The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by 0909, 2022-02-02 03:34:23

Best-Prctice-Project-Based-Learning

Best-Prctice-Project-Based-Learning

คำนำ

ความหมายของการปฏบิ ตั ิที่เป็นเลิศ/นวตั กรรม (Best Practice) เป็นวธิ กี าร/นวัตกรรมในการพฒั นา
คุณภาพสถาน ศกึ ษาเพื่อนาไปสูก่ ารบรรลุเป้าหมายของสถานศึกษา ตอบสนองความ ตอ้ งการและความคาดหวงั
ของชุมชน ผปู้ กครอง และนามาสคู่ วามเป็นเลศิ ในการดาเนินการเพ่ือให้บรรลุวัตถุ ประสงค์

โรงเรียนมัธยมวดั สิงห์ โครงการหอ้ งเรยี นพิเศษ English Program เปิดการเรียนการสอนมาตงั้ แตป่ ี
การศึกษา 2547 โดยเปน็ การเรียนการสอนภาคภาษาอังกฤษตามหลักสูตรกระทรวงศึกษาธิการ โดยมีวตั ถปุ ระสงค์
เพื่อมุ่งเนน้ ใหผ้ ู้เรียนพฒั นากระบวนการคิดเชงิ สรา้ งสรรคโ์ ดยใช้การเรียนรู้โครงงานเปน็ ฐาน Project-Based
Learning โดยจดั การเรยี นรู้เปน็ ภาษาองั กฤษบรู ณาการการใช้โครงงาน Project Work เพ่ือให้นักเรียนสรุปองค์
ความรูท้ ี่ไดจ้ ากรายวชิ าในชั้นเรียน

ทางผู้จดั ทามุ่งหวังเป็นอยา่ งย่ิง ในการพัฒนาการเรียนการสอนให้เกดิ ประโยชน์สูงสุดน้ัน นักเรียนจะ
สามารถนาความรู้ไปใช้ได้อยา่ งยงั่ ยนื และมปี ระสทิ ธิภาพในการพฒั นาสงั คมอยา่ งย่ังยนื ต่อไป

ผู้จัดทา
นางสาวเสาวรัตน์ เจริญวรชยั
นางสาวจุฬารตั น์ ดวงแกว้

นายปยิ ะพล พลบั วังกลา่

สำรบญั Page

ความเปน็ มาของนวตั กรรม ๒
วัตถปุ ระสงคข์ องการจดั การเรียนรู้ ๓
เปา้ หมายเชงิ ปรมิ าณ ๔
เป้าหมายเชงิ คุณภาพ ๖
การสอดคลอ้ งกับความต้องการ ๘
ปจั จยั ความสาเร็จ ๑๒
บทเรียนทไ่ี ดร้ ับ ๑๔
การไดร้ บั การยกยอ่ ง/ รางวัลที่ไดร้ ับ ๑๖
รอ่ งรอยหลกั ฐานเชิงประจักษ์

นวตั กรรมดำ้ นกำรจดั กำรเรยี นกำรสอนในโครงกำรห้องเรียนพเิ ศษ English Program
ด้วยวธิ ปี ฏบิ ัติทเ่ี ป็นเลศิ (Best Practice)

โครงกำรห้องเรยี นพเิ ศษ English Program กลุม่ บรหิ ำรงำนวชิ ำกำร โรงเรียนมธั ยมวัดสิงห์
สำนักงำนเขตพืน้ ทีก่ ำรศึกษำมัธยมศกึ ษำ เขต 1

ช่ือผลงำน การพฒั นากระบวนการคิดเชงิ สรา้ งสรรคโ์ ดยใช้การเรียนร้โู ครงงานเป็นฐาน Project-
Based Learning
โดย โครงการห้องเรยี นพเิ ศษ English Program
ผรู้ ับผดิ ชอบ 1. นางสาวเสาวรัตน์ เจรญิ วรชยั
2. นางสาวจฬุ ารัตน์ ดวงแกว้
หนว่ ยงำน 3. นายปิยะพล พลับวังกล่า
ผ้บู ริหำร โรงเรยี นมัธยมวดั สิงห์ สงั กัด สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศกึ ษา เขต 1
ดร. บุณยพงศ์ โพธิวฒั น์ธนัต ผู้อานวยการโรงเรยี นมธั ยมวัดสงิ ห์

ควำมเปน็ มำ

โรงเรยี นมธั ยมวัดสงิ ห์เปน็ โรงเรยี นรฐั บาล สังกัดสานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐานกระทรวง
ศึกษาธิการ ต้ังอยูเ่ ลขท่ี 35ก หมู่3 ถนนเอกชัย แขวงบางขุนเทยี น เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร
โรงเรียนมัธยมวัดสงิ หเ์ ปน็ โรงเรียนสหศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ มเี นื้อที่ 37 ไร่ ถอื เป็นโรงเรยี นรัฐบาลทมี่ ีขนาดพืน้ ที่
ใหญ่ที่สุดในฝั่งธนบรุ ีซงึ่ ไดก้ ่อต้ังขึน้ ในปี พ.ศ.2496

โรงเรยี นเปดิ ทาการสอนคร้งั แรก เม่ือวนั จนั ทรท์ ่ี 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2496 (ซ่งึ ถือเปน็ วนั กอ่ ตัง้ โรงเรยี น)
เร่ิมตน้ เปิดสอนในชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1 จานวน 1 หอ้ งเรียน มนี ักเรยี น 47 คน ครู 4 คน โดยมคี รูหงมิ เก็บไว้ เป็น
ครูใหญ่คนแรก ในระยะแรกโรงเรียนมอี าคารเรยี นเปน็ เรอื นไม้ชั้นเดียวหลงั คามุงจาก จานวน 1 หลัง การทา
กจิ กรรมตา่ งๆ จงึ ต้องอาศยั ศาลาโรงทึมทีว่ ดั สงิ หอ์ ยเู่ สมอ ซงึ่ ท่านพระครูฉอ่ ง (พระครูอุดมสกิ ขกจิ ) เจ้าอาวาสวดั
สงิ ห์ในสมยั นน้ั ท่านได้ให้ความกรุณาอปุ ถัมภโ์ รงเรยี นตลอดมา โรงเรียนได้พฒั นาก้าวหนา้ มาโดยลาดับ มกี าร
กอ่ สรา้ ง อาคารเรียนเพม่ิ เติมหลายหลงั

โรงเรยี นมธั ยมวัดสงิ ห์ โครงการหอ้ งเรียนพิเศษ English Program ได้รบั อนุญาตเปดิ การเรียนการสอนมา
ต้ังแต่ปกี ารศึกษา 2547 โดยเป็นการเรยี นการสอนภาคภาษาอังกฤษตามหลกั สตู รกระทรวงศกึ ษาธกิ าร โดยมีการ
เรียนการสอนในรายวชิ าท่ีเป็นภาษาอังกฤษดังนี้

1. วิชาคณิตศาสตร์ ภาคเรียนละ 2 รายวชิ า ปีการศกึ ษาละ 4 รายวชิ า

2. วิชาวิทยาศาสตร์ ภาคเรยี นละ 2 รายวิชา ปกี ารศกึ ษาละ 4 รายวิชา

3. วชิ าสงั คมศกึ ษา ภาคเรียนละ 2 รายวิชา ปกี ารศกึ ษาละ 4 รายวชิ า

4. วิชาสุขศกึ ษา ภาคเรียนละ 2 รายวชิ า ปกี ารศกึ ษาละ 4 รายวิชา

5. วชิ าภาษาอังกฤษ ภาคเรยี นละ 2 รายวิชา ปีการศกึ ษาละ 4 รายวชิ า

6. วิชาเฉพาะทางสายวทิ ย์ (ฟิสิกส์ เคมี ชีววทยา) ภาคเรยี นละ 3 รายวิชา

7. วชิ าเสรมิ ทกั ษะทางวิชาการเป็นภาษาองั กฤษ ปกี ารศึกษาละ 1 รายวิชา

วตั ถุประสงค์

เพอ่ื ม่งุ เนน้ ให้นักเรียนในโครงการห้องเรยี นพิเศษ English Program พฒั นากระบวนการคิดเชิงสร้างสรรค์
โดยใชก้ ารเรียนรูโ้ ครงงานเปน็ ฐาน Project-Based Learning โดยจัดการเรยี นรูเ้ ป็นภาษาองั กฤษบูรณาการการใช้
โครงงาน Project Work เพื่อให้นกั เรยี นสรุปองคค์ วามรู้ทไ่ี ด้จากรายวชิ าในชัน้ เรียน

แนวคิดในกำรจดั กำรเรียนกำรสอนโดยใช้โครงงำนเปน็ ฐำน Project-Based Learning

กำรเรียนรโู้ ดยใช้โครงงำนเปน็ ฐำน (Project-Based Learning ) หมายถึง การเรียนรู้ท่จี ัดประสบการณ์
ในการปฏิบัตงิ านให้แก่ผเู้ รยี นเหมอื นกับการทางานในชวี ติ จรงิ อยา่ งมรี ะบบเพ่ือเปิดโอกาสผ้เู รียนได้มีประสบการณ์
ตรง ไดเ้ รยี นรู้วธิ ีการแก้ปัญหา วิธกี ารหาความรู้ความจรงิ อยา่ งมีเหตผุ ล ไดท้ าการทดลอง ไดพ้ สิ จู น์สิ่งตา่ ง ๆ ดว้ ย
ตนเอง ร้จู กั การวางแผนการทางาน ฝึกการเปน็ ผนู้ า ผ้ตู าม ตลอดจนไดพ้ ฒั นากระบวนการคิดโดยเฉพาะการคดิ
ขนั้ สูง และการประเมนิ ตนเอง โดยมคี รเู ป็นผ้กู ระตุ้นเพื่อนาความสนใจทเี่ กิดจากตวั ผ้เู รียนมาใชใ้ นการทากิจกรรม
คน้ ควา้ หาความร้ดู ว้ ยตัวเอง นาไปสกู่ ารเพมิ่ ความร้ทู ีไ่ ด้จากการลงมือปฏิบตั ิ การฟงั และการสังเกตจากผู้รู้ โดย
ผู้เรียนมกี ารเรยี นรู้ผา่ นกระบวนการทางานเป็นกลมุ่ ทจี่ ะนามาสกู่ ารสรุปความรู้ใหม่มีการเขยี นกระบวนการจดั ทา
โครงงานและได้ผลการจัดกจิ กรรมเปน็ ผลงานแบบรปู ธรรม

นอกจากนกี้ ารจัดการเรียนร้โู ดยใช้โครงงานเปน็ ฐาน ยังเน้นการเรียนรทู้ ใ่ี ห้ผู้เรยี นไดร้ บั ประสบการณ์ชีวิต
ขณะทีเ่ รียน ได้พฒั นาทักษะต่างๆ ซ่งึ สอดคล้องกบั หลกั พฒั นาการตามลาดบั ข้นั ความรู้ความคิดของบลมู ทง้ั 6 ข้ัน
คอื ความรู้ความจา ความเข้าใจ การประยุกตใ์ ช้ การวิเคราะห์ การสังเคราะห์ การประเมนิ คา่ และการคดิ
สร้างสรรค์ การจัดการเรยี นรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน ถอื ได้ว่าเป็น การจัดการเรียนรู้ทเ่ี น้นผเู้ รยี นเปน็ สาคญั
เน่ืองจากผู้เรยี นได้ลงมือปฏบิ ัติเพ่อื ฝึกทกั ษะตา่ งๆด้วยตนเองทุกขั้นตอน โดยมีครูเป็นผูใ้ ห้ การส่งเสริม สนับสนุน

ลักษณะสำคญั ของจดั กำรเรียนรู้โดยใชโ้ ครงงำนเป็นฐำน

1. ยึดหลักการจดั การเรียนรทู้ เ่ี น้นผเู้ รยี นเปน็ สาคัญ ที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ทางานตามระดับทักษะ
ทต่ี นเองมีอยู่

2. เปน็ รปู แบบหน่ึงของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เนน้ บทบาทและการมีสว่ นรว่ มของผู้เรียน
(Active Learning)

3. เป็นเรอื่ งที่ผเู้ รียนสนใจและรสู้ ึกสบายใจทจี่ ะทา
4. ผ้เู รยี นไดร้ ับสทิ ธิในการเลือกว่าจะตัง้ คาถามอะไร และต้องการผลผลิตอะไรจากการทาโครงงาน

5. ครูทาหน้าทีเ่ ป็นผูส้ นับสนุนอุปกรณแ์ ละจดั ประสบการณใ์ หแ้ ก่ผู้เรียน สนบั สนุนการแก้ไขปัญหา
และสรา้ งแรงจูงใจให้แก่ผู้เรียน

6. ผู้เรยี นกาหนดการเรียนร้ขู องตนเอง
7. เชอ่ื มโยงกบั ชีวิตจริง สง่ิ แวดล้อมจรงิ
8. มฐี านจากการวจิ ัย ศึกษา คน้ คว้า หรอื องค์ความรทู้ ่ีเคยมี
9. ใชแ้ หลง่ ข้อมูล หลายแหลง่
10. ฝงั ตรงึ ดว้ ยความรูแ้ ละทักษะต่างๆ
11. สามารถใชเ้ วลามากพอเพียงในการสรา้ งผลงาน
12. มีผลผลติ ทีมีคณุ ภาพในการสรรสร้าง

ลักษณะของโครงงำนท่ดี ี

โครงงานท่ีดจี าเป็นต้องมีองค์ประกอบที่สาคัญประการแรก คือเป็นโครงงานท่ีผเู้ รยี นไดเ้ รียนรูอ้ ยา่ งมี
ความหมายและโดยเฉพาะอย่างยง่ิ เปน็ สงิ่ ที่ผ้เู รยี นอยากทาประการต่อมาคือเป็นโครงงานท่มี ีความหมายสอดคลอ้ ง
หรือเป็นไปตามเปา้ หมายของการศึกษาหรอื ของหลกั สตู ร และมีการออกแบบอย่บู นพื้นฐานของการเรยี นรู้แบบ
โครงงานอย่างแทจ้ รงิ ดังน้นั ลักษณะของโครงงานที่ดคี วรจะประกอบดว้ ยลกั ษณะดังนี้

1. ความอยากรู้ (need to know) โครงงานควรเกดิ ขน้ึ จากความต้องการของผูเ้ รยี นอยา่ งแท้จริงโดย
ผ้สู อนมหี น้าที่ เสนอแนะเหตุการณ์ เรือ่ งราวหรอื ประเด็นต่างๆที่เกีย่ วข้องหรือเปน็ ปญั หาของโลก สงั คมหรอื ชุมชน
โดยอาจนาสิง่ เหล่านั้นเข้ามาในชัน้ เรยี นหรือพาผูเ้ รยี นออกไปศึกษานอกสถานที่ และนาไปส่กู ารอภิปรายเกีย่ วกับ
ประเด็นท่ผี ู้เรยี นสนใจ

2. การต้ังคาถาม (questioning) หลังการอภปิ รายผ้เู รียนจะรว่ มกนั ตั้งคาถามหลกั เพื่อนาไปสกู่ ารหา
คาตอบ คาถามควรมีลกั ษณะเพ่อื หาความชดั เจนในเรื่องทจี่ ะทา

3. การกาหนดหวั ข้อโครงงาน (topic formulation) โดยการเลือกของผู้เรียนจากประเด็นคาถามหลัก
ผ้เู รยี นจะรว่ มกันกาหนดเรื่องหรือหวั ขอ้ ที่จะดาเนินการศึกษา ค้นควา้ หรอื ทดลองเพื่อหาคาตอบในสง่ิ ทตี่ นเองสงสยั

4. การใชท้ ักษะการเรยี นรใู้ นศตวรรษท่ี 21 (21st century skills) การทาโครงงานที่มีประสทิ ธภิ าพ
ผเู้ รียนจาเป็นที่จะต้องมีทักษะการเรยี นรู้ในศตวรรษที่ 21 เช่นทักษะการร่วมมือกนั ในการทางานเปน็ ทีม ทกั ษะ
การส่ือสาร ทักษะการตงั้ คาถาม ทกั ษะการคิดอย่างมีวจิ ารณญาณ และการใช้เทคโนโลยี เปน็ ต้น ผสู้ อนท่สี อนแบบ

โครงงานควรส่งเสรมิ การพัฒนาทักษะดงั กล่าวตลอดจนควรไดม้ ีการประเมินการใช้ทักษะโดยเปิดโอกาสให้ผ้เู รียน
ได้ประเมินการใช้ทกั ษะด้วยตนเอง

5. การต้งั คาถามเพอื่ สบื เสาะความรูแ้ ละสร้างนวตั กรรม (inquiry and innovation) โครงงานของผู้เรยี น
จะมคี วามหมายมากย่ิงขึน้ หากได้มีการสบื เสาะหาความรู้ไม่เฉพาะข้อมลู สารสนเทศจากเว็บไซดห์ รือจากตารา การ
สืบเสาะความรทู้ ่ีแท้จริงคือการต้ังคาถามตนเองและเสาะแสวงหาคาตอบไปเรื่อยๆ บางคร้ังนาไปสูค่ าถามใหมๆ่
การทดสอบแนวคดิ และการสรปุ ผล และนาไปส่กู ารสรา้ งนวตั กรรมเพ่ือแก้ปัญหา

6. การสะท้อนผลและปรบั ปรุง (reflection and revision) ในระหว่างดาเนินโครงงานการสะท้อนผลและ
การปรับปรงุ การดาเนนิ งานอยู่เสมอจะทาให้ โครงงานมปี ระสทิ ธภิ าพมากยงิ่ ขึ้นซึง่ ผเู้ รียนควรจะไดเ้ รยี นรู้วา่
ขน้ั ตอนน้เี ปน็ สิง่ สาคญั ที่จะช่วยใหผ้ ู้เรียนนาไปใช้ในการปฏบิ ตั งิ านจรงิ ในอนาคต นอกจากนผี้ ูส้ อนควรมสี ่วนในการ
สะทอ้ นผลการทาโครงงานของผเู้ รยี นโดยการกาหนดเกณฑ์การประเมนิ ไวล้ ่วงหนา้ และผู้สอนอาจเปดิ โอกาสให้ครู
ทา่ นอน่ื หรือผเู้ ช่ยี วชาญเฉพาะมาช่วยสะท้อนผลการดาเนนิ โครงงานดว้ ยกจ็ ะทาใหเ้ กิดการทางานทีม่ ีคณุ ภาพ

7.การนาเสนอผลงานต่อสาธารณะการนาเสนอผลงานของโครงการไมค่ วรเป็นเพียงการนาเสนอให้ครูได้
ประเมินผลการเรยี นเท่าน้ันหากแตค่ วรเป็นการนาเสนอผลงานต่อสาธารณชนเพราะเมอ่ื ผเู้ รียนไดน้ าเสนอต่อ
สาธารณชนหรอื การส่งผลงานเข้าประกวด จะต้องคานึงถงึ คุณภาพของงาน อยา่ งไรกต็ ามการเปดิ โอกาสใหผ้ ู้เรยี น
ได้นาเสนอผลงานยิ่งมากครงั้ ย่งิ เปน็ การเพม่ิ พูนประสบการณ์ใหน้ กั เรียนได้มโี อกาสพัฒนาทักษะของตนอยา่ ง
ต่อเนอ่ื ง

ดงั นน้ั จงึ กล่าวโดยสรุปว่า การเรียนร้โู ดยใช้โครงงานเป็นฐานเป็นการเปิดโอกาสให้ผูเ้ รยี นเรียนรเู้ ร่ืองใด
เรื่องหนึ่งตามความสนใจของผู้เรยี นอยา่ งลุม่ ลึกโดยผ่านกระบวนการหลักคือ กระบวนการแกป้ ญั หาผู้เรยี นจะเป็นผู้
ลงมอื ปฏบิ ตั ิเพ่ือค้นหาคาตอบดว้ ยตนเองจงึ เป็นการเรยี นรจู้ ากประสบการณ์ตรง หรือแหลง่ ความรู้ต่างๆ และ
ผ้เู รยี นสามารถนาไปประยกุ ต์ใช้ในชีวิตประจาวนั ได้

จดุ ประสงค์ของกำรจัดกำรเรียนรู้

1. นักเรียนสามารถนาเสนอรปู แบบโครงงานในรายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ คอมพวิ เตอร์ และ
ภาษาอังกฤษ เชิงวิชาการเปน็ ภาษาองั กฤษได้

2.นักเรยี นสามารถจดั ทาโครงงานได้ถูกต้องตามรูปแบบเชิงวิชาการได้
3. นักเรียนสามารถเกิดกระบวนการการเรียนรู้เชงิ สรา้ งสรรค์ในการเรยี นการสอนจากในห้องเรียนสู่การ
ปฎิบตั จิ รงิ ได้

เป้ำหมำยเชิงปริมำณ

นกั เรียนในโครงการห้องเรียนพเิ ศษ English Program ระดับชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1-6 จานวน 218 คน
คิดเปน็ รอ้ ยละ 100

แผนภูมิแสดงจำนวนนั กเรียนท่ีได้จัดกำรเรียนกำรสอนโดยใช้
โครงงำนเป็ นฐำน

PROJECT-BASED LEARNING
โครงกำรห้องเรียนพิเศษ ENGLISH PROGRAM

Male Female

MATHAYOM 1 MATHAYOM 2 MATHAYOM 3 MATHAYOM 4 MATHAYOM 5 MATHAYOM 6

เปำ้ หมำยเชิงคุณภำพ

1. นักเรียนสามารถนาเสนอรูปแบบโครงงานในรายวชิ าวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ คอมพวิ เตอร์ และ
ภาษาอังกฤษ เชงิ วิชาการเปน็ ภาษาองั กฤษได้

2.นกั เรยี นสามารถจัดทาโครงงานไดถ้ ูกต้องตามรปู แบบเชิงวิชาการได้
3. นกั เรยี นสามารถเกิดกระบวนการการเรียนรู้เชิงสรา้ งสรรค์ในการเรียนการสอนได้
23
13

27
24
16
14
18
19
17
14
13
20

สอดคล้องควำมต้องกำร

จัดกิจกรรมการเรียนการสอนท่ีเน้นเนอ้ื หาไปใช้ มขี นั้ ตอนดงั นี้

1. การเลือกแก่นสาระ (Selecting the Theme) ครผู ูส้ อนจะตอ้ งเลอื กหวั เรื่อง (Topic)
ท่ีสอดคล้องกับสถานการณจ์ ริงและเลอื กหัวเรื่องย่อย (Sub-Topic) ท่สี มั พนั ธ์กนั นอกจากน้คี รูผู้สอนจะตอ้ ง
คานึงถึงความต้องการและความสนใจของผูเ้ รยี น ครูผสู้ อนสามารถเลอื กเรอื่ งท่ีจะสอนจากรายวชิ าตา่ ง ๆ ใน
หลักสูตร

2. การเลอื กสื่อการสอนหรอื บทเรยี น (Selecting the Material or the Text) เปน็ ข้ันตอนทสี่ าคัญ
ที่สดุ เพราะครผู ้สู อนจะต้องหาบทเรียนในกรอบเนื้อหาที่คาดวา่ ผู้เรียนสนใจ ท้งั จะต้องฝกึ ให้ผู้เรียนพัฒนาทักษะ
การคิดในระดับสูง เช่น สามารถตคี วาม หรือสงั เคราะห์ข้อมลู หรือแยกประเดน็ ทเ่ี ปน็ ความเหน็ จากข้อเท็จจรงิ
สามารถเหน็ ภาพตามคาบรรยาย สามารถระบุความเปน็ เหตุเป็นผลโดยใช้โครงสรา้ งของภาษา ในการเลือก
บทเรยี นที่จะใช้สอน อาจใช้แนวทางดังน้ี

2.1 เน้อื หาของบทเรียนเปน็ เรือ่ งจริง (Content Authenticity) ทันสมัย มขี อ้ มลู
มากพอทีจ่ ะใหผ้ ู้เรยี นฝกึ ทกั ษะการอ่าน เขยี น ฟงั และพดู ได้

2.2 ภาระงานท่สี อดคลอ้ งกับสถานการณจ์ รงิ (Task Authenticity) เหมาะสมกับเน้ือหาวิชา
กจิ กรรม เปดิ โอกาสให้ผู้เรยี นพัฒนาความคดิ เชงิ วพิ ากษว์ ิจารณ์

2.3 ระดบั ความสนใจ (Interest Level) เนื้อหาในการเรยี นสอดคลอ้ งกับความสนใจของผู้เรียน

2.4 ระดับความยากงา่ ย (Difficulty Level) บทเรยี นยากง่ายเหมาะกับระดับของผเู้ รียน
บทเรียนใหข้ ้อมูลเพยี งพอและความยาวพอเหมาะ

2.5 เน้อื หาเขา้ ใจได้ง่าย (Accessibility) ผเู้ รยี นจาเป็นต้องมคี วามรู้พนื้ ฐานกอ่ นอ่านบทเรียน
และสามารถเขา้ ใจประเดน็ ทางวัฒนธรรม การเรยี บเรยี งเนอ้ื หาตลอดจนสานวนภาษาเหมาะสม

2.6 บทเรยี นหาไดง้ ่าย (Availability) ครูผ้สู อนสามารถหาบทเรยี นไดใ้ นท้องถ่นิ ของตน

2.7 รูปแบบของบทเรยี น (Packaging) นา่ สนใจ การจัดหน้า ตัวพมิ พ์ ภาพ สีสัน ช่วยใหผ้ เู้ รยี น
เข้าใจข้อความไดง้ ่ายขึน้

2.8 บทเรียนยดื หยนุ่ ได้ (Flexibility) บทเรยี นเหมาะท่จี ะใชส้ อนแบบทกั ษะสมั พันธ์ เปดิ โอกาส
ใหผ้ เู้ รยี นไดท้ ากจิ กรรมทหี่ ลากหลาย และเอื้อต่อผู้เรยี นที่มวี ธิ ีการเรยี นรูต้ ่างกนั

2.9 แหลง่ เนอื้ หา (Source) บทเรียนมาจากแหล่งเน้อื หาท่มี ีรูปแบบทหี่ ลากหลาย

2.10 สว่ นเสริมบทเรียน (Textual Aids) เช่น คาอธบิ ายศัพท์ คาถามใหค้ น้ คว้าเพิ่มเตมิ ดัชนคี า
ช่วยใหผ้ ูเ้ รียนเข้าใจและจาเนื้อหาทเ่ี รียนได้

2.11 ส่ือการสอนเสรมิ (Supporting Materials) อาจมคี ู่มือครู เฉลยคาตอบ หรอื แบบฝึกหัด
เสรมิ

กำรดำเนินงำนตำมกิจกรรม (ตำมวง PDCA)

1.ขน้ั เตรยี มกำร (Plan)
1.1 ประชมุ ปรกึ ษาหารอื ชีแ้ จงในโครงการห้องเรียนพเิ ศษ English Program เพอื่ การ

พฒั นาการเรยี นการสอนโดยใชโ้ ครงงานเป็นฐาน Project Based Learning
1.2 แจ้งจุดมุ่งหมายในการพัฒนานักเรยี นโดยการใช้เรยี นการสอนโดยใชโ้ ครงงานเป็น

ฐาน Project Based Learning
2.ขั้นดำเนินกำร (Do)
2.1 นกั เรียนคน้ คว้าข้อมูล หัวขอ้ ที่ตัวเองสนใจ แล้วนาเสนอให้ครูทราบ
2.2 นกั เรียนได้ศึกษาตวั อย่างการจัดทาโครงงานตามรายวิชาของตนเองที่ได้รบั มอบหมาย
2.3 นกั เรยี นเข้าร่วมประกวดโครงงานโดยแบ่งเป็นระดับม.ต้น และม.ปลาย ประจาปกี ารศึกษา
3. ขน้ั ตรวจสอบและประเมินผลกำรพัฒนำ (Check)
3.1 ตงั้ คณะกรรมการเพอ่ื ตรวจสอบผลการปฏบิ ตั งิ านของนักเรยี น
3.2 ประเมนิ ผลการพฒั นาจากผลการแข่งขนั ของนักเรียน
4. ขนั้ สรปุ และรำยงำน (Action)
4.1 สรปุ อภิปรายปญั หาและอุปสรรคในการพัฒนา
4.2 ปรับปรุงและพัฒนาอยา่ งตอ่ เน่ือง

Flow Chart ระบบกำรเรียนรู้

โครงงานท่ีเกี่ยวข้องกับการจัดการเรยี นร้ขู องผเู้ รียน อาจจาแนกไดเ้ ปน็ 2 ประเภทหลกั ๆ คอื
โครงงานทแ่ี บ่งตามระดบั การใหค้ าปรกึ ษาของครู และโครงงานทแี่ บ่งตามลักษณะกจิ กรรม ดังน้ี

1. โครงงำนทแ่ี บง่ ตำมระดบั กำรให้คำปรกึ ษำของครหู รือ ระดับกำรมีบทบำทของผูเ้ รยี น
1) โครงงำนประเภทครนู ำทำง (Guided Project)

ครูกาหนดปัญหาให้

ครอู อกแบบการรวบรวมข้อมูล
กาหนดวิธที ากจิ กรรม

ผู้เรียนปฏบิ ตั ิกิจกรรม
ตามวธิ ที ีก่ าหนด

ทกั ษะการสังเกต ทกั ษะการวัด ทกั ษะการบันทึกผล

ทักษะการ
ตีความหมายข้อมูล

ทกั ษะการสรุปผล

2) โครงงำนประเภทครูลดกำรนำทำง - เพมิ่ บทบำทผเู้ รียน (Less – guided Project)

ครูและผเู้ รียนร่วมกนั ระบุปัญหา

ครูและผเู้ รียนร่วมกนั ออกแบบ
การรวบรวมข้อมลู เพ่ือหาคาตอบ

ผู้เรียนใช้เคร่อื งมือใน
การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู

ทกั ษะการสงั เกต ทักษะการวัด ทกั ษะการบันทกึ ผล

ทักษะการ
ตคี วามหมายข้อมลู

ทักษะการสรุปผล

3) โครงงำนประเภทผู้เรียนนำเอง ครูไมต่ อ้ งนำทำง (Unguided Project)

นกั เรียนระบปุ ญั หา

นกั เรียนออกแบบการรวบรวม
ขอ้ มูลเพอ่ื หาคาตอบดว้ ยตนเอง

นกั เรียนใชเ้ ครื่องมอื
ในการเกบ็ รวบรวมข้อมลู

ทักษะการสังเกต ทักษะการวดั ทกั ษะการบันทกึ ผล

ทกั ษะการ
ตีความหมายขอ้ มลู

ทักษะการสรปุ ผล

ปัจจยั ควำมสำเรจ็

ปจั จยั หลัก

1. นักเรียนได้รบั การพัฒนาการใชภ้ าษาอังกฤษ มกี ารบูรณาการความรทู้ างภาษาอังกฤษกบั คณติ ศาสตร์ และ
ภาษาอังกฤษกบั วิทยาศาสตร์ นาไปสู่การสรุปเป็นองค์ความร้ใู หม่ได้ในรปู แบบการทาโครงงาน
2. นักเรยี นสามารถทางานร่วมกบั บุคคลอน่ื ได้เปน็ อย่างดี ตลอดจนสามารถพัฒนาทักษะการคิดวเิ คราะหข์ อง
นักเรียนได้

ปจั จัยสนับสนุน

1. ผบู้ ริหารมีนโยบายที่ชดั เจนในการปฏริ ูปการเรียนรู้ และสามารถพัฒนาผเู้ รียนนาไปสูค่ วามสาเร็จได้
2. ผบู้ ริหารให้การสนับสนุนในการดาเนนิ การจัดการเรยี นการสอน และนเิ ทศการสอนอยา่ งเปน็ ระบบ
3. ผปู้ กครองให้การสนบั สนุนในการแสวงหาความรู้ของนักเรียน สง่ เสริมการเรยี นรูโ้ ดยใช้โครงงานเปน็ ฐาน
Project Based Learning การเตรยี มตวั และการแขง่ ขนั เพ่ือพัฒนาสคู่ วามเปน็ เลิศ
4. ครูผู้สอนในโครงการห้องเรียนพเิ ศษ English Program มีความรู้ความสามารถ และมีความมุ่งมนั่ ในการพฒั นา
นักเรียนสคู่ วามเปน็ เลศิ ด้านการเรียนการสอนในโครงการห้องเรียนพิเศษ English Program
5. โรงเรยี นมีงบประมาณในการสนบั สนุน การพฒั นาการจัดการเรียนการสอนในโครงการหอ้ งเรียนพเิ ศษ English
Program รายวิชาคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และภาษาอังกฤษอยา่ งเพยี งพอ

บทเรียนทไี่ ดร้ ับ

ข้อสรุปจำกกำรจดั กำรเรยี น

นักเรียนโครงการห้องเรยี นพเิ ศษ English Program จานวน 218 คน คิดเปน็ ร้อยละ 100 ได้จดั การ
เรียนการสอนโดยใชโ้ ครงงานเปน็ ฐาน Project Based Learning โดยมนี ักเรียนได้พฒั นาทักษะการคดิ เชิง
สร้างสรรคใ์ นการนาเสนอผลงานบรู ณาการในรายวิชาในช้นั เรียน และได้รบั การประเมนิ เปน็ ส่วนหนึง่ ในรายวิชา
นน้ั ๆ โดยนกั เรยี นท่มี ีผลงานเชงิ สร้างสรรค์ในการนาเสนอโครงงาน จะได้รบั การคดั เลือกและตอ่ ยอดเพือ่ เข้าแข่งขัน
ในระดบั โรงเรียน กลุ่มโรงเรียน EP/MEP เขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษา และระดบั ชาตติ ่อไป

แนวทำงกำรพัฒนำตอ่ ให้ดีย่ิงขนึ้

การเรยี นการสอนโดยใชโ้ ครงงานเปน็ ฐาน Project Based Learning ในเชิงพฒั นาความคิดเชิงสรา้ งสรรค์
ของนักเรยี นโครงการห้องเรยี นพเิ ศษ และห้องเรยี นปกติ สามารถทาได้ ดงั น้ี

1. ใชค้ ำถำมกระตุ้นกำรเรยี นรู้ คาถามท่ใี ช้ในการกระตุน้ การเรยี นรนู้ นั้ ต้องเปน็ คาถามที่มี
ลักษณะเป็นคาถามปลายเปิด เพื่อให้ผู้เรียนได้อธิบาย โดยข้ึนต้นว่า “ทาไม” หรือ ลงท้ายว่า “อย่างไรบ้าง”
“อะไรบ้าง” “เพราะอะไร”

2. ทำหนำ้ ที่เป็นผูส้ งั เกต ครจู ะต้องคอยสงั เกตวา่ ผ้เู รียนแต่ละคนมพี ฤตกิ รรมอยา่ งไร ขณะ
ปฏบิ ัตกิ จิ กรรมเพ่ือหำทำงชี้แนะ กระตุ้น หรอื ยบั ย้งั พฤติกรรมที่ไม่เหมำะสม

3. สอนใหผ้ เู้ รียนเรียนรู้กำรต้งั คำถำม เม่ือผเู้ รยี นสามารถตัง้ คาถามได้ จะทาใหผ้ ู้เรียน
รู้จักถามเพ่ือค้นคว้าข้อมูล รู้จักรับฟังความคิดเห็นของผู้อ่ืน และร่วมแสดงความคิดเห็นของตนเองในเรื่องที่
เก่ียวขอ้ งกับการเรียนรู้

4. ใหค้ ำแนะนำเม่อื ผูเ้ รียนเกดิ ข้อสงสัย ครจู ะต้องเป็นผ้คู อยแนะนา ช้แี จง ให้ขอ้ มูลต่างๆ หรือ
ยกตัวอย่างเหตุการณ์ใกล้ตัวต่างๆ ท่ีเกิดขึ้นในชีวิตประจาวันของผู้เรียนเช่ือมโยงไปสู่ความรู้ด้านอื่นๆในขณะทา
กจิ กรรมเม่ือผู้เรียนเกิดข้อสงสัย หรอื คาถาม โดยไมบ่ อกคาตอบ

5. เปดิ โอกำสใหผ้ ้เู รียนคิดหำคำตอบด้วยตนเอง สงั เกตและคอยกระตุ้นด้วยคาถามให้ผูเ้ รยี นได้
คดิ กิจกรรมที่อยากเรยี นรูแ้ ละหาคาตอบในส่ิงทีส่ งสยั ดว้ ยตนเอง

6. เปดิ โอกำสใหผ้ ้เู รยี นสรำ้ งสรรคผ์ ลงำนอย่ำงอิสระ ตามความคดิ และความสามารถของ
ตนเอง เพื่อใหผ้ ้ไู ด้ใชจ้ นิ ตนาการและความสามารถของตนเองในการคิดสรา้ งสรรค์อยา่ งเต็มท่ี

กำรเผยแพร่ / กำรไดร้ บั กำรยอมรับ / รำงวัลที่ได้รบั

1. การแข่งขนั ทักษะวชิ าการภาษาอังกฤษ กลุ่มโรงเรียน EP/MEP ภาคกลางและภาคตะวันออก โซน A ประจาปี
การศึกษา 2558

รำงวลั ท่ไี ด้รับ รางวลั เหรยี ญทองการแข่งขนั Mathematics and Science Project Work ม.ตน้
รางวลั เหรียญทองการแขง่ Mathematics and Science Project Work ม.ปลาย

2. การแข่งขันทกั ษะวิชาการภาษาอังกฤษ กล่มุ โรงเรยี น EP/MEP ภาคกลางและภาคตะวันออก โซน A ประจาปี
การศึกษา 2559

รำงวลั ท่ีไดร้ บั รางวลั เหรียญทองการแข่งขนั Mathematics and Science Project Work ม.ตน้
รางวลั เหรียญทองการแขง่ Mathematics and Science Project Work ม.ปลาย

3. การแข่งขนั ทักษะวชิ าการภาษาองั กฤษ กลมุ่ โรงเรียน EP/MEP ภาคกลางและภาคตะวนั ออก โซน A ประจาปี
การศกึ ษา 2560

รำงวัลทีไ่ ด้รบั รางวัลเหรียญทองการแข่งขัน Mathematics and Science Project Work ม.ต้น
รางวัลเหรียญทองการแข่ง Mathematics and Science Project Work ม.ปลาย

4. การแขง่ ขันทักษะวชิ าการภาษาอังกฤษ กลุ่มโรงเรียน EP/MEP ภาคกลางและภาคตะวนั ออก โซน A ประจาปี
การศกึ ษา 2561

รำงวัลที่ไดร้ ับ รางวัลเหรียญทองการแข่งขัน Mathematics and Science Project Work ม.ต้น
รางวัลเหรียญทองการแข่ง Mathematics and Science Project Work ม.ปลาย

5. การประกวดโครงงานวทิ ยาศาสตร์ และสง่ิ ประดษิ ฐ์ มหาวทิ ยาลัยราชภฎั นครปฐม
รำงวัลทไ่ี ด้รับ รางวัลรองชนะเลศิ อนั ดับ 1 การประกวดโครงงานวทิ ยาศาสตรร์ ะดบั มัธยมศึกษาตอน

ปลาย
รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 การประกวดโครงงานสิ่งประดิษฐ์ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย

6. การแขง่ ขันทกั ษะวชิ าการภาษาองั กฤษ กลุ่มโรงเรียน EP/MEP ภาคกลางและภาคตะวันออก โซน A ประจาปี
การศกึ ษา 2562

รำงวลั ที่ไดร้ ับ รางวัลเหรียญทองการแข่งขนั Mathematics and Science Project Work ม.ต้น
รางวัลเหรียญทองการแขง่ Mathematics and Science Project Work ม.ปลาย

กำรไดร้ ับกำรยกยอ่ ง / รำงวัลท่ีได้รบั

1. เจ้าภาพการแข่งขนั Mathematics and Science Project Work การแข่งขันทักษะวิชาการภาษาองั กฤษ กลุ่ม
โรงเรียน EP/MEP ภาคกลางและภาคตะวันออก โซน A ประจาปีการศึกษา 2558
2. เจา้ ภาพการแข่งขัน Mathematics and Science Project Work การแข่งขนั ทักษะวชิ าการภาษาอังกฤษ กลุ่ม
โรงเรียน EP/MEP ภาคกลางและภาคตะวนั ออก โซน A ประจาปกี ารศกึ ษา 2559
3. เจา้ ภาพการแข่งขัน Mathematics and Science Project Work การแข่งขนั ทักษะวชิ าการภาษาอังกฤษ กลุ่ม
โรงเรยี น EP/MEP ภาคกลางและภาคตะวันออก โซน A ประจาปกี ารศกึ ษา 2560
4. เจ้าภาพการแข่งขนั Mathematics and Science Project Work การแขง่ ขันทักษะวชิ าการภาษาอังกฤษ กลุ่ม
โรงเรียน EP/MEP ภาคกลางและภาคตะวันออก โซน A ประจาปกี ารศึกษา 2562
5. เจ้าภาพการแข่งขัน Mathematics and Science Project Work การแขง่ ขันทักษะวิชาการภาษาอังกฤษ กลุ่ม
โรงเรยี น EP/MEP ภาคกลางและภาคตะวันออก ระดับภาค ประจาปกี ารศกึ ษา 2562

รอ่ งรอยหลกั ฐำนเชงิ ประจกั ษ์



กำรแข่งขนั Mathematics and Science Project Work 2016 ณ The Hub รงั สติ
กลุ่มโรงเรยี น EP/MEP ภำคกลำงและภำคตะวันออก

















แบบประเมนตนเองดำ้ นกำรใช้นวตั กรรม/วธิ ีปฏบิ ัติท่เี ปน็ เลิศ Best Practice

โครงกำรห้องเรียนพิเศษ English Program

โรงเรยี นมธั ยมวัดสงิ ห์ สำนกั งำนเขตพ้นื ทกี่ ำรศึกษำมธั ยมศึกษำเขต 1

แนวทำงกำรปฏิบัติ ปรับปรงุ พอใช้ ปำนกลำง ดี ดมี ำก

1. ความเปน็ มา / ความสาคัญของผลงาน /

นวัตกรรม √

2. จุดประสงค์ / เป้าหมายของการดาเนนิ งาน √

3. กระบวนการผลติ ผลงาน / ขน้ั ตอนการ √

ดาเนินงาน √

4. ผลการดาเนินงาน / ผลสมั ฤทธิ์ / ประโยชน์

ที่ได้รบั

5. ปจั จยั ความสาเรจ็

6. บทเรยี นท่ีได้รับ

7. การเผยแพร่ / การไดร้ ับการยอมรบั /

รางวัลทไี่ ด้รับ


Click to View FlipBook Version