The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือนักเรียน 2566

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by 0909, 2023-05-25 09:45:01

คู่มือนักเรียน 2566

คู่มือนักเรียน 2566

cover.indd 1 27/4/2566 BE 14:47


02-03.indd 2 27/4/2566 BE 14:47


พระราโชบาย สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร 1. สืบสานพระราชปณิธานหรือพระราชกระแสรับสั่งรัชกาลที่ 9 เรื่อง การสร้างคนดี 2. การศึกษาต้องมุ่งสร้างพื้นฐานให้แก่เด็ก ทัศนคติที่ถูกต้อง (อุปนิสัย) ที่มั่นคงเข้มแข็ง มีอาชีพ-มีงานท�ำ ฯลฯ 3. เน้นการสร้างทัศนคติ (Attitude) 4. การศึกษาในภาพรวมท�ำอย่างไรให้เยาวชนมีความสนใจและเข้าใจเรื่องของสถาบันและประวัติศาสตร์ 02-03.indd 3 27/4/2566 BE 14:48


คีตาภิวาทราชสดุดี “พ่อ...ครูของแผ่นดิน” ปาเจรา จริยา โหนติ คุนุตรา นุสาสการ เอกองค์ราชาคุรุราชัน พ่อหลวงไทยนั้นทรงเปรื่องปราดศาสตร์ทุกแขนง เศรษฐกิจพอเพียงปรัชญายกมาแสดง ทรงแนะน�ำชี้แจงแก้ปัญหาประชาสุขใจ ทรงเป็นครูต้นแบบของความเป็นครู สอนการเรียนรู้คู่คุณธรรมน�ำสมัย ลงมือท�ำ ค้นคว้า คิด วิจัย รักความเป็นไทยก้าวไกลเทคโนโลยี ธ ทรงเป็นครูของครูทุกคน องค์ภูมิพลทรงเป็นศักดิ์ศรี ขอเดชะใต้ฝ่าละอองธุลี พระบารมีศูนย์รวมใจครูไทยทั้งแผ่นดิน ณ ยามนี้แม้เหน็ดเหนื่อยพระวรกาย ทรงงานมากมายทั่วโลกยลยิน แซ่ซ้องสรรเสริญทรงพระเจริญทั่วถิ่น ครูของแผ่นดินพ่อหลวงดวงใจประชา 04-05.indd 4 27/4/2566 BE 14:48


“คุรุมหาราชินี” อัคราภิรักษ์ศิลปิน เอกองค์นารินทร์ปิ่นธรณินสยาม สิริกิติ์เกริกพระยศสมัญญานาม มิ่งมาตุคามดั่งครูของชาวไทย ย่างพระบาทหยาดน�้ำพระทัยทั่วถิ่น สอนงานศิลป์ฟื้นฟูสู่สมัย ช่างสิบหมู่งานฝีมือเลื่องลือไกล งามเพริศพิไลโขนนาฏะอลังการ องค์พระมหาราชินี ทรงน�ำชีวีราษฎร์สุขทุกสถาน ศิลปาชีพก�ำเนิดก่อเกิดงาน เชิดชูสานวัฒนธรรมด�ำรงไทย ปรัชญาป่ารักน�้ำธารชีวิน โอบอุ้มแผ่นดินอุดมสมบูรณ์สดใส ทรงเป็นครูเหนือเกล้าประชาชาติไทย เทิดพระแม่ไท้ คุรุมหาราชินี 04-05.indd 5 27/4/2566 BE 14:48


ค�ำน�ำ หนังสือคู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ปีการศึกษา 2566 จัดท�ำขึ้นเพื่อให้นักเรียนและ ผู้ปกครองระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ทุกคนได้ศึกษาข้อมูล กฎระเบียบ ต่างๆ ของโรงเรียนที่นักเรียนต้องปฏิบัติ เช่น ระเบียบเกี่ยวกับการแต่งกาย ทรงผม การขออนุญาต ออกนอกบริเวณโรงเรียน การมาสาย ระเบียบการวัดและประเมินผล รวมทั้งโครงสร้าง ของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น และระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย อีกทั้งเป็นแนวทางปฏิบัติร่วมกันระหว่างโรงเรียน ครู ผู้ปกครองและนักเรียน เกี่ยวกับ ระเบียบข้อบังคับทั้งในด้านงานปกครองและงานวิชาการ พร้อมรายละเอียดด้านการปฏิบัติตน ตามระเบียบของโรงเรียน อันน�ำไปสู่ความเข้าใจ และการปฏิบัติที่ถูกต้องระหว่างที่ศึกษาอยู่ใน โรงเรียนมัธยมวัดสิงห์ ทางโรงเรียนหวังว่าหนังสือคู่มือนักเรียนและผู้ปกครองเล่มนี้ จะเป็นคู่มือที่ผู้ปกครอง ใช้ให้เป็นประโยชน์ ท�ำให้เกิดความเข้าใจที่ตรงกันในการร่วมมือกันดูแลนักเรียนของโรงเรียน มัธยมวัดสิงห์ทุกคน ทางโรงเรียนใคร่ขอให้ผู้ปกครองและนักเรียนตระหนักอยู่เสมอว่า การเรียนรู้จะประสบผลส�ำเร็จได้ ขึ้นอยู่กับความร่วมมือของผู้ปกครอง ครู และนักเรียนเป็นส�ำคัญ โรงเรียนมัธยมวัดสิงห์ 06-07.indd 6 2/5/2566 BE 11:23


สารบัญ ค� ำน�ำ 6 ฝ่ายบริหารและบุคลากร 8 แผนภูมิโครงสร้างการบริหารงานโรงเรียน 28 ผังบริเวณโรงเรียนมัธยมวัดสิงห์ 29 ปูชนียบุคลานุสรณ์ 30 วิสัยทัศน์ 31 ประวัติโรงเรียนมัธยมวัดสิงห์ 33 กลุ่มบริหารงบประมาณ 36 กลุ่มบริหารวิชาการ 42 โครงสร้างหลักสูตรโรงเรียนมัธยมวัดสิงห์ ปีการศึกษา 2565 43 หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา 2551 55 สรุปขั้นตอนการวัดและประเมินผล 67 เกณฑ์การตัดสินผลการเรียนรายวิชาต่างๆ 68 โครงสร้างการเรียน 69 แนวปฏิบัติของนักเรียนทางด้านวิชาการ 70 ห้องสมุด 72 บริการแนะแนว 73 โครงการส่งเสริมความเป็นเลิศทางวิชาการ GEP 75 โครงการหลักสูตรภาษาอังกฤษ English Program 77 กลุ่มบริหารงานบุคคล 81 ระเบียบโรงเรียนมัธยมวัดสิงห์ 82 แนวปฏิบัติตนของนักเรียน 83 ระเบียบการแต่งกาย 91 คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 101 เด็ก ดี ศรี ม.ว.ส. 110 กลุ่มบริหารทั่วไป 112 คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน 119 สมาคมผู้ปกครองและครูโรงเรียนมัธยมวัดสิงห์ 125 สมาคมศิษย์เก่ามัธยมวัดสิงห์ 127 มูลนิธิมัธยมวัดสิงห์ 129 06-07.indd 7 2/5/2566 BE 11:23


นายรชฎ ลัฐิกา รองผู้อ�ำนวยกำรโรงเรียน กลุ่มบริหำรวิชำกำร นางสาวเพชรรัตน์ ทองน�ำ รองผู้อ�ำนวยกำรโรงเรียน กลุ่มบริหำรงบประมำณ ฝ่ายบริหาร นายเทพพร อาจเวทย์ ผู้อ�ำนวยกำรโรงเรียน นางลัดดาวัลย์ เสียงสังข์ รองผู้อ�ำนวยกำรโรงเรียน กลุ่มบริหารงานบุคคล นางสุชัญญา แสนสุมา รองผู้อ�ำนวยกำรโรงเรียน กลุ่มบริหำรทั่วไป 08-27.indd 8 2/5/2566 BE 16:20


นางสมจิตต์ ลิ้มโพธิ์แดน ผู้ช่วยรองผู้อ�ำนวยการ กลุ่มบริหารงานบุคคล กลุ่มบริหารทั่วไป กลุ่มบริหารวิชาการ กลุ่มบริหารงบประมาณ นายไพฑูรย์ สดมุ้ย นางวัชราภา ทองมี นางสาวจงกล ตั้งตุลานนท์ นางภัควรินทร์ ธนะเนตรพิรุฬห์ นางพุทธิชาต คนอยู่ นางนิ่มนวล อยู่เจริญ นางวรัลชญาน์ โชติวรทวีพนธ์ นายมงคล วงศ์พยัคฆ์ นางสาวคนิึงนิตย์ สุนทวนิค นางสาวปราณีวัลย์ สายบุดดี นางสาววงเดือน อุปชัย 08-27.indd 9 2/5/2566 BE 16:20


หัวหน้าระดับ ฝ่ายสนับสนุนการสอน นางสาวมิญชญา พิมพะชัย หัวหน้ำระดับชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 1 ว่าที่ ร.ต.หญิงจิรัญญา ไชยโย หัวหน้ำระดับชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 2 นางสาวแสงเดือน ชัยเชิดชู หัวหน้ำระดับชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 3 นางสาวสุภาพิมพ์ บุญวาสน์ หัวหน้ำระดับชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 5 นางสาวกัญธนวีณ์ หมีนหล�ำ หัวหน้ำระดับชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 4 นางสาวปัทมาพร อัศวโยธิน หัวหน้ำระดับชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 6 นางสาวจงกล ตั้งตุลานนท์ นางจุฑามาศ รุ่งวิีถีชัยพร นายวุฒินันท์ เรืองเอี่ยม นางสาวพิมพ์ประไพ สิงหะ นางกานต์ทิชา มีหิรัญ นางสาวศิริขวัญ แสงเพ็ชร นางสมจิตต์ ลิ้มโพธิ์แดน กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย 08-27.indd 10 2/5/2566 BE 16:20


นางนารินทร์ ลีลาวรรณศิลป หัวหน้าระดับ ฝ่ายสนับสนุนการสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย นางสาวอาทิติยา มาลาแวจันทร์ นางสาวมณฑกาญจน์ ศิริมงคล นางสาวแสงเดือน ชัยเชิดชู นางสาวศิริพร วงษ์ภักดี นางสาวนฤมล สิงห์นี นางสาวภัทราพร เรืองบุศ นางสาวอรวรรณ อารีมิตร นายชาตรี ตราชู นางสาวพรปวีณ์ กุณี นางสาวชนิฎา เต๊ะล๊ะ นางสาวนิศารัตน์ แสงรี นางสาวจารุณี ไทยทองหลาง 08-27.indd 11 2/5/2566 BE 16:20


นางสาวละมุล ตาลกุล นายวุฒิชาติ จิรเดชก�ำจร นางจิราภา ภิญโย นายสุรเชษฐ อ้นเพ็ง นายอนันต์ ปิงยศ นางสาววิรุวรรณ ลือชา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี นางสาวปัทมาพร อัศวโยธิน นายปพนณัฏฐ์ ดุษดี นางสาวปราณีวัลย์ สายบุดดี นายศิวพล นันทพานิชย์ นายอภิรักษ์ วรปรียากุล นางสาวรมยพร สันทัดการ นางสาวกัญธนวีณ์ หมีนหล�ำ ว่าที่ ร.ต.หญิงจิรัญญา ไชยโย นายเอกภพ สร้อยฟ้า นางสาวทิพากร ลั่นนาวา 08-27.indd 12 2/5/2566 BE 16:20


นายอนุรักษ์ ทองอร่าม กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี นางสาวอรุณพร บุญนิล นางสาวรุ่งนภา น่วมน้อย ว่าที่ ร.ต.วุฒิพงศ์ สิทธิคุณ นายพุฒิเศรษฐ์ พุ่มจ�ำเนียร นายสุทธิพงษ์ โฉมศรี นางสาวปัณณภัสร์ เบี้ยวเก็บ นางสาวรอพิดา หลงเป๊าะ ว่าที่ ร.ต.นพรุจ จันทร์ผอง นางสาวปนัดดา เสนารัตน์ นางสาวเกศสุดา ชื่นใจชม นายอัศรากร คุณฟอง นางสาวมณิสร เตือนธรรมรักษ์ นางสาวนูรีย๊ะ แดเมาะเล็ง นายมานะชัย หวังผล นางสาววิรากานต์ สร้อยสุวรรณ์ 08-27.indd 13 2/5/2566 BE 16:21


นายวรวิทย์ ทองเหลือง นายกฤตยชญ์ มีสัตย์ นางสาวแสงดาว จันทรสิทธิ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ นางสาวปิยานุช จึงเจริญ 08-27.indd 14 2/5/2566 BE 16:21


กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ นางสาวณวรินญญ์ บุญปก นางสาวกุลรัตน์ นิธุรัมย์ นายพงศธร แก้วอมร นางสาวฑัชชานันทร์ ชราชิต นางภัควรินทร์ ธนะเนตรพิรุฬห์ นางสาวสุกฤตา อานนท์ นางสาวเสาวรัตน์ เจริญวรชัย นางสาวลักษณาวดี หลักค�ำ นางสาวสิริรัตน์ สืบแก้ว นายทะเล สุนทรกล�ำภ์ นายอดิเรก จันทร์แทน นางสาวจุฬารัตน์ ดวงแก้ว นายสุชาติ จงประเสริฐกุล นางสาวศศิธร นิลพุ่ม นางสาวอรัญญา อรุณวิง นางสาวชรีนุช สักดา 08-27.indd 15 2/5/2566 BE 16:21


Mr.Lin Lin กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ นางสาวมิญชญา พิมพะชัย นางสาวชนวรรณ แป้นงาม นางสาวเอมมิการ์ ต้ายไธสง นางสาวณัชกมล หุ่นเก่า นางสาวรุ่งฤดี ทองดี นางสาวพรรัตน์ พาเชื้อ นางสาวศุภาดา สาระกุล กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ Mr.Nformi Bime Jude Thadeus นายพงศธร หอยสังฆ์ Mr.Rowell Albancis Baldoza Miss Juliet Kisakye Mrs.Judelyn Amparo Liu นายณัฐพงศ์ จอมงาม 08-27.indd 16 2/5/2566 BE 16:21


กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ นายมงคล วงศ์พยัคฆ์ นางสาวดาวใจ ศรีสอาด นายวรวิทย์ มัคคารมณ์ นางสาวปนัดดา บุญปัญญา นายเผด็จ ฉิมพันธ์ นางสาวมินตรา โกพล นายทศพล เวชกามา นางวรัลชญาน์ โชติวรทวีพนธ์ นางศุภกร โซ่วิเชียร นางนิ่มนวล อยู่เจริญ นางสาวอัญชนา โพธิพลากร นายศุภมิตร อารีมิตร นางสาวพฤกษา มัญจกาเภท นางสาวพัชรี บุญเรือง นางสาวคณาพร ห้วยหงษ์ทอง นางสาวอุมาพร วัฒนา 08-27.indd 17 2/5/2566 BE 16:21


กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ นายภานุพงศ์ ชูชื่น นางสาวพรพิมล จุตตะไร นายชัชวาลย์ ชัยสว่าง นางสาวสาธิดา บุญเกิด นายจิรเมธ ศรีทอง กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 08-27.indd 18 2/5/2566 BE 16:21


กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม นางสาวจารุวรรณ ยิ่งยงค์ นายนราพงษ์ มาสิก นางสาวบุษราคัม กัมพลานนท์ นางสาวจินดา ผาดศรี นางสาวนพรัตน์ เชื่อมสุข นายวายุภักษ์ สิริกาญจนสกุล นางสาวเกษร ศรีทองสุข นายธนกฤต พุ่มมาศ นางพุทธิชาต คนอยู่ นางสาววิภาพร มีแสน นางสาวจันทร์เพ็ญ ชัยวุฒิ นางสาวกรกฎ จิตรานุเคราะห์ 08-27.indd 19 2/5/2566 BE 16:21


กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา นางสาวรัฐธณา ปลิวศรีแก้ว นายจตุพงศ์ กัลณา นายอนุรัตน์ ทองสกุล นางสาวมินท์ธิตา ธนนันท์นราพูล นางเมียวดี ดีพูน นางสาวสุภาพิมพ์ บุญวาสน์ 08-27.indd 20 2/5/2566 BE 16:21


กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา นายณัฏฐชัย เศรษฐกุลโอฬาร นางปภาพินท์ นาภูมิ นายโปลิศ เชื้อแก้ว นางสาวคนึงนิตย์ สุนทวนิค นายปกรณ์ ฤกษ์วิไล นายฤทธิพงษ์ ประทุมสุวรรณ์ นายอานนท์ ทับทิม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 08-27.indd 21 2/5/2566 BE 16:21


กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ นายธวัชชัย นิลประดับ นางสาวภัทรชนก ภัทรกุลรพี นายธวัช จตุรัตนโชติ นางวัชราภา ทองมี นางสาวพรวิมล คงพูน นายตะวัน โตเอี่ยม นายปริญญา ภู่คร้าม นางสาวมนันยา วรรณศรีสวัสดิ์ นางสาวสุภิศา แสงอาวุธ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ 08-27.indd 22 2/5/2566 BE 16:21


นางสาวภัทราพร ทิพย์รองพล นางสาวกนกพัชร์ ศิริชัยวิริยะ นายไพฑูรย์ สดมุ้ย กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ นางสาววงเดือน อุปชัย นางวิบูลย์ศิริ ทับสุข นางสาวจริยาพร สอนใจ นายนวพล พรมลี นางสาวพรนภา คิดกล้า นางธัญญลักษณ์ วิจิตรจินต์ ว่าที่ ร.ต.หญิงนงนภัส บุญภิละ 08-27.indd 23 2/5/2566 BE 16:21


English Program Miss Rowena L. Panganiban Mrs.Cecyl Dagala Lacson Miss Lannys Entierro Tianzon Mr.Rio John A. Sumagaysay Mr.Edrin Jay D.Morta Mr.Lawrence Sserunjoji Miss Gretchen Joy Obligar Miss Mariia Kateshova Miss Sylvie Longie Njawe นางสาวเกศิณี ท้วมกลัด นางสาวศิระมนต์ รุ่งแสง นางสาววาสนา นิลร�ำไพ Mr.Naveed Alam ลูกจ้างชั่วคราวประจ�ำส�ำนักงาน 08-27.indd 24 2/5/2566 BE 16:21


English Program นางสาวสิรินธร สเตรามันต์ นางสาวกอบกมล โตสัจจวงศ์ นางศิริรัตน์ ทับทิม นางศิริวรรณ ยอดแปลน นางสาวนันท์นภัส ปริญญาอภินันท์ นายธีรพัชร์ ศิลาวิโรจน์ธาดา นางสาวเมตตา ส�ำเนียงใส นางสาวพรรณี รักท้วม นางสาวสุชาวดี เขยะตา นางสาวเกตุวดี ตี่อ�่ำ นางสาวกาญจนา บับติสตา นายเดชนรินทร์ ไกรษา ลูกจ้างชั่วคราวประจ�ำส�ำนักงาน 08-27.indd 25 2/5/2566 BE 16:21


นายไพรัตน์ แซ่ตั๊น นายจ�ำเนียร เชื้อฮ้อ นายสมศักดิ์ หุ่นสุข นายเลิศศักดิ์ ปลาบู่ทอง พนักงานขับรถ ช่างไม้ ลูกจ้างชั่วคราว พนักงานรักษาความปลอดภัย ลูกจ้างชั่วคราว นายกานต์ ศิริขันธ์ นายไพรัช คงสุขศรี นายมนตรี ศุกลเมธ นายบุญเลิศ ทับหิรัญ นายวิชิต มะลิวัลย์ นายเหว่า ทัสวงษ์ นางสกาวพร ไพบูลย์พันธุ์มาศ 08-27.indd 26 2/5/2566 BE 16:21


ลูกจ้างชั่วคราว นายเอกชัย ตรีเมฆ นายสมบูรณ์ แก้วอุดม นางจริน ภู่อารีย์ นางรวีวรรณ เห็นชัด นางติ๋ว แจ่มแจ้ง นางสาวเหลือ ศรีบุญ นางสาวปิยะวรรณ พุ่มถาวร นางจุติพร นาควิจิตร นางอภิญญา เพ็งทอง นางสมพร ทับทอง นางสาวเพชรนาลิน ลอยร่อน นางไพริน โพธิ์ลิบ นางศศิธร พึ่งโพธิ์ทอง พนักงานรักษาความปลอดภัย ลูกจ้างชั่วคราว 08-27.indd 27 2/5/2566 BE 16:22


28-29.indd 28 2/5/2566 BE 11:24


28-29.indd 29 2/5/2566 BE 11:24


30.indd 30 2/5/2566 BE 11:25


31 ทิศทางการบริหารจัดการศึกษาของโรงเรียนมัธยมวัดสิงห์ ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2565 - 2567) ปรัชญา (Philosophy) ใฝ่หาความรู้ เชิดชูสถาบัน ยึดมั่นคุณธรรม วิสัยทัศน์ (Vision) ผู้เรียนมีคุณภาพระดับมาตรฐานสากล เป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้คู่คุณธรรม อัตลักษณ์ (Identities) ลูกสิงห์ยิ้มง่าย ไหว้สวย เอกลักษณ์ (Identity) บรรยากาศดี กิจกรรมเด่น เป็นศูนย์รวมชุมชน พันธกิจ (Missions) 1. พัฒนาและส่งเสริมผู้เรียนให้มีศักยภาพ สมรรถนะ และคุณลักษณะตามเป้าหมายของหลักสูตร 2. พัฒนาหลักสูตร เทคโนโลยีสารสนเทศ และสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้ อย่างมีคุณคุณภาพ 3. พัฒนา ส่งเสริม และสนับสนุนครูให้มีคุณภาพตามมาตรฐานวิชาชีพ 4. ส่งเสริมการบริหารจัดการศึกษาโดยใช้หลักการมีส่วนร่วม หลักธรรมาภิบาล และระบบประกัน คุณภาพการศึกษา 31-41.indd 31 2/5/2566 BE 15:59


32 เป้าประสงค์ (Goals) 1. ผู้เรียนเป็นคนเก่ง คนดี มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ มีศักยภาพตามอัตลักษณ์ และมีทักษะ ในการด�ำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 2. สัมฤทธิผลของการจัดการศึกษาเป็นไปตามเกณฑ์คุณภาพมาตรฐานสากล 3. ครูมุ่งพัฒนาตนเองให้มีคุณภาพตามมาตรฐานวิชาชีพ และเป็นครูมืออาชีพ 4. องค์กรทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมส่งเสริม และสนับสนุนการจัดการศึกษาอย่างมีประสิทธิภาพ แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนมัธยมวัดสิงห์ 1. แผนพัฒนาด้านคุณภาพผู้เรียน 2. แผนพัฒนาด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอน 3. แผนพัฒนาด้านคุณภาพครูและกระบวนการบริหารจัดการ 31-41.indd 32 2/5/2566 BE 15:59


33 ประวัติโรงเรียนมัธยมวัดสิงห์ โรงเรียนมัธยมวัดสิงห์ (ม.ว.ส.) แต่เดิมชื่อ โรงเรียนวัดสิงห์ (ว.ส.) เปลี่ยนชื่อเป็นโรงเรียน สิงหราชพิทยาคม (ส.พ.)เมื่อปี พ.ศ. 2514 และเปลี่ยนชื่อเป็น โรงเรียนมัธยมวัดสิงห์ (ม.ว.ส.) เมื่อปี พ.ศ. 2538 เป็นโรงเรียนประเภทสหศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ สังกัดส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู่เลขที่ 35 ก. หมู่ 3 ถนนเอกชัย แขวงบางขุนเทียน เขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร มีพื้นที่ 37 ไร่ 100 ตารางวา โดยเช่าที่ดินของวัดสิงห์ส่วนหนึ่งและเป็นที่ดินราชพัสดุอีกส่วนหนึ่ง โรงเรียน เปิดท�ำการสอนครั้งแรกเมื่อวันจันทร์ที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2546 (ซึ่งถือเป็นวันสถาปนาโรงเรียน) เริ่มต้น เปิดสอนในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จ�ำนวน 1 ห้องเรียน มีนักเรียน 47 คน ครู 4 คน โดยมี ครูหงิม เกบไว้ เป็นครูใหญ่คนแรก ในระยะแรกโรงเรียนมีอาคารเรียนเป็นเรือนไม้ชั้นเดียวหลังคามุงจาก จ�ำนวน 1 หลัง การท�ำกิจกรรมต่างๆ จึงต้องอาศัยศาลาโรงทึมที่วัดสิงห์อยู่เสมอ พระครูฉ่อง (พระครูอุดมสิกขกิจ) เจ้าอาวาสวัดสิงห์ในสมัยนั้น ได้ให้ความกรุณาอุปถัมภ์โรงเรียนตลอดมา โรงเรียนได้พัฒนาก้าวหน้ามาโดยล�ำดับ มีการก่อสร้างอาคารเรียนเพิ่มเติมหลายหลัง โรงเรียนมีนักเรียนเพิ่มมากขึ้นทุกปี ได้ขยายระดับชั้นเรียนจากชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จนถึง ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย กาลเวลาที่ผ่านพ้นไปหลายสิบปี โรงเรียนเปลี่ยนผู้บริหารไปตามวาระเช่นกัน นับตั้งแต่เปิดโรงเรียนจนถึงปัจจุบัน ดังนี้ นายหงิม เกบไว้ ครูใหญ่ตั้งแต่ พ.ศ. 2496 - 2503 นายยงยุทธ โคตมะ ครูใหญ่ตั้งแต่ พ.ศ. 2503 - 2505 นายจรันต์ เศรษฐบุตร อาจารย์ใหญ่ตั้งแต่ พ.ศ. 2505 - 2511 นางกรรณี หังสนาวิน อาจารย์ใหญ่ตั้งแต่ พ.ศ. 2512 - 2516 นางวรณี ศิริบุญ ผู้อ�ำนวยการตั้งแต่ พ.ศ. 2516 - 2520 นางประจวบ ช�ำนิประศาสน์ ผู้อ�ำนวยการตั้งแต่ พ.ศ. 2520 -2526 นายส�ำราญ รัตนวิทย์ ผู้อ�ำนวยการตั้งแต่ พ.ศ. 2526 - 2531 31-41.indd 33 2/5/2566 BE 15:59


34 นายไพบูลย์ ฉิ่งทองค�ำ ผู้อ�ำนวยการตั้งแต่ พ.ศ. 2531 - 2539 นายครรชิต ตรานุชรัตน์ ผู้อ�ำนวยการตั้งแต่ พ.ศ. 2539 - 2543 นายประเสริฐ กมลนาวิน ผู้อ�ำนวยการตั้งแต่ พ.ศ. 2543 - 2545 นายไพโรจน์ สุวรรณภักดี ผู้อ�ำนวยการตั้งแต่ พ.ศ. 2546 - 2549 นายสมศักดิ์ โคกทอง ผู้อ�ำนวยการตั้งแต่ พ.ศ. 2549 - 2555 นายประมาณ ชูพิพัฒน์ ผู้อ�ำนวยการตั้งแต่ พ.ศ. 2555 - 2558 นายสุพจน์ หล้าธรรม ผู้อ�ำนวยการตั้งแต่ พ.ศ. 2558 - 2561 นายบุณยพงศ์ โพธิวัฒน์ธนัต ผู้อ�ำนวยการตั้งแต่ พ.ศ. 2561 - 2563 นายเทพพร อาจเวทย์ ผู้อ�ำนวยการตั้งแต่ พ.ศ. 2563 - ปัจจุบัน ในระยะแรกอาจกล่าวได้ว่าโรงเรียนตั้งอยู่ในสวนแถบชานเมืองของฝั่งธนบุรี รอบบริเวณเป็น สวนผลไม้ที่ขึ้นชื่อ ได้แก่ ส้มเขียวหวาน ฝรั่ง และผลไม้อื่นๆ สภาพโรงเรียนยังเป็นเรือนไม้ พื้นที่ยังมีลักษณะ เป็นสวน ทุ่งนา การเดินทางมาโรงเรียนสมัยก่อนต้องอาศัยรถไฟ รถราง ซึ่งวิ่งตั้งแต่สถานีคลองสานจนถึง มหาชัย หรือมิฉะนั้นก็มาทางเรือหรือเดินมาจนกระทั่งประมาณปี พ.ศ. 2506 ได้มีการสร้างถนนเอกชัย นักเรียนจึงเปลี่ยนความนิยมมาใช้บริการรถยนต์โดยสารกันเป็นส่วนใหญ่ ส่วนสภาพพื้นที่ของโรงเรียนก็ได้รับ การปรับปรุงตลอดมาจากท้องร่องสวนที่มีน�้ำเจิ่งนองก็กลายเป็นสนามฟุตบอลกว้างใหญ่ จากทางเดินที่เป็น ดินโคลนก็กลายมาป็นถนนคอนกรีต และได้รับการปรับแต่งบรรยากาศสภาพแวดล้อมมีต้นไม้ที่ร่มรื่น สวยงาม อย่างที่เห็นในปัจจุบัน สิ่งต่างๆ เหล่านี้เป็นความเหนื่อยยากจากการร่วมแรงร่วมใจของศิษย์รุ่นพี่ๆ รวมทั้ง ครูอาจารย์ที่ได้สร้างสรรค์มาแต่อดีตจนถึงปัจจุบันนี้ สืบทอดกันมาทั้งสิ้น 31-41.indd 34 2/5/2566 BE 15:59


35 ก�ำหนดวันเปิด - ปิดภาคเรียน การจัดคาบเรียนและเลิกเรียน กระทรวงศึกษาธิการ ได้ก�ำหนดไว้ ดังนี้ ภาคเรียนที่ 1 วันเปิดภาคเรียน วันที่ 16 พฤษภาคม 2566 วันปิดภาคเรียน วันที่ 11 ตุลาคม 2566 ภาคเรียนที่2 วันเปิดภาคเรียน วันที่ 1 พฤศจิกายน 2566 วันปิดภาคเรียน วันที่ 31 มีนาคม 2567 07.40 น. เข้าแถวพิธีเคารพธงชาติ สวดมนต์ไหว้พระ 08.00 - 08.50 น. เริ่มเรียนคาบที่ 1 08.50 - 09.40 น. คาบที่ 2 09.40 - 10.30 น. คาบที่ 3 10.30 - 11.20 น. คาบที่ 4 11.20 - 12.10 น. คาบที่ 5 12.10 - 13.00 น. คาบที่ 6 13.00 - 13.50 น. คาบที่ 7 ม.ต้นเลิกเรียน 13.50 - 14.40 น. คาบที่ 8 ม.ปลายเลิกเรียน 14.40 - 15.30 น. คาบที่ 9 (การเลิกเรียนอาจเปลี่ยนแปลง 15.30 - 16.20 น. คาบที่ 10 ตามตารางเรียน) 16.20 - 17.10 น. คาบที่ 11 } พักกลางวัน 1 คาบเรียน 31-41.indd 35 2/5/2566 BE 15:59


36 31-41.indd 36 2/5/2566 BE 15:59


37 กลุ่มบริหารงบประมาณ กลุ่มบริหารงบประมาณ เกี่ยวข้องกับผู้ปกครองนักเรียนในส่วนของการเงิน มี 2 ประเภท ดังนี้ 1. เงินที่นักเรียนได้รับการสนับสนุนจากรัฐบาลมี 6 รายการ 1) เงินอุดหนุนรายหัว ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น 1,785 บาท/คน/ภาคเรียน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 1,938 บาท/คน/ภาคเรียน โรงเรียนน�ำมาจัดโครงการ/กิจกรรมเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้สอดคล้องกับมาตรฐาน การศึกษาของโรงเรียนที่ก�ำหนดไว้ 2) เงินปัจจัยพื้นฐานส�ำหรับนักเรียนยากจน ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น 1,500 บาท/คน/ภาคเรียน กระทรวงศึกษาธิการก�ำหนดเกณฑ์ในการพิจารณานักเรียนที่ยากจน ดังนี้ 1. พิจารณาจากครอบครัวที่มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือนไม่เกิน 3,000 บาท 2. เมื่อผ่านเกณฑ์การพิจารณา ข้อ 1.1 แล้ว จะพิจารณาเกณฑ์สถานะครัวเรือนเพื่อจัดระดับ ความยากจน ดังนี้ 1.2.1 สมาชิกครัวเรือนที่มีภาระพึ่งพิง (ผู้พิการ/เจ็บป่วยเรื้อรัง ผู้สูงอายุ หรือผู้ไม่มีรายได้) 1.2.2 การอยู่อาศัย (บ้านตนเอง/บ้านเช่า/อยู่กับผู้อื่น) 1.2.3 ลักษณะที่อยู่อาศัย 1.2.4 ที่ดินท�ำการเกษตรได้ (รวมเช่า) 1.2.5 แหล่งน�้ำดื่ม 1.2.6 แหล่งไฟฟ้า 1.2.7 ยานพาหนะในครัวเรือน (ที่ใช้งานได้) 1.2.8 ของใช้ในครัวเรือน (ที่ใช้งานได้) 3) เงินสนับสนุนค่าหนังสือเรียน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 808 บาท/คน/ปี ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 921 บาท/คน/ปี ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 996 บาท/คน/ปี ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 1,384 บาท/คน/ปี ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 1,326 บาท/คน/ปี ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 1,164 บาท/คน/ปี โรงเรียนด�ำเนินการจัดหาให้ตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ 31-41.indd 37 2/5/2566 BE 15:59


38 4) ค่าอุปกรณ์การเรียน ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น 260 บาท/คน/ภาคเรียน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 260 บาท/คน/ภาคเรียน 5) ค่าเครื่องแบบนักเรียน ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น 500 บาท/คน/ปี ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 550 บาท/คน/ปี 6) ค่ากิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น 448.50 บาท/คน/ภาคเรียน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 484.50 บาท/คน/ภาคเรียน โรงเรียนจัดกิจกรรมให้นักเรียนโดยรวม 2. เงินผู้ปกครองจ่ายเพื่อสนับสนุนการจัดกิจกรรมของนักเรียนส่วนที่เกินกว่าที่รัฐจัดให้คือเงินบ�ำรุง การศึกษา ที่โรงเรียนขออนุญาตจากส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา กรุงเทพมหานคร เขต 1 ขออนุญาตเก็บรายละเอียดดังนี้ 31-41.indd 38 2/5/2566 BE 15:59


39 แบบอนุมัติการเก็บเงินบ�ำรุงการศึกษา ปีการศึกษา 2566 โรงเรียนมัธยมวัดสิงห์ ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา กรุงเทพมหานคร เขต 1 ในส่วนที่ผู้ปกครองจะน�ำเงินมาช�ำระทุกเปิดภาคเรียนจนนักเรียนจบการศึกษา ที่ รายการ ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนที่2 รวม ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนที่2 รวม จ�ำนวนเงินที่ขออนุมัติจัดเก็บ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 1 ค่าใช้จ่ายในกรณีโรงเรียนจัดท�ำเป็นลักษณะพิเศษ 1.1 ค่าคู่มือนักเรียน 100 - 100 100 - 100 1.2 ค่าบัตรประจ�ำตัวนักเรียน - - - - - - (กรณีบัตร Smart Card) 1.3 ค่าปฐมนิเทศนักเรียน 100 - 100 100 - 100 1.4 ค่าวารสารโรงเรียน 50 50 100 50 50 100 2. ค่าใช้จ่ายในการจัดการเรียนการสอนนอกเหนือหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2.1 ห้องเรียนพิเศษ EP 27,500 27,500 55,000 27,500 27,500 55,000 English Program 2.1 ห้องเรียนพิเศษ MEP - - - - - - (Mini English Program) 2.3 ห้องเรียนพิเศษตามโครงการ - - - - - - Education Hub (โยธินบูรณะ) 2.4 ห้องเรียนพิเศษด้านภาษา - - - - - - 2.5 ห้องเรียนพิเศษ 15,000 15,000 30,000 15,000 15,000 30,000 วิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ อื่นๆ 31-41.indd 39 2/5/2566 BE 15:59


40 ที่ รายการ ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนที่2 รวม ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนที่2 รวม จ�ำนวนเงินที่ขออนุมัติจัดเก็บ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 3. ค่าใช้จ่ายเพื่อเพิ่มศักยภาพและความสามารถของนักเรียน (ตามที่จ่ายจริง ทุกรายการรวมกัน ไม่เกิน 1,250 บาทต่อภาคเรียน 3.1 โครงการพัฒนาทักษะตามความถนัด 125 125 250 125 125 250 ของนักเรียน นอกเวลาเรียน 3.2 ค่าจ้างครูชาวต่างชาติ 400 400 800 400 400 800 3.3 ค่าตอบแทนวิทยากรภายนอก - - - - - - 3.4 ค่าเรียนปรับพื้นฐานความรู้ - - - - - - (เฉพาะชั้นมัยมศึกษาปีที่ 1 และ 4 ) 4. ค่าจัดการเรียนการสอนเสริมเพิ่มเติมให้กับนักเรียนนอกเหนือจากเกณฑ์มาตรฐานทั่วไป (เก็บตามที่จ่ายจริง โดยประหยัด) 4.1 ค่าจ้างครูที่มีความเชี่ยวชาญ 500 500 1,000 500 500 1,000 ในสาขาเฉพาะ 4.2 ค่าจ้างครูเฉพาะแผนการเรียนจีน - - - 1,500 1,500 3,000 4.3 ค่าสาธารณูปโภคส�ำหรับ 500 500 1,000 500 500 1,000 ห้องเรียนปรับอากาศ 4.4 ค่าสอนคอมพิวเตอร์ กรณี 500 500 1,000 500 500 1,000 โรงเรียนจัดคอมพิวเตอร์ให้กับ นักเรียนเกินมาตรฐานที่รัฐ จัดให้ (1 เครื่อง:นักเรียน20 คน) 4.5 ค่าใช้จ่ายในการจัดร่วม โครงการ 125 125 250 125 125 250 โครงงาน และกิจกรรมพัฒนา ผู้เรียนเกินมาตรฐานที่รัฐจัดให้ 31-41.indd 40 2/5/2566 BE 15:59


41 ที่ รายการ ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนที่2 รวม ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนที่2 รวม จ�ำนวนเงินที่ขออนุมัติจัดเก็บ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 4. ค่าจัดการเรียนการสอนเสริมเพิ่มเติมให้กับนักเรียนนอกเหนือจากเกณฑ์มาตรฐานทั่วไป (เก็บตามที่จ่ายจริง โดยประหยัด) (ต่อ) 4.5 ค่าใช้จ่ายในการไปทัศนศึกษา - - - - - - ตามแหล่งเรียนรู้ของนักเรียน เกินมาตรฐานที่รัฐจัดให้ 5. ค่าใช้จ่ายในการดูแลด้านสวัสดิการและสวัสดิภาพนักเรียน (เก็บตามที่จ่ายจริง โดยประหยัด) 5.1 ค่าประกันชีวิตนักเรียน/ 300 - 300 300 - 300 ค่าประกันอุบัติเหตุนักเรียน 5.2 ค่าจ้างบุคลากรที่ปฏิบัติงาน 1,000 1,000 2,000 1,000 1,000 2,000 ในสถานศึกษา 5.3 ค่าตรวจสุขภาพนักเรียน 100 - 100 100 - 100 เป็นกรณีพิเศษนอกเหนือจาก การให้บริการสาธารณสุขของรัฐ 5.4 ค่าอาหารกลางวันนักเรียน - - - - - - รวม (เฉพาะห้องเรียนปกติ) 3,800 3,200 7,000 3,800 3,200 7,000 รวม (เฉพาะห้องเรียนภาษาจีน) - - - 4,800 4,200 9,000 รวม (เฉพาะห้องเรียน GEP) 17,575 16,575 34,250 17,275 16,675 33,950 รวม (เฉพาะห้องเรียน EP) 30,075 29,175 59,250 29,775 29,175 58,950 เงินทั้งหมดที่ได้รับจากผู้ปกครองนี้ โรงเรียนจัดท�ำโครงการ/กิจกรรมให้สอดคล้องกับมาตรฐาน การศึกษาของโรงเรียน 31-41.indd 41 2/5/2566 BE 15:59


42 42-54.indd 42 2/5/2566 BE 12:16


43 โครงสร้างหลักสูตรโรงเรียนมัธยมวัดสิงห์ ปีการศึกษา 2566 ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 42-54.indd 43 2/5/2566 BE 12:16


44 โครงสร้างหลักสูตรโรงเรียนมัธยมวัดสิงห์ ปีการศึกษา 2566 ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 42-54.indd 44 2/5/2566 BE 12:16


45 โครงสร้างหลักสูตรโรงเรียนมัธยมวัดสิงห์ ปีการศึกษา 2566 ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2567 42-54.indd 45 2/5/2566 BE 12:16


46 โครงสร้างหลักสูตรโรงเรียนมัธยมวัดสิงห์ ปีการศึกษา 2566 ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2567 42-54.indd 46 2/5/2566 BE 12:16


47 โครงสร้างหลักสูตรโรงเรียนมัธยมวัดสิงห์ ปีการศึกษา 2566 ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2568 42-54.indd 47 2/5/2566 BE 12:16


48 โครงสร้างหลักสูตรโรงเรียนมัธยมวัดสิงห์ ปีการศึกษา 2566 ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2568 42-54.indd 48 2/5/2566 BE 12:16


49 โครงสร้างหลักสูตรโรงเรียนมัธยมวัดสิงห์ ปีการศึกษา 2566 ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 42-54.indd 49 2/5/2566 BE 12:16


50 โครงสร้างหลักสูตรโรงเรียนมัธยมวัดสิงห์ ปีการศึกษา 2566 ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 42-54.indd 50 2/5/2566 BE 12:16


Click to View FlipBook Version