้
๑๕. นายสุรพงษ ์ ไชยวงศ ์ ผูอ้ �ำ นวยการสำ�นักงาน กศน. จังหวัดนครสวรรค์
๑๖. นายสมยศ เพิม่ พงศาเจรญิ ผอู้ �ำ นวยการสำ�นักงาน กศน. จงั หวัดกาญจนบรุ ี
๑๗. ว่าที่ ร.ต.ธนิต แท่งทองค�ำ ผู้อำ�นวยการสำ�นักงาน กศน. จังหวดั ตาก
๑๘. นายปราโมทย์ หมู่พยคั ฆ์ ผอู้ ำ�นวยการ กศน. อ�ำ เภอบอ่ เกลอื จงั หวดั นา่ น
๑๙. นางเบญจมาศ สระทองหยอ่ ม ผอู้ ำ�นวยการ กศน. อ�ำ เภอวชริ บารมี จงั หวัดพจิ ติ ร
๒๐. นางวไิ ลลักษณ์ สุขสาย ผอู้ �ำ นวยการ กศน. อ�ำ เภอกลั ยาณวิ ฒั นา จงั หวดั เชยี งใหม่
๒๑. นางสรุ ียภ์ รณ ์ หนอ่ ค�ำ ผู้อ�ำ นวยการ กศน. อำ�เภอเวียงปา่ เป้า จงั หวดั เชยี งราย
๒๒. นายสุใจ เช้ือเมืองพาน ผ้อู �ำ นวยการ กศน. อ�ำ เภอขุนตาล จงั หวดั เชยี งราย
๒๓. นางนงคราญ แกว้ จนั ทร์ ผู้อำ�นวยการ กศน. อำ�เภอขขุ นั ธ์ จงั หวัดศรสี ะเกษ
๒๕. นายเกรียงไกร เอย่ี มกระสินธุ์ สำ�นักงาน กศน. จังหวัดแม่ฮ่องสอน
๒๖. นางกฤษณา พลฤทธ์ ิ ส�ำ นักงาน กศน. จังหวัดอุตรดติ ถ์

38 หลกั สตู รการรู้หนงั สือไทย พทุ ธศักราช ๒๕๕๗

๒๗. นางสาวบุศลนิ ชา่ งสลกั กศน. อำ�เภอเมอื ง จังหวดั นครพนม
๒๘. นางสาวสวุ รรณา แซจ่ งึ กศน. อ�ำ เภอยะหร่งิ จงั หวดั ปตั ตานี
๒๙. นางพรวิไล สาระจนั ทร ์ ครู กศน.
๓๐. นางศิราณี อ่มิ สวุ รรณ ์ กล่มุ ส่งเสรมิ ปฏบิ ตั กิ าร
๓๑. นางพรรณทิพา ชินชชั วาล กลมุ่ พัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน
๓๒. นางรงุ่ อรณุ ไสยโสภณ กลุม่ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น
๓๓. นางญาณศิ า สขุ อดุ ม กลุม่ พัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรยี น
๓๔. นางนุสรา สกลนกุ รกิจ กลมุ่ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น
๓๕. นางสาวพชั ราภรณ์ ธญั มณเี ลศิ สกุล กลุ่มพฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน
๓๖. นางสาวทิพวรรณ วงคเ์ รอื น กลุ่มพฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น
กลมุ่ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น
ผ้รู ับผิดชอบโครงการ ไสยโสภณ
นางรุ่งอรุณ

หลกั สตู รการรูห้ นงั สือไทย พทุ ธศักราช ๒๕๕๗ 39

รายชอ่ื ผเู้ ขา้ รว่ มประชมุ บรรณาธกิ ารหลกั สตู รการรหู้ นงั สอื ไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๖
ระหวา่ งวันท่ี ๒๒ – ๒๕ เมษายน ๒๕๕๖
ณ โรงแรมลองบชี ชะอ�ำ จงั หวดั เพชรบรุ ี

คณะทปี่ รกึ ษา บุญเรือง เลขาธิการ กศน.
๑. นายประเสรฐิ อม่ิ สวุ รรณ์ รองเลขาธกิ าร กศน.
๒. นายชยั ยศ เลิศสุรยิ ะกลุ ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะดา้ นพัฒนาหลกั สตู ร
๓. นายกลุ ธร จันทรโ์ อกลุ ผู้เช่ยี วชาญเฉพาะด้านพัฒนาส่อื การเรียนการสอน
๔. นางวัทน ี แกว้ ไทรฮะ ข้าราชการบ�ำ นาญ
๕. นายทองอย ู่ งามเขตต ์ ผู้อ�ำ นวยการกลมุ่ พัฒนาการศึกษานอกโรงเรยี น
๖. นางศทุ ธินี

คณะท�ำ งาน ขา้ ราชการบำ�นาญ
๑. นางสาวสุภรณ์ ปรชี าอนนั ต ์ ข้าราชการบ�ำ นาญ
๒. นางดษุ ฎ ี ศรีวัฒนาโรทัย ข้าราชการบ�ำ นาญ
๓. นางพรทิพย์ เข็มทอง ข้าราชการบ�ำ นาญ
๔. นายสมศกั ด์ ิ วชริ พนั ธ ์ ข้าราชการบ�ำ นาญ
๕. นางนพรตั น ์ เวโรจนเ์ สรีวงศ์ วทิ ยาลัยการอาชีพนวมนิ ทราชินีแมฮ่ ่องสอน
๖. นางกานดา เอย่ี มกระสินธ์ ุ สถาบัน กศน. ภาคเหนอื
๗. นายสมโภช จันทรคำ�ภู ผ้อู ำ�นวยการส�ำ นกั งาน กศน. จงั หวัดพิษณุโลก
๘. นายสุรพงษ ์ ไชยวงศ์ ผอู้ ำ�นวยการ กศน. อ�ำ เภอท่าบอ่ จังหวดั หนองคาย
๙. นางอภิญญา ลีบ่อนอ้ ย ผอู้ �ำ นวยการ กศน. อ�ำ เภอบ่อเกลอื จังหวดั น่าน
๑๐. นายปราโมทย ์ หมพู่ ยคั ฆ์ ผอู้ ำ�นวยการ กศน. อำ�เภอวชิรบารมี จงั หวดั พิจิตร
๑๑. นางเบญจมาศ สระทองหย่อม ผู้อำ�นวยการ กศน. อำ�เภอขุขนั ธ์ จังหวดั ศรสี ะเกษ
๑๒. นางนงคราญ แกว้ จนั ทร ์ ผู้อ�ำ นวยการ กศน. อำ�เภอยางชมุ นอ้ ย จงั หวัดศรสี ะเกษ
๑๓. นางบัวทอง บญุ สน ผู้อำ�นวยการ กศน. อ�ำ เภอภูซาง จังหวัดพะเยา
๑๔. นางวลิ าวัลย ์ ไชยมงคล ส�ำ นักงาน กศน. จงั หวดั ศรสี ะเกษ
๑๕. นางไศลรัตน ์ แสงทอง ส�ำ นกั งาน กศน. จงั หวดั อตุ รดิตถ์
๑๖. นางกฤษณา พลฤทธ์ ิ ส�ำ นักงาน กศน. จงั หวดั แมฮ่ ่องสอน
๑๗. นายเกรียงไกร เอยี่ มกระสนิ ธ ์ุ กศน. อำ�เภอเมือง จังหวัดแมฮ่ อ่ งสอน
๑๘. นางนชุ นารถ ไชกนั ทา กศน. อำ�เภอแมส่ ะเรยี ง จังหวัดแม่ฮ่องสอน
๑๙. นางสุดารตั น ์ ค�ำ มลู ใจ กศน. อำ�เภอบอ่ เกลอื จังหวัดนา่ น
๒๐. นางสาวนนั ทนา ไชยเลิศ กศน. อ�ำ เภอบอ่ เกลือ จังหวัดนา่ น
๒๑. นางสาวสภุ ารตั น์ ขันหลวง

40 หลักสูตรการรหู้ นังสอื ไทย พุทธศักราช ๒๕๕๗

๒๒. นางสาวบศุ ลนิ ชา่ งสลัก กศน. อำ�เภอเมือง จงั หวัดนครพนม
๒๓. - ๒๔. หน่วยศึกษานเิ ทศก์และผู้แทน รวมจ�ำ นวน ๒ คน
๒๕. นางศิราณ ี อ่ิมสุวรรณ์ กลุ่มส่งเสรมิ ปฏบิ ตั กิ าร
๒๖. นางรุ่งอรณุ ไสยโสภณ กลมุ่ พัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรยี น
๒๗. นางนสุ รา สกลนุกรกจิ กลมุ่ พัฒนาการศึกษานอกโรงเรยี น
๒๘. นางสรุ ีวัลย์ ล้มิ พิพัฒนกลุ กล่มุ พัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน
๒๙. นางสุกัญญา กุลเลิศพิทยา กลมุ่ พัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรยี น
๓๐. นางสาวพชั ราภรณ์ ธญั มณเี ลิศสกุล กลุม่ พัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน

ผู้รบั ผดิ ชอบโครงการ ไสยโสภณ กลุ่มพฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน
นางร่งุ อรณุ

หลักสูตรการรู้หนังสือไทย พุทธศกั ราช ๒๕๕๗ 41

รายช่อื ผู้เขา้ รว่ มการประชุมปฏบิ ัติการเขียนแผนการจดั การเรยี นรตู้ ามหลักสูตรการรู้หนังสอื ไทย
ระหว่างวันท่ี ๑๐ – ๑๓ กันยายน ๒๕๕๖
ณ โรงแรม โฮเต็ล เดอ ม๊อค กรุงเทพฯ

คณะทีป่ รกึ ษา บญุ เรอื ง เลขาธิการ กศน.
๑. นายประเสริฐ อิ่มสุวรรณ์ รองเลขาธิการ กศน.
๒. นายชยั ยศ แกว้ ไทรฮะ ท่ปี รึกษา
๓. นายทองอยู่ จันทรโ์ อกุล ผ้เู ชีย่ วชาญเฉพาะดา้ นพัฒนาสือ่ การเรยี นการสอน
๔. นางวัทนี เลิศสุริยะกลุ ผเู้ ชี่ยวชาญเฉพาะดา้ นพฒั นาหลกั สตู ร
๕. นายกลุ ธร สวุ รรณพทิ ักษ ์ ผเู้ ช่ียวชาญเฉพาะดา้ นเผยแพร่ทางการศึกษา
๖. นางกนกพรรณ เที่ยงธรรม ผเู้ชย่ี วชาญเฉพาะดา้ นสง่ เสรมิ มาตรฐานการศกึ ษานอกโรงเรยี น
๗. นายทวีศักดิ์ งามเขตต์ ผ้อู ำ�นวยการกล่มุ พฒั นาการศึกษานอกโรงเรยี น
๘. นางศทุ ธนิ ี

ผู้เขา้ รว่ มประชุม
๑. นางสาววิมลรัตน์ ภรู คิ ปุ ต ์ ผอู้ �ำ นวยการ กศน. เขตมนี บุรี กรุงเทพฯ
๒. นายปราโมทย์ หมพู่ ยัคฆ์ ผอู้ ำ�นวยการ กศน. อำ�เภอบอ่ เกลอื จงั หวัดน่าน
๓. นางวิไลลักษณ์ สุขสาย ผอู้ �ำ นวยการ กศน. อ�ำ เภอกลั ยาณวิ ฒั นา จงั หวดั เชยี งใหม่
๔. นางออมสนิ บุญวงษ์ ผอู้ ำ�นวยการ กศน. อ�ำ เภอแม่วาง จังหวดั เชียงใหม่
๕. นางนงคราญ แก้วจันทร ์ ผู้อ�ำ นวยการ กศน. อำ�เภอขขุ ันธ์ จังหวดั ศรีสะเกษ
๖. นางไศลรัตน ์ แสงทอง ส�ำ นกั งาน กศน. จังหวดั ศรีสะเกษ
๗. นายเกรียงไกร เอย่ี มกระสินธ ์ ส�ำ นกั งาน กศน. จังหวดั แม่ฮ่องสอน
๘. นางกัลยา หอมดี ศนู ยว์ ทิ ยาศาสตรเ์ พอื่ การศึกษาลำ�ปาง
๙. นางสาวสุภาพร ชมภูใส กศน. อ�ำ เภอปางมะผา้ จงั หวัดแมฮ่ อ่ งสอน
๑๐. นายศรีวศิ าล จนั ทรส์ ขุ กศน. อำ�เภอเมืองแม่ฮ่องสอน จงั หวดั แมฮ่ อ่ งสอน
๑๑. นางสาววชั ร ี ทองเหลือง กศน. อำ�เภอเมืองแมฮ่ อ่ งสอน จังหวดั แม่ฮ่องสอน
๑๒. นางสาวบญุ ศรี ฝั่นเฟือนหา กศน. อำ�เภอเมอื งแม่ฮอ่ งสอน จงั หวดั แมฮ่ ่องสอน
๑๓. นางสาวผสุ ดี ช้ามะเริง กศน. อำ�เภอปาย จงั หวัดแม่ฮ่องสอน
๑๔. นายไชยยา อริยจกั ร กศน. อ�ำ เภอปาย จังหวดั แมฮ่ อ่ งสอน
๑๕. นางสภุ าพร นามวงค ์ กศน. อ�ำ เภอสบเมย จงั หวัดแมฮ่ ่องสอน
๑๖. นางสาวปรีญาดา อปุ มา กศน. อ�ำ เภอขขุ ันธ์ จงั หวัดศรีสะเกษ
๑๗. นางสาวติ รี แวงวรรณ กศน. อ�ำ เภอขุขันธ์ จังหวดั ศรีสะเกษ
๑๘. นางสาวบุศลิน ชา่ งสลกั กศน. อำ�เภอเมอื งนครพนม จังหวดั นครพนม
๑๙. นางสาวแวเยาะ แวอาแซ กศน. อำ�เภอยะหร่งิ จังหวัดปตั ตานี

42 หลักสตู รการรู้หนังสอื ไทย พุทธศักราช ๒๕๕๗


Click to View FlipBook Version