The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนหน้าที่พลเมืองตามรูปแบบ PLC 2000-1501

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ดรุษกร ชราชิต, 2020-02-28 02:59:04

หน้าที่พลเมือง 2000-1501

แผนหน้าที่พลเมืองตามรูปแบบ PLC 2000-1501

แผนการจดั การเรียนรู้

มุ่งเน้นสมรรถนะ บูรณาการ ศาสตรพ์ ระราชา หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
และการบูรณาการชุมชนการเรยี นรทู้ างวชิ าชีพ (PLC)

รหสั วิชา 2000–1501
วิชาหน้าทพ่ี ลเมอื งและศีลธรรม

โดย
นางสาวดรษุ กร ชราชติ

ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2562
แผนกสามญั สมั พนั ธ์ วิทยาลยั เทคนคิ ตาก
สานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

ชอื่ วิชา หนา้ ทพ่ี ลเมืองและศลี ธรรม รหสั วิชา 2000-1501 ท.ป.น 2-0-2
หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 1 เรอื่ ง ความสาคญั ของศาสนา
สปั ดาห์ที่ 1 วนั ท่ี 21 ตลุ าคม 2562 เวลา 08.15 - 10.15 น.
สาขาวิชา ยานยนต์ ระดบั ช้นั ปวช.3 กลมุ่ 1-2 จานวน 33 คน

1. สาระสาคัญ
ศาสนามคี วามสาคญั และจาเปน็ ต่อมวลมนุษยชาติ มีอทิ ธิพลและบทบาทสาคัญในการยกระดับ

คณุ ธรรม จรยิ ธรรมของมนุษย์ ดงั นัน้ จึงควรศกึ ษาใหเ้ กิดความเข้าใจเพื่อสรา้ งศรทั ธา น้อมนาคาสอนไป
ประพฤตปิ ฏิบัตใิ หถ้ ึงประโยชน์สงู สดุ ของแต่ละศาสนา

2. สมรรถนะการเรียนร้ปู ระจาหน่วย
แสดงความรู้เก่ียวกับความสาคญั ของศาสนา

3. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
พทุ ธิพิสยั (ความรู้) Cognitive Domain (K)
- นักเรยี นอธิบายความหมายของศาสนา
- นกั เรยี นอธบิ ายการกาเนดิ ศาสนา
- นักเรียนอธบิ ายลักษณะของศาสนาแตล่ ะประเภท
- นักเรยี นอธบิ ายความสาคัญของศาสนาทีม่ ตี ่อมนุษยแ์ ละสังคม
- นักเรยี นพูดประเดน็ สาคญั ตามเนอื้ หาทก่ี าหนด
ทกั ษะพิสัย (ทักษะ) Psychomotor Domain (P)
- นักเรียนแสดงออกดา้ นการตรงตอ่ เวลา ความสนใจใฝ่รู้
- นักเรยี นความซอ่ื สตั ย์ สุจรติ ความมนี า้ ใจ, แบง่ บนั
- นักเรียนความรว่ มมือ ความมมี ารยาท
จิตพสิ ัย (เจตคต)ิ Affective Domain (A)
- นักเรียนแสดงออกถึงความมวี นิ ยั ความซ่ือสัตยส์ จุ ริต
- นักเรยี นความสนใจใฝร่ ู้ และความคิดรเิ ร่มิ สร้างสรรค์

๔. บูรณาการหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
3 ห่วง

4.1 ความพอประมาณ: หมายถึง ความพอดีทไ่ี มน่ ้อยเกินไปและไมม่ ากเกินไปโดยไม่เบียดเบียนตนเองและ
ผูอ้ น่ื เช่นการผลติ และการบรโิ ภคที่อยใู่ นระดับพอประมาณ

- นกั เรยี นใชเ้ วลาในการศกึ ษาเนอื้ หา ได้ครบทกุ เนอ้ื หาตามเวลาทีก่ าหนดได้อยา่ งเหมาะสม ไม่มากไม่
นอ้ ยเกินไป

4.2 ความมีเหตุผล: หมายถึง การตดั สินใจเกี่ยวกบั ระดบั ของความพอเพียงนนั้ จะต้องเป็นไปอย่างมเี หตผุ ล
โดยพจิ ารณาจากเหตปุ จั จัยทเี่ กย่ี วขอ้ งตลอดจนคานงึ ถงึ ผลท่ีคาดว่าจะเกดิ ขน้ึ จากการกระทานน้ั ๆ อย่าง
รอบคอบ

- นกั เรียนอธิบายความหมายของศาสนา การกาเนิดศาสนาไดค้ รบทุกเน้ือหาอยา่ งมีเหตุผลโดยพิจารณา
จากเหตปุ ัจจยั ทเี่ ก่ียวขอ้ งและจุดเด่นของแตล่ ะเน้ือหา
4.3 การมภี ูมิค้มุ กนั ท่ีดใี นตัว: หมายถงึ การเตรยี มตัวให้พร้อมรับผลกระทบและการเปล่ียนแปลงดา้ นตา่ ง ๆ
ทจ่ี ะเกิดขึ้นโดยคานึงถึงความเป็นไปได้ของสถานการณ์ ต่าง ๆ ทคี่ าดวา่ จะเกดิ ขึ้นในอนาคตทงั้ ใกล้และไกล

- นักเรยี นมีความรู้ และทกั ษะในการนาความรู้เกี่ยวกับความสาคัญของศาสนาที่มีตอ่ มนษุ ย์และสงั คมไป
ประยกุ ตใ์ ช้ให้เกดิ ประโยชนใ์ นชวี ติ ประจาวัน การทางานและการศึกษาต่อ
2 เงอื่ นไข
คือ การตัดสนิ ใจและการดาเนินกิจกรรมตา่ ง ๆ ใหอ้ ยู่ในระดับพอเพียงน้ันต้องอาศัยทง้ั ความรู้ และคุณธรรม
เป็นพืน้ ฐาน กล่าวคือ

 เงอ่ื นไขความรู:้ ประกอบด้วย ความรอบรูเ้ กยี่ วกับวชิ าการตา่ ง ๆ ที่เกยี่ วข้องอยา่ งรอบด้าน ความ
รอบคอบที่จะนาความร้เู หลา่ นัน้ มาพจิ ารณาให้เชื่อมโยงกนั เพ่อื ประกอบการวางแผน และความ
ระมดั ระวังในขนั้ ปฏิบตั ิ

- นกั เรยี นมคี วามร้เู ก่ยี วกบั ความหมายของศาสนาและลักษณะของศาสนาแตล่ ะประเภท
 เง่อื นไขคณุ ธรรม: ที่จะตอ้ งเสรมิ สร้างประกอบด้วย มคี วามตระหนกั ในคุณธรรม มีความซื่อสัตยส์ จุ ริต

และมคี วามอดทน มคี วามเพียร ใชส้ ตปิ ัญญาในการดาเนินชีวิต
- นกั เรียนทางานท่ีได้รับมอบหมายดว้ ยความซื่อสตั ย์ สจุ ริต มคี วามอดทนและและเพยี รพยายามใน
การศกึ ษาเนื้อหาเพ่ือให้เกดิ ประโยชนใ์ นชวี ติ ประจาวนั
๕. คุณธรรมจริยธรรม
แสดงออกถึงความมีวนิ ยั ความซื่อสัตย์สุจรติ ความสนใจใฝ่รู้ และความคดิ รเิ ริ่มสร้างสรรค์
6. เนื้อหาสาระ

1. ความหมายของศาสนา
ศาสนา คือ ลัทธิความเชื่อถือของมนุษย์ มูลเหตุสาคัญในการกาเนิดศาสนา คือความไม่รู้ ความ

กลัว และความต้องการหลกั ยดึ เหนีย่ วทางดา้ นจติ ใจของมนุษย์
2. กาเนิดศาสนา
1.2.1 เหตอุ ันเน่อื งจากความไมร่ ู้
1.2.2 เหตอุ ันเนื่องจากความกลัว
1.2.3 เหตอุ นั เนื่องมาจากความตอ้ งการยดึ เหน่ยี วทางดา้ นจติ ใจของมนษุ ย์
3. ประเภทของศาสนา
1.3.1 ประเภทของศาสนาตามกลมุ่ ความเชื่อเกีย่ วกับพระเจา้
1. เทวนยิ ม (เอกเทวนิยม, พหเุ ทวนยิ ม) เช่น ศาสนายดู าย ครสิ ต์ อสิ ลาม
2. อเทวนยิ ม เช่น ศาสนาพทุ ธ เตา๋ ขงจือ้
1.3.2 ประเภทของศาสนาตามหลกั ปรชั ญาทม่ี ีความคล้ายคลงึ กนั
1. การยดึ ถอื พระเจ้าสงู สดุ (กลมุ่ ปรัชญาตะวันตก) เชน่ ศาสนายูดาย ครสิ ต์ อิสลาม
2. การมุ่งเข้าถงึ ความจรงิ อนั สงู สุด คอื การหลุดพน้ จากสงั สารวัฏ (กลมุ่ ปรชั ญาตะวันออก)
ได้แก่ ศาสนาพุทธ เต๋า ขงจื้อ

4. ความสาคัญของศาสนา
1.4.1 ความสาคญั ของศาสนาต่อการดาเนินชีวติ ของมนุษย์
1.4.2 ความสาคญั ของศาสนาในฐานะศาสนาประจาชาติ

7. กิจกรรมการเรยี นรู้
ขนั้ นาเข้าสู่บทเรยี น
1. ครูขานชือ่ นักเรียน
2. ครูใหน้ กั เรียนนั่งสมาธิ หลังจากน้นั ทาแบบทดสอบก่อนเรียน (Pre-test)
3. ครนู าเขา้ ส่บู ทเรยี นดว้ ยการสนทนา การซกั ถาม การดรู ูปภาพทเี่ ก่ียวข้องกบั เน้อื หาบทเรียน
ข้นั สอน
4. แนะนาประเดน็ สาคัญ และแบ่งกลมุ่ นักเรียนค้นควา้ ตามขอ้ เรื่อง ตัวแทนแต่ละกล่มุ นาเสนอ
ผลงาน หน้าชั้นเรยี น
5.นักเรียนอภปิ รายร่วมกนั ในประเด็นคุณค่าของศาสนาท่ีมีตอ่ สงั คมมนุษย์
6. ครใู หน้ ักเรียนทาแบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 หลงั นกั เรียนทาเสร็จแล้วเฉลยแบบฝึกหดั และใหท้ า
แบบทดสอบหลังเรยี น (Post-test) หนว่ ยที่ 1
ขน้ั สรุป
7. ครแู ละนักเรยี นชว่ ยกันสรุปเนื้อหาบทเรียน ครูเพิ่มในส่วนทย่ี ังไมค่ รอบคลุม
8. ครูมอบหมายงาน ใหเ้ ขยี นเรยี งความเร่ือง “หากโลกนไ้ี ร้ศาสนา”

8. ส่ือการเรียนรู้ (หลากหลาย)
1. สอ่ื การเรียนรู้ หนงั สอื เรียนวชิ าหน้าท่พี ลเมอื งและศลี ธรรม หน่วยท่ี 1, PowerPoint ประกอบการ

สอน และแบบทดสอบก่อนเรียน และหลงั เรยี น
2. แหลง่ การเรียนรู้ หนังสือ วารสารเกี่ยวกับหนา้ ทพ่ี ลเมืองและศีลธรรม อนิ เทอรเ์ น็ต

การวัดผลและประเมนิ ผล

การวัดผล การประเมนิ ผล

(ใช้เครือ่ งมือ) (นาผลเทียบกบั เกณฑ์และแปลความหมาย)

1. แบบทดสอบก่อนเรียน (Pre-test) หน่วยที่ 1 (ไวเ้ ปรียบเทียบกบั คะแนนสอบหลังเรยี น)

2. แบบสังเกตการทางานกลุ่มและการนาเสนอผลงานกลุ่ม เกณฑผ์ ่าน 50%

3. แบบฝกึ หดั หนว่ ยที่ 1 เกณฑ์ผ่าน 50%

4. แบบทดสอบหลงั เรียน (Post-test) หน่วยท่ี 1 เกณฑ์ผา่ น 50%

5. แบบประเมินคุณธรรม จรยิ ธรรม ตามสภาพจริง เกณฑผ์ ่าน 50%

๑๐. เกณฑ์การประเมนิ ผล
นกั เรียนสง่ ทนั ตามเวลาทกี่ าหนดและถูกตอ้ งทกุ ขอ้ คะแนนเต็ม 5 คะแนน

๑๑. ข้อเสนอแนะ

-

ชื่อวิชา หนา้ ท่พี ลเมืองและศลี ธรรม รหัสวชิ า 2000-1501 ท.ป.น 2-0-2
หน่วยการเรียนรูท้ ี่ 2 เรือ่ ง องค์ประกอบของศาสนา
สัปดาห์ท่ี 2 วันท่ี 28 ตุลาคม 2562 เวลา 08.15 - 10.15 น.
สาขาวชิ า ยานยนต์ ระดับชั้น ปวช.3 กลมุ่ 1-2 จานวน 33 คน

4. สาระสาคัญ
ศาสนากับลัทธิมีความแตกตา่ งกัน ในแต่ละศาสนาอาจมีความเหมือนและแตกต่างกนั ดังนั้นควรศึกษา

ให้เข้ากับองค์ประกอบของแต่ละศาสนา เพ่ือสรา้ งให้เกิดความเขา้ ใจอนั ดรี ะหว่างศาสนิกชนแต่ละศาสนา
เพราะโดยพนื้ ฐานแลว้ ทุกคนล้วนมหี ลักคาสอน ให้เป็นคนดี มคี ุณธรรม ผู้นบั ถือศาสนาทม่ี คี วามเขา้ ใจในขอ้
ปฏบิ ตั จิ ะได้รบั ประโยชน์จากการปฏิบตั ิอย่างแท้จริง

5. สมรรถนะการเรยี นรปู้ ระจาหน่วย
แสดงความรู้เกย่ี วกับองคป์ ระกอบของศาสนา

6. จุดประสงค์การเรียนรู้
พุทธิพิสยั (ความรู้) Cognitive Domain (K)
- นักเรยี นอธิบายองค์ประกอบของศาสนา
- นักเรียนอธิบายความแตกต่างระหว่างศาสนากบั ลัทธิ
- นักเรียนอธบิ ายองค์ประกอบสาคัญของศาสนาพราหมณ์–ฮินดู ศาสนาพุทธ ศาสนาคริสต์
และศาสนาอิสลาม
- นกั เรยี นอธบิ ายความเหมือนและความแตกต่างขององค์ประกอบของศาสนาพราหมณ์–
ฮนิ ดู ศาสนาพุทธ ศาสนาครสิ ต์ และศาสนาอิสลาม
ทกั ษะพสิ ัย (ทักษะ) Psychomotor Domain (P)
- นักเรยี นแสดงออกดา้ นการตรงตอ่ เวลา ความสนใจใฝ่รู้
- นกั เรยี นความซื่อสตั ย์ สุจริต ความมีน้าใจ, แบ่งบัน
- นกั เรยี นความรว่ มมือ ความมมี ารยาท
จิตพิสัย (เจตคติ) Affective Domain (A)
- นักเรยี นแสดงออกถึงความมีวนิ ยั ความซอื่ สัตยส์ จุ ริต
- นกั เรยี นความสนใจใฝร่ ู้ และความคิดริเริม่ สรา้ งสรรค์ ความมีน้าใจ ความรว่ มมือ

๔. บรู ณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
3 ห่วง

4.1 ความพอประมาณ: หมายถงึ ความพอดีทไ่ี มน่ อ้ ยเกินไปและไมม่ ากเกินไปโดยไม่เบียดเบียนตนเองและ
ผ้อู ่ืน เช่นการผลติ และการบริโภคท่ีอยูใ่ นระดบั พอประมาณ

- นักเรยี นใชเ้ วลาในการศึกษาเนอื้ หา ได้ครบทุกเนอื้ หาตามเวลาที่กาหนดได้อยา่ งเหมาะสม ไม่มากไม่
นอ้ ยเกนิ ไป

4.2 ความมีเหตุผล: หมายถึง การตดั สินใจเก่ยี วกบั ระดับของความพอเพยี งนัน้ จะต้องเป็นไปอย่างมเี หตผุ ล
โดยพจิ ารณาจากเหตปุ จั จยั ทีเ่ ก่ียวข้องตลอดจนคานงึ ถึงผลทคี่ าดว่าจะเกิดขึ้นจากการกระทานัน้ ๆ อย่าง
รอบคอบ

- นกั เรียนอธบิ ายองค์ประกอบของศาสนา ความแตกต่างระหวา่ งศาสนากับลัทธิไดค้ รบทกุ เนอ้ื หาอยา่ ง
มเี หตุผลโดยพจิ ารณาจากเหตุปจั จยั ท่ีเก่ียวขอ้ งและจดุ เดน่ ของแตล่ ะเน้ือหา
4.3 การมีภูมคิ มุ้ กนั ท่ีดใี นตัว: หมายถงึ การเตรยี มตัวให้พร้อมรับผลกระทบและการเปลย่ี นแปลงดา้ นตา่ ง ๆ
ที่จะเกิดข้ึนโดยคานงึ ถึงความเป็นไปได้ของสถานการณ์ ต่าง ๆ ที่คาดวา่ จะเกิดขน้ึ ในอนาคตทงั้ ใกล้และไกล

- นกั เรียนมคี วามรู้ และทกั ษะในการนาความร้เู กี่ยวกับความเหมือนและความแตกต่างขององคป์ ระกอบ
ของศาสนาไปประยุกตใ์ ชใ้ หเ้ กดิ ประโยชน์ในชวี ิตประจาวนั การทางานและการศึกษาต่อ
2 เงอื่ นไข
คอื การตัดสนิ ใจและการดาเนนิ กจิ กรรมตา่ ง ๆ ใหอ้ ยูใ่ นระดบั พอเพียงนั้นต้องอาศยั ทง้ั ความรู้ และคุณธรรม
เป็นพนื้ ฐาน กล่าวคือ

 เงอื่ นไขความร้:ู ประกอบดว้ ย ความรอบรู้เก่ียวกบั วชิ าการต่าง ๆ ท่เี กีย่ วข้องอย่างรอบด้าน ความ
รอบคอบท่ีจะนาความรเู้ หล่านนั้ มาพจิ ารณาให้เชอ่ื มโยงกัน เพอ่ื ประกอบการวางแผน และความ
ระมดั ระวงั ในขน้ั ปฏิบัติ

- นักเรียนมคี วามรูเ้ กี่ยวกบั ความเหมอื นและความแตกต่างขององค์ประกอบของศาสนา
 เงื่อนไขคุณธรรม: ท่ีจะตอ้ งเสริมสรา้ งประกอบด้วย มคี วามตระหนกั ในคุณธรรม มีความซ่ือสัตย์สจุ ริต

และมีความอดทน มีความเพยี ร ใช้สติปัญญาในการดาเนินชีวติ
- นกั เรียนทางานท่ีได้รับมอบหมายดว้ ยความซื่อสัตย์ สจุ ริต มคี วามอดทนและและเพียรพยายามใน
การศกึ ษาเนื้อหาเพ่ือให้เกิดประโยชน์ในชีวติ ประจาวนั
๕. คุณธรรมจรยิ ธรรม
แสดงออกถงึ ความมีวนิ ัย ความซ่ือสัตยส์ ุจรติ ความสนใจใฝ่รู้ และความคดิ ริเร่ิมสรา้ งสรรค์
6. เน้อื หาสาระ

1. องคป์ ระกอบของศาสนา
ศาสนามีองค์ประกอบคือ ศาสดา ศาสนธรรม ศาสนบุคคล ศาสนพิธีหรือพิธีกรรมทางศาสนา

ศาสนสถาน และสัญลกั ษณ์
2. ความแตกต่างระหวา่ งศาสนากับลัทธิ
ศาสนากบั ลัทธิมคี วามแตกต่างกนั ท้ังองค์ประกอบและจุดมุ่งหมายสูงสดุ
3. ศาสนาพราหมณ์–ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู เป็นศาสนาประเภทพหุนิยม แบ่งเป็นหลายนิกาย ศาสนสถาน ได้แก่

เทวาลัย โบสถ์พราหมณ์ใชส้ ญั ลักษณ์เป็นตวั อกั ษรเทวนาครี เขยี นว่าโอม หมายถงึ ตรมี รู ตหิ รอื เทพเจา้ ท้ัง 3
4. ศาสนาพุทธ
ศาสนาพุทธ เป็นศาสนาประเภทอเทวนิยมซ่ึงมีพระพุทธเจ้าเป็นศาสดา พระสงฆ์เป็นสาวก สืบ

ทอดหลักธรรมคาสอนซึ่งรวบรวมไว้ในคัมภีร์พระไตรปิฎก เป้าหมายสูงสุดของศาสนา คือนิพพาน สัญลักษณ์
คือ ธรรมจักร

5. ศาสนาครสิ ต์
ศาสนาคริสต์เป็นศาสนาประเภทเอกเทวนิยม พระเยซูเป็นศาสดา พระคัมภีร์สาคัญ คือ พระ

คมั ภรี ์ไบเบิล จดุ หมายสูงสดุ คือการอยู่ในอาณาจักรของพระเจา้ สญั ลกั ษณเ์ ปน็ รปู ไม้กางเขน

6. ศาสนาอสิ ลาม
ศาสนาอิสลาม เป็นศาสนาประเภทเอกเทวนิยม นับถือพระเจ้าองค์เดียวคือ พระอัลเลาะห์

ศาสดาแห่งศาสนาอิสลาม คือ ท่านนบีมุฮัมมัด เป็นศาสนทูตองค์สุดท้าย คัมภีร์สาคัญที่รวบรวมคาสอน คือ
คัมภีร์อัลกุรอาน จุดมุ่งหมายสูงสุดคือการอยู่ร่วมในอาณาจักรพระเจ้า ศาสนาอิสลามไม่มีนักบวช สถานท่ี
ประกอบพธิ กี ารทางศาสนาไดแ้ ก่มัสยิด สเุ หรา่ สญั ลกั ษณ์เป็นรปู พระจันทรเ์ สี้ยวกบั ดาว

7. กิจกรรมการเรียนรู้
ขน้ั นาเขา้ สบู่ ทเรียน
1.ครขู านช่ือนักเรียน
2.ครใู ห้นักเรยี นนั่งสมาธิ หลงั จากน้ันทาแบบทดสอบกอ่ นเรยี น (Pre-test)
3.ขนั้ นา ครูนาเขา้ สู่บทเรยี นด้วยการสนทนา การซักถาม การดรู ูปภาพ ทเ่ี ก่ยี วข้องกับเน้ือหาบทเรียน
ข้ันสอน
4.ครูอธบิ ายหวั ข้อเรื่อง และแบง่ กลมุ่ นกั เรยี นเป็น 4 กลุ่ม ศกึ ษาค้นควา้ 1 หัวข้อคือ องค์ประกอบ
ของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ศาสนาพุทธ ศาสนาครสิ ต์ หรอื ศาสนาอสิ ลาม ตวั แทนแต่ละกลุม่ นาเสนอ
ผลงานหนา้ ชั้นเรยี น
5. นักเรียนอภปิ รายร่วมกันในประเดน็ องค์ประกอบของศาสนา
6. ครูให้นกั เรียนทาแบบฝกึ หัดหนว่ ยที่ 2 หลังนักเรียนทาเสรจ็ แลว้ เฉลยแบบฝกึ หดั และให้ทา
แบบทดสอบหลังเรียน (Post-test) หน่วยที่ 2
ข้ันสรุป
7. ครูและนกั เรยี นช่วยกันสรุปเนื้อหาบทเรียน ครเู พม่ิ ในส่วนท่ียังไม่ครอบคลมุ

8. สื่อการเรียนรู้ (หลากหลาย)
1. สือ่ การเรียนรู้ หนงั สือเรียนวิชาหน้าท่พี ลเมืองและศีลธรรม หน่วยท่ี 2, PowerPoint ประกอบการ

สอน และแบบทดสอบกอ่ นเรียน และหลังเรยี น
2. แหล่งการเรียนรู้ หนังสือ วารสารเก่ียวกับหน้าทพี่ ลเมืองและศลี ธรรม อนิ เทอรเ์ น็ต

การวัดผลและประเมนิ ผล

การวัดผล การประเมินผล

(ใชเ้ ครื่องมือ) (นาผลเทยี บกับเกณฑ์และแปลความหมาย)

1. แบบทดสอบก่อนเรียน (Pre-test) หนว่ ยที่ 2 (ไวเ้ ปรยี บเทยี บกบั คะแนนสอบหลงั เรียน)

2. แบบสงั เกตการทางานกลุ่มและการนาเสนอผลงานกล่มุ เกณฑผ์ ่าน 50%

3. แบบฝึกหดั หน่วยท่ี 2 เกณฑ์ผา่ น 50%

4. แบบทดสอบหลังเรยี น (Post-test) หน่วยท่ี 2 เกณฑ์ผ่าน 50%

5. แบบประเมินคุณธรรม จรยิ ธรรม ตามสภาพจรงิ เกณฑ์ผ่าน 50%

๑๐. เกณฑ์การประเมินผล
นกั เรียนส่งทันตามเวลาที่กาหนดและถูกต้องทุกขอ้ คะแนนเตม็ 5 คะแนน

๑๑. ข้อเสนอแนะ

-

ชอ่ื วิชา หน้าท่ีพลเมืองและศลี ธรรม รหสั วิชา 2000-1501 ท.ป.น 2-0-2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เร่ือง หลักธรรมคมั ภีรข์ องศาสนา
สปั ดาห์ที่ 3-4 วันท่ี 4 , 11 พฤศจกิ ายน 2562 เวลา 08.15 - 10.15 น.
สาขาวชิ า ยานยนต์ ระดับชนั้ ปวช.3 กลมุ่ 1 - 2 จานวน 33 คน

1. สาระสาคัญ
พระคมั ภรี ม์ ีความสาคญั เพราะได้รวบรวมหลักธรรมคาสอนของศาสนาไว้ ดงั นั้นการศกึ ษาหลกั ธรรม

คาสอนท่ีมีปรากฏในพระคัมภีร์ จะทาเกิดความรู้ ความเข้าใจ และสามารถน้อมนาเอาหลักธรรมคาสอนมา
ปฏบิ ตั ิ เพ่ือประโยชนแ์ ละสังคมโดยธรรม

2. สมรรถนะการเรียนรปู้ ระจาหนว่ ย
แสดงความรเู้ ก่ียวกับหลกั ธรรมคมั ภีรข์ องศาสนา

3. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้
พุทธพิ ิสัย (ความรู้) Cognitive Domain (K)
- นักเรียนอธบิ ายเกยี่ วกบั คัมภรี ส์ าคัญของแต่ละศาสนา
- นักเรยี นอธบิ ายหลักธรรมสาคัญของแต่ละศาสนา
ทกั ษะพิสัย (ทกั ษะ) Psychomotor Domain (P)
- นกั เรยี นปฏิบัติตามหลักธรรมและข้อคิดจากพทุ ธศาสนสุภาษติ ตามความสามารถของตน
- นกั เรยี นประยกุ ตใ์ ช้ความร้เู กยี่ วกับเก่ยี วกบั คัมภรี ส์ าคัญของแต่ละศาสนา
จติ พิสัย (เจตคต)ิ Affective Domain (A)
- นกั เรียนแสดงออกถงึ ความมวี นิ ยั ความซื่อสตั ยส์ จุ ริต การตรงต่อเวลา ความขยนั อดทน
- นักเรยี นความสนใจใฝร่ ู้ และความคดิ รเิ ร่ิมสรา้ งสรรค์

๔. บูรณาการหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
3 ห่วง

4.1 ความพอประมาณ: หมายถงึ ความพอดีทไ่ี มน่ อ้ ยเกินไปและไม่มากเกินไปโดยไม่เบียดเบียนตนเองและ
ผอู้ ืน่ เช่นการผลิตและการบรโิ ภคที่อยูใ่ นระดับพอประมาณ

- นกั เรยี นใชเ้ วลาในการศึกษาเน้อื หา ได้ครบทกุ เน้ือหาตามเวลาทก่ี าหนดได้อย่างเหมาะสม ไม่มากไม่
นอ้ ยเกินไป
4.2 ความมีเหตผุ ล: หมายถึง การตดั สินใจเกย่ี วกับระดบั ของความพอเพยี งน้ัน จะต้องเปน็ ไปอย่างมีเหตุผล
โดยพิจารณาจากเหตปุ จั จยั ทเ่ี กี่ยวขอ้ งตลอดจนคานึงถงึ ผลทีค่ าดว่าจะเกิดขึน้ จากการกระทานนั้ ๆ อย่าง
รอบคอบ

- นักเรยี นอธิบายประโยชน์หรอื คณุ ค่าที่จะได้รับจากการปฏิบัติตามหลกั ธรรมได้ครบทุกเนอ้ื หาอยา่ งมี
เหตุผลโดยพิจารณาจากเหตปุ ัจจยั ทเ่ี ก่ียวข้องและจดุ เด่นของแตล่ ะเน้ือหา

4.3 การมีภูมิคมุ้ กนั ทดี่ ใี นตัว: หมายถงึ การเตรียมตวั ให้พรอ้ มรบั ผลกระทบและการเปล่ยี นแปลงดา้ นตา่ ง ๆ
ทจี่ ะเกิดข้นึ โดยคานึงถึงความเป็นไปได้ของสถานการณ์ ต่าง ๆ ทีค่ าดว่าจะเกดิ ขึ้นในอนาคตทง้ั ใกล้และไกล

- นกั เรยี นมคี วามรู้ และทักษะในการนาความร้เู ก่ยี วกับหลกั ธรรมไปประยุกต์ใช้ใหเ้ กดิ ประโยชนใ์ น
ชวี ิตประจาวัน การทางานและการศกึ ษาต่อ

2 เงื่อนไข
คอื การตัดสนิ ใจและการดาเนนิ กจิ กรรมต่าง ๆ ให้อยใู่ นระดับพอเพียงนัน้ ต้องอาศัยทัง้ ความรู้ และคณุ ธรรม
เปน็ พนื้ ฐาน กล่าวคือ

 เงอ่ื นไขความร้:ู ประกอบด้วย ความรอบรเู้ กี่ยวกับวิชาการตา่ ง ๆ ท่เี กย่ี วข้องอย่างรอบด้าน ความ
รอบคอบทจ่ี ะนาความรู้เหล่านนั้ มาพจิ ารณาให้เชอ่ื มโยงกัน เพือ่ ประกอบการวางแผน และความ
ระมัดระวังในขั้นปฏิบัติ

- นักเรียนมีความรู้เก่ยี วกบั แนวทางการนาหลักธรรมและขอ้ คิดจากหลักธรรมไปปฏบิ ัติในชวี ติ ประจาวัน
 เงอื่ นไขคุณธรรม: ท่จี ะตอ้ งเสริมสร้างประกอบดว้ ย มคี วามตระหนักในคณุ ธรรม มีความซือ่ สัตย์สุจริต

และมีความอดทน มคี วามเพียร ใชส้ ตปิ ญั ญาในการดาเนินชีวติ
- นักเรยี นทางานท่ีไดร้ บั มอบหมายด้วยความซื่อสัตย์ สุจรติ มีความอดทนและและเพียรพยายามใน
การศกึ ษาเนื้อหาเพื่อใหเ้ กดิ ประโยชน์ในชีวติ ประจาวัน
๕. คุณธรรมจรยิ ธรรม
แสดงออกถึงความมวี ินัย ความซ่อื สตั ยส์ จุ ริต ความสนใจใฝ่รู้ และความคดิ รเิ ร่ิมสร้างสรรค์
6. เนอื้ หาสาระ
ทกุ ศาสนามีคมั ภีร์สาคัญสงู สุดซ่งึ รวบรวมหลักธรรมคาสอนของศาสนา ศาสนาพราหมณ์-ฮินดมู คี มั ภีรพ์ ระเวท
(ศรตุ ิ) ต่อมามีการเพ่ิมเติมภายหลังเรยี กวา่ สมฤติ หลักคาสอนสาคัญ ได้แก่ อาศรม 4 เป็นขนั้ ตอนการดาเนนิ
ชวี ิตตามชว่ งวัยเพื่อการบรรลุเป้าหมายสูงสดุ คือ โมกษะ แบ่งเปน็ 4 ช่วงวัย คอื พรหมจรรย์ คฤหัสถ์ วานปรัสถ์
และสันยาสี ส่วนปรุ ษุ ารถะ 4 เปน็ หลักธรรมเพ่อื การทาตนให้เป็นประโยชน์อนั เปน็ จุดมุ่งหมายของชีวติ คอื
อรรถะ กามะ ธรรมะ และโมกษะ

ศาสนาพุทธมีพระคมั ภรี ์สาคัญชื่อว่า พระไตรปฎิ ก รวบรวมคาสอนต่างๆแบ่งเป็น 3 หมวดหมู่ คือพระ
วินัยปิฎก พระสุตตนั ตปิฎก และพระอภิธมั มปฎิ ก ตัวอย่างหลกั ธรรมสาคญั เช่น อรยิ สจั 4 มรรค 8 ไตรสิกขา
ไตรลกั ษณ์ เปน็ ต้น

ศาสนาครสิ ต์ พระคัมภีรห์ ลักคอื พระคมั ภีรไ์ บเบิล มีคาสอนสาคญั ได้แก่ บญั ญตั ิ 10 ประการ บาป
กาเนิด หลกั ตรีเอกานุภาพ ซง่ึ หมายถึง พระบิดา พระบุตร และพระจติ เป็นพระเจ้าองคเ์ ดยี วกันแต่แบ่งเปน็ 3
ภาค รวมถงึ หลักคาสอนเรอ่ื งความรักเปน็ ต้น

ศาสนาอสิ ลามมคี มั ภีร์สาคญั 4 คัมภีร์ คือ เตารอต อนิ ญลี ซะบรูและอลั กรุ อาน หลกั ธรรมสาคญั เชน่
หลักศรทั ธา 6 หลกั ปฏบิ ัติการ 5 เปน็ ต้น

7. กิจกรรมการเรยี นรู้ (สัปดาห์ท่ี 3)
ขัน้ นาเข้าสูบ่ ทเรยี น
1. ครูขานช่อื นกั เรยี น
2. ครูใหน้ ักเรียนนง่ั สมาธิ หลงั จากน้ันทาแบบทดสอบก่อนเรยี น (Pre-test)
3. ขน้ั นา ครูนาเขา้ สบู่ ทเรยี นด้วยการสนทนา การซักถาม การดูรปู ภาพท่เี กย่ี วข้องกบั เน้ือหาบทเรียน

ขัน้ สอน
4. นกั เรยี นแบง่ ออกเปน็ 4 กลมุ่ ศกึ ษาค้นคว้าในหวั ข้อหลักธรรมคมั ภรี ข์ องศาสนาพราหมณ์-ฮนิ ดู 2
กลมุ่ และศาสนาพุทธ 2 กลุม่
5. นักเรยี นอภิปรายร่วมกนั ในประเด็นคุณค่าหลักธรรมคัมภีร์ของศาสนา
6. ครูใหน้ กั เรยี นทาแบบฝึกหัดหนว่ ยท่ี 3 (ข้อ 1-6) หลังนกั เรียนทาเสรจ็ แล้วเฉลยแบบฝกึ หดั
ขั้นสรปุ
7. ครแู ละนักเรยี นช่วยกันสรปุ เนอ้ื หาบทเรียน ครูเพิม่ ในส่วนทีย่ งั ไมค่ รอบคลุม

กจิ กรรมการเรียนรู้ (สัปดาห์ที่ 4)
ขั้นนาเขา้ สู่บทเรียน
1. ครูขานชอ่ื นักเรยี น
2. ข้นั นา ครนู าเขา้ ส่บู ทเรียนด้วยการสนทนา การซักถาม การดูรูปภาพ ท่เี กีย่ วข้องกบั เน้อื หา

บทเรยี นและทบทวนเนอ้ื หาก่อน
ข้ันสอน
3. ขัน้ สอน นกั เรยี นแบง่ ออกเปน็ 4 กลมุ่ ศึกษาคน้ คว้าในหัวขอ้ หลกั ธรรมคัมภรี ์ของศาสนาคริสต์ 2

กล่มุ และศาสนาอสิ ลาม 2 กล่มุ และส่งตวั แทนแตล่ ะกลมุ่ นาเสนอผลงานกลุ่มหนา้ ช้ันเรียน
4. นกั เรยี นอภปิ รายร่วมกันในประเด็นคุณค่าหลกั ธรรมคัมภีร์ของศาสนา
5. ครใู หน้ ักเรยี นทาแบบฝกึ หัดหน่วยท่ี 3 (ขอ้ 7-10) หลังนกั เรยี นทาเสรจ็ แล้วเฉลยแบบฝกึ หดั
ขั้นสรปุ
6. ขั้นสรปุ ครูและนกั เรยี นช่วยกันสรปุ เนอ้ื หาบทเรียน ครูเพมิ่ ในสว่ นท่ียัง ไมค่ รอบคลุม
7. ครใู ห้นกั เรียนทาแบบทดสอบหลงั เรียน (Post-test) หนว่ ยที่ 3

8. ส่อื การเรียนรู้ (หลากหลาย)
1. ส่อื การเรียนรู้ หนังสือเรยี นวชิ าหนา้ ทีพ่ ลเมืองและศลี ธรรม หนว่ ยท่ี 3, PowerPoint ประกอบการ

สอน และแบบทดสอบกอ่ นเรียน และหลังเรยี น
2. แหลง่ การเรยี นรู้ หนังสือ วารสารเก่ียวกับหนา้ ท่ีพลเมอื งและศลี ธรรม อินเทอรเ์ น็ต

การวัดผลและประเมินผล

การวัดผล การประเมนิ ผล

(ใช้เครื่องมอื ) (นาผลเทยี บกบั เกณฑ์และแปลความหมาย)

1. แบบทดสอบก่อนเรยี น (Pre-test) หน่วยที่ 3 (ไวเ้ ปรยี บเทยี บกับคะแนนสอบหลงั เรียน)

2. แบบสังเกตการทางานกลุ่มและการนาเสนอผลงานกลุ่ม เกณฑผ์ ่าน 50%

3. แบบฝึกหัดหน่วยที่ 3 เกณฑ์ผา่ น 50%

4. แบบทดสอบหลงั เรียน (Post-test) หนว่ ยที่ 3 เกณฑผ์ ่าน 50%

5. แบบประเมนิ คุณธรรม จรยิ ธรรม ตามสภาพจริง เกณฑ์ผ่าน 50%

๑๐. เกณฑ์การประเมนิ ผล
นักเรียนสง่ ทนั ตามเวลาท่กี าหนดและถูกตอ้ งทกุ ขอ้ คะแนนเตม็ 10 คะแนน

๑๑. ข้อเสนอแนะ

-

ชือ่ วิชา หนา้ ทีพ่ ลเมอื งและศลี ธรรม รหสั วิชา 2000-1501 ท.ป.น 2-0-2
หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 4 เร่อื ง พุทธธรรมเพื่อชีวติ และสงั คม
สปั ดาหท์ ่ี 5-6 วันท่ี 18 , 25 พฤศจิกายน 2562 เวลา 08.15 - 10.15 น.
สาขาวชิ า ยานยนต์ ระดบั ช้ัน ปวช.3 กลมุ่ 1 - 2 จานวน 33 คน

1. สาระสาคัญ
พุทธศาสนิกชนที่ดมี ีหนา้ ท่ีสาคัญ ในการศึกษาหลักธรรม เพื่อใหเ้ กิดความเข้าใจใช้เป็นเครอ่ื งนาทางใน

การดาเนินชวี ติ หลกั พุทะธรรมเป็นหวั ใจของพระพุทธศาสนา มคี ณุ ค่าต่อชีวิตและสังคมโดยรวม ผู้ปฏิบัตยิ ่อม
ได้รับผลจากการปฏิบัติดังนี้ หลักพทุ ธธรรมมีมากและแยกเป็นหมวดหมู่ ครอบคลุมทัง้ เรื่องพ้ืนฐานการดาเนิน
ชีวิต การอยู่รว่ มกันในสังคม จนถงึ หลักธรรมขน้ั สูงซึง่ มจี ุดมงุ่ หมายสงู สดุ คือ นิพพาน ดังนั้นชาวพทุ ธพึงน้อมนา
เลอื กมาปฏบิ ตั ิให้เหมาะสมกับตนเอง

2. สมรรถนะการเรียนรปู้ ระจาหนว่ ย
แสดงความรเู้ ก่ยี วกบั พุทธธรรมเพื่อชวี ิตและสังคม

3. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
พุทธพิ ิสัย (ความรู้) Cognitive Domain (K)
- นักเรยี นอธบิ ายหลกั พุทธธรรม
- นักเรยี นอธิบายประโยชน์หรอื คุณคา่ ท่จี ะได้รับจากการปฏิบตั ติ ามหลกั ธรรม
- นกั เรยี นอธบิ ายแนวทางการนาหลักธรรมและข้อคดิ จากพุทธศาสนสภุ าษิตไปปฏบิ ตั ิใน
ชีวติ ประจาวัน
ทกั ษะพิสัย (ทักษะ) Psychomotor Domain (P)
- นักเรยี นปฏบิ ัตติ ามหลักธรรมและข้อคิดจากพทุ ธศาสนสภุ าษติ ตามความสามารถของตน
- นักเรียนประยุกต์ใชค้ วามร้เู ก่ยี วกบั พทุ ธธรรมเพ่ือชีวิตและสงั คม
จิตพสิ ัย (เจตคต)ิ Affective Domain (A)
- นักเรียนแสดงออกถงึ ความมีวินัย ความซ่อื สตั ยส์ ุจริต การตรงต่อเวลา ความขยนั อดทน
- นกั เรยี นความสนใจใฝ่รู้ และความคดิ ริเร่มิ สรา้ งสรรค์

๔. บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
3 ห่วง

4.1 ความพอประมาณ: หมายถงึ ความพอดีท่ีไม่นอ้ ยเกินไปและไมม่ ากเกนิ ไปโดยไม่เบียดเบยี นตนเองและ
ผูอ้ ่นื เช่นการผลติ และการบริโภคทีอ่ ยูใ่ นระดบั พอประมาณ

- นักเรยี นใชเ้ วลาในการศึกษาเนือ้ หา ได้ครบทุกเน้ือหาตามเวลาท่กี าหนดได้อย่างเหมาะสม ไม่มากไม่
นอ้ ยเกนิ ไป

4.2 ความมเี หตุผล: หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกบั ระดับของความพอเพียงนน้ั จะต้องเป็นไปอย่างมีเหตผุ ล
โดยพจิ ารณาจากเหตุปจั จัยทเ่ี กย่ี วข้องตลอดจนคานึงถงึ ผลท่ีคาดว่าจะเกดิ ขนึ้ จากการกระทานน้ั ๆ อย่าง
รอบคอบ

- นักเรียนอธบิ ายประโยชนห์ รอื คุณคา่ ท่จี ะได้รับจากการปฏบิ ัตติ ามหลกั ธรรมได้ครบทุกเนอ้ื หาอย่างมี
เหตุผลโดยพิจารณาจากเหตุปัจจยั ท่ีเกี่ยวขอ้ งและจุดเดน่ ของแต่ละเนื้อหา
4.3 การมีภูมิคุ้มกนั ทด่ี ีในตัว: หมายถึง การเตรยี มตัวให้พรอ้ มรับผลกระทบและการเปล่ียนแปลงดา้ นตา่ ง ๆ
ทจี่ ะเกิดขนึ้ โดยคานึงถึงความเปน็ ไปได้ของสถานการณ์ ตา่ ง ๆ ท่คี าดว่าจะเกดิ ขึน้ ในอนาคตทั้งใกล้และไกล

- นกั เรียนมคี วามรู้ และทักษะในการนาความรู้เก่ียวกบั หลักพุทธธรรมไปประยุกต์ใช้ใหเ้ กิดประโยชนใ์ น
ชวี ติ ประจาวนั การทางานและการศกึ ษาตอ่

2 เงือ่ นไข
คือ การตัดสินใจและการดาเนนิ กิจกรรมต่าง ๆ ให้อยู่ในระดับพอเพยี งน้ันต้องอาศยั ทง้ั ความรู้ และคณุ ธรรม
เป็นพน้ื ฐาน กล่าวคือ

 เงื่อนไขความรู:้ ประกอบด้วย ความรอบรเู้ กีย่ วกบั วชิ าการต่าง ๆ ท่ีเกี่ยวข้องอย่างรอบด้าน ความ
รอบคอบที่จะนาความรู้เหล่านนั้ มาพจิ ารณาให้เช่อื มโยงกนั เพ่ือประกอบการวางแผน และความ
ระมดั ระวงั ในข้ันปฏบิ ตั ิ

- นักเรียนมคี วามรเู้ กีย่ วกับแนวทางการนาหลักธรรมและข้อคิดจากพุทธศาสนสภุ าษติ ไปปฏิบตั ใิ น
ชีวติ ประจาวัน

 เงอ่ื นไขคุณธรรม: ทีจ่ ะตอ้ งเสรมิ สรา้ งประกอบดว้ ย มคี วามตระหนกั ในคุณธรรม มีความซื่อสัตยส์ ุจรติ
และมีความอดทน มีความเพียร ใชส้ ติปญั ญาในการดาเนินชีวติ

- นกั เรยี นทางานที่ไดร้ ับมอบหมายด้วยความซื่อสัตย์ สุจริต มีความอดทนและและเพยี รพยายามใน
การศกึ ษาเนื้อหาเพ่ือใหเ้ กดิ ประโยชนใ์ นชวี ติ ประจาวนั
๕. คุณธรรมจริยธรรม
แสดงออกถึงความมีวินัย ความซื่อสัตย์สุจรติ ความสนใจใฝ่รู้ และความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์
6. เนอ้ื หาสาระ
เบญจศลี เป็นข้อควรละเว้น 5 ประการ เบญจธรรม เป็นควรปฏบิ ตั ิ 5 ประการ ผปู้ ฏบิ ตั ยิ อ่ มได้รับ
ผลประโยชนโ์ ดยตรง และยอ่ มเกดิ ผลดตี อ่ สังคมโดยธรรม

อทิ ธิบาท 4 เปน็ หลักธรรมมงุ่ ใหผ้ ู้ปฏบิ ตั ปิ ระสบความสาเรจ็ ท้ังดา้ นการเรียน การทางาน ประกอบ
อาชพี ประกอบ ฉนั ทะ วิริยะ จติ ตะ วมิ งั สา

โลกธรรม 8 เปน็ หลักธรรมทีช่ ่วยเตือนสติมนุษย์ ให้เขา้ ใจธรรมดาของโลก 8 ประการ ได้แก่ ไดล้ าภ
เลอื่ มลาภ ไดย้ ศ เลื่อมยศ สรรเสรญิ นินทา สขุ ทุกข์

พละ 4 เปน็ หลักธรรมทช่ี ่วยให้ผปู้ ฏิบตั เิ กิดพลังในการดาเนินชวี ิตไดแ้ ก่ พละปัญญา วิรยิ ะพละ
อนวชั ชพละ และสงั คหพละ

มงคลชวี ิต : ความไมป่ ระมาทในธรรม ช่วยใหม้ นษุ ยม์ สี ติไม่ตง้ั อย่ใู นความประมาทใน เวลา วัยความไม่
มโี รค ชวี ิต งาน การศึกาและการปฏบิ ัติ

กศุ ลกรรมบถ 10 เปน็ ทางแห่งการทาดี คอื ทางกาย 3 ทางวาจา 4 และทางใจ 3
พุทธศาสนสภุ าษิต เปน็ คากล่าวทด่ี งี าม คาสอนในพระพทุ ธศาสนาทมี่ ุ่งใหค้ ติสอนใจให้ชาวพุทธนาไป
เปน็ หลกั ในการประพฤติปฏิบัติ

7. กจิ กรรมการเรียนรู้ (สปั ดาหท์ ี่ 5)
ขน้ั นาเข้าส่บู ทเรียน
1. ครขู านชอื่ นกั เรียน
2. ครใู หน้ ักเรยี นน่งั สมาธิ หลังจากนน้ั ทาแบบทดสอบก่อนเรียน (Pre-test)
3. ข้ันนา ครนู าเขา้ สบู่ ทเรยี นด้วยการสนทนา การซักถาม การดูรูปภาพทเ่ี กี่ยวข้องกับเน้ือหาบทเรียน
ข้นั สอน
4. ขั้นสอน แบ่งกลุ่มนักเรียนเปน็ 7 กลุม่ ศึกษาคน้ ควา้ ตามหวั ขอ้ หลกั ธรรม กลมุ่ ล่ะ 1 เรอื่ ง
อภิปรายประโยชนห์ รอื คุณค่าที่จะไดร้ ับจากการปฏิบัตติ ามหลักธรรม และสง่ ตัวแทนกลุ่มนาเสนอ
ผลงานหน้าชน้ั เรียน
5. นักเรียนอภปิ รายร่วมกันในประเดน็ พุทธธรรมเพ่ือชวี ติ และสังคม
6. ครูให้นกั เรยี นทาแบบฝกึ หัดหน่วยท่ี 4 (ข้อ 1-5) หลงั นกั เรยี นทาเสรจ็ แลว้ เฉลยแบบฝึกหดั
ขนั้ สรปุ
7. ครแู ละนักเรยี นช่วยกนั สรปุ เน้ือหาบทเรยี น ครูเพมิ่ ในส่วนที่ยงั ไมค่ รอบคลุม

กจิ กรรมการเรียนรู้ (สปั ดาห์ที่ 6)
ขั้นนาเข้าสบู่ ทเรยี น
1. ครูขานชือ่ นักเรยี น
2. ข้ันนา ครูนาเขา้ สบู่ ทเรียนด้วยการสนทนา การซักถาม การดรู ปู ภาพทีเ่ กี่ยวข้องกับเนื้อหาบทเรยี น
และทบทวนเน้ือหาก่อน
ขน้ั สอน
3. ขั้นสอน นกั เรยี นแบง่ กลุ่มเป็น 5 กลุ่ม ทากจิ กรรมปฏบิ ัติ : เวลาชวี ติ อภปิ รายกลุม่ ย่อย และส่ง
ตัวแทนกลุม่ นาเสนอผลงานกลุ่มหนา้ ชั้นเรียน
4. นักเรียนชมวดี ีทัศน์เร่ือง ช่างก้อมชีวิตซอ้ มได้ ใหน้ ักเรียนเขียนประเด็นสาคญั และข้อคดิ ที่ได้จาก
เร่อื ง ครูสุม่ เลือกนักเรียนพูดนาเสนอหนา้ ช้นั เรยี น 3-5 คน
5. ครใู หน้ ักเรียนทาแบบฝึกหัดหนว่ ยที่ 4 (ข้อ 6-10) หลงั นกั เรยี นทาเสร็จแลว้ เฉลยแบบฝกึ หดั
ขั้นสรปุ
6. ข้นั สรปุ ครูและนักเรยี นช่วยกันสรุปเน้ือหาบทเรยี น ครเู พ่ิมในสว่ นทย่ี งั ไม่ครอบคลุม
7. ครใู ห้นกั เรยี นทาแบบทดสอบหลังเรียน (Post-test) หน่วยที่ 4

8. สื่อการเรียนรู้ (หลากหลาย)
1. ส่อื การเรยี นรู้ หนังสอื เรียนวิชาหนา้ ที่พลเมอื งและศลี ธรรม หน่วยที่ 4, PowerPoint ประกอบการ

สอน และแบบทดสอบก่อนเรียน และหลงั เรยี น
2. แหลง่ การเรยี นรู้ หนังสอื วารสารเก่ียวกับหน้าทีพ่ ลเมืองและศีลธรรม อินเทอร์เน็ต

การวัดผลและประเมนิ ผล

การวดั ผล การประเมินผล

(ใช้เครอื่ งมอื ) (นาผลเทยี บกับเกณฑแ์ ละแปลความหมาย)

1. แบบทดสอบก่อนเรียน (Pre-test) หน่วยที่ 4 (ไว้เปรยี บเทียบกับคะแนนสอบหลงั เรยี น)

2. แบบสงั เกตการทางานกลุ่มและการนาเสนอผลงานกลุ่ม เกณฑ์ผ่าน 50%

3. แบบฝึกหดั หน่วยที่ 4 เกณฑ์ผ่าน 50%

4. แบบทดสอบหลังเรียน (Post-test) หน่วยที่ 4 เกณฑ์ผ่าน 50%

5. แบบประเมนิ คุณธรรม จรยิ ธรรม ตามสภาพจรงิ เกณฑ์ผ่าน 50%

๑๐. เกณฑก์ ารประเมินผล
นักเรยี นส่งทนั ตามเวลาท่ีกาหนดและถูกตอ้ งทุกขอ้ คะแนนเต็ม 10 คะแนน

๑๑. ข้อเสนอแนะ

-

ชื่อวิชา หน้าท่ีพลเมอื งและศีลธรรม รหัสวิชา 2000-1501 ท.ป.น 2-0-2
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 5 เร่อื ง ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงกบั การพัฒนาคุณภาพชีวติ
สปั ดาห์ท่ี 7-8 วนั ที่ 2 , 9 ธันวาคม 2562 เวลา 08.15 - 10.15 น.
สาขาวิชา ยานยนต์ ระดับชน้ั ปวช.3 กลมุ่ 1-2 จานวน 33 คน

1. สาระสาคัญ
แนวทางการดาเนินชวี ติ ตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง ซงึ่ นายหลวงได้พระราชทานแนว

พระราชดาริแก่พสกนกิ รชาวไทย นบั วา่ มคี ุณค่าต่อสังคมไทยมาก มีความสอดคล้องกับหลกั ธรรมคาสอนของ
พระพทุ ธศาสนา หากนามาประพฤตปิ ฏบิ ัติจะเปน็ การพฒั นาคุณภาพชีวติ ที่ดีข้ึนได้อยา่ งแน่นอน

2. สมรรถนะการเรียนรูป้ ระจาหนว่ ย
แสดงความรู้เกี่ยวกับปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งกับการพัฒนาคณุ ภาพชีวิต

3. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้
พทุ ธิพสิ ัย (ความรู้) Cognitive Domain (K)
- นกั เรียนอธบิ ายความสาคัญของปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
- นักเรยี นอธิบายกรอบแนวคิดของปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
- นกั เรียนอธบิ ายแนวทางการพฒั นาคณุ ภาพชีวิตตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
- นกั เรียนอธิบายหลักธรรมทางพระพุทธศาสนากบั การพฒั นาคณุ ภาพชวี ิตดว้ ยวถิ ีแห่งความ
พอเพียง
- นักเรยี นวเิ คราะหค์ ุณคา่ และประโยชน์ทีจ่ ะไดร้ ับจากการดาเนนิ ชีวิตตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพยี ง
ทกั ษะพสิ ัย (ทักษะ) Psychomotor Domain (P)
- นกั เรียนแสดงออกด้านการตรงตอ่ เวลา ความสนใจใฝร่ ู้
- นกั เรยี นความซ่ือสตั ย์ สจุ รติ ความมีน้าใจ, แบ่งบนั
- นกั เรียนความรว่ มมือ ความมีมารยาท
จิตพสิ ัย (เจตคติ) Affective Domain (A)
- นกั เรยี นแสดงออกถึงความมีวินยั ความซอ่ื สัตย์สุจรติ
- นกั เรียนความสนใจใฝร่ ู้ และความคดิ รเิ ร่ิมสร้างสรรค์

๔. บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
3 ห่วง

4.1 ความพอประมาณ: หมายถึง ความพอดีท่ีไม่นอ้ ยเกินไปและไม่มากเกินไปโดยไมเ่ บียดเบยี นตนเองและ
ผู้อ่นื เช่นการผลิตและการบริโภคทอ่ี ยูใ่ นระดบั พอประมาณ

- นักเรียนใชเ้ วลาในการศกึ ษาเน้ือหา ได้ครบทกุ เนื้อหาตามเวลาทกี่ าหนดได้อยา่ งเหมาะสม ไมม่ ากไม่
นอ้ ยเกนิ ไป

4.2 ความมีเหตผุ ล: หมายถึง การตดั สินใจเกยี่ วกับระดบั ของความพอเพยี งน้นั จะต้องเปน็ ไปอยา่ งมเี หตผุ ล
โดยพจิ ารณาจากเหตปุ จั จัยทีเ่ กยี่ วขอ้ งตลอดจนคานงึ ถงึ ผลทค่ี าดวา่ จะเกิดขนึ้ จากการกระทานัน้ ๆ อย่าง
รอบคอบ

- นักเรยี นอธบิ ายความสาคัญของปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งได้ครบทุกเนอ้ื หาอย่างมเี หตผุ ลโดย
พิจารณาจากเหตุปจั จัยทเี่ กี่ยวขอ้ งและจุดเด่นของแต่ละเน้ือหา
4.3 การมภี มู ิคุ้มกันทด่ี ใี นตัว: หมายถึง การเตรยี มตัวให้พรอ้ มรบั ผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงด้านต่าง ๆ
ท่ีจะเกิดข้นึ โดยคานงึ ถงึ ความเปน็ ไปได้ของสถานการณ์ ต่าง ๆ ทค่ี าดวา่ จะเกิดขึ้นในอนาคตทัง้ ใกลแ้ ละไกล

- นักเรียนมคี วามรู้ และทักษะในการนาความรู้เกี่ยวกับวิเคราะหค์ ุณคา่ และประโยชนท์ จ่ี ะได้รบั จากการ
ดาเนินชวี ิตตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกตใ์ ชใ้ ห้เกิดประโยชน์ในชวี ติ ประจาวัน
การทางานและการศึกษาต่อ

2 เง่ือนไข
คอื การตัดสนิ ใจและการดาเนนิ กจิ กรรมตา่ ง ๆ ใหอ้ ยูใ่ นระดบั พอเพยี งนั้นต้องอาศัยทง้ั ความรู้ และคณุ ธรรม
เป็นพื้นฐาน กล่าวคือ

 เงอื่ นไขความร้:ู ประกอบดว้ ย ความรอบร้เู กี่ยวกบั วชิ าการต่าง ๆ ท่เี กีย่ วข้องอยา่ งรอบด้าน ความ
รอบคอบทีจ่ ะนาความรเู้ หลา่ น้ันมาพจิ ารณาให้เชอ่ื มโยงกัน เพือ่ ประกอบการวางแผน และความ
ระมัดระวังในขน้ั ปฏบิ ตั ิ

- นักเรียนมีความรเู้ กย่ี วกับแนวทางการพัฒนาคุณภาพชวี ติ ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
 เงื่อนไขคณุ ธรรม: ทจ่ี ะต้องเสริมสร้างประกอบด้วย มคี วามตระหนกั ในคุณธรรม มีความซ่ือสัตยส์ ุจรติ

และมีความอดทน มคี วามเพียร ใชส้ ตปิ ัญญาในการดาเนินชีวติ
- นักเรียนทางานที่ได้รับมอบหมายดว้ ยความซ่ือสัตย์ สจุ ริต มีความอดทนและและเพียรพยายามใน
การศึกษาเนื้อหาเพื่อให้เกดิ ประโยชนใ์ นชีวติ ประจาวัน
๕. คณุ ธรรมจรยิ ธรรม
แสดงออกถงึ ความมวี นิ ยั ความซ่ือสตั ย์สจุ รติ ความสนใจใฝร่ ู้ และความคิดริเร่ิมสรา้ งสรรค์
6. เนือ้ หาสาระ

หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง เปน็ แนวปฏิบัติตามทางสายกลางดว้ ยความพอเพียง คอื ความ
พอประมาณ ความมเี หตุผล มีภูมิคมุ้ กันในตัวท่ดี ี ภายใต้เง่ือนไขความรู้และคณุ ธรรม เพื่อนาไปสู่ชวี ิต
เศรษฐกิจ สังคม และส่งิ แวดล้อม ที่มีความสมดลุ มัน่ คงและยัง่ ยืน

การพัฒนาคุณภาพชีวิตดว้ ยวถี แี หง่ ความพอเพียง โดยยึดหลกั พุทธธรรมได้แก่ ความเพียร ประหยัด
ซื่อสตั ยส์ ุจริต เมตตา รวมถึงหลักทิฎฐธัมมิกตั ถสังรตั ตนนกิ ธรรม 4 ได้แก่ อฏุ ฐานสมั ปทา อารกั ขสมั ปทา กลั
ยาณมิตตตา สมชีวติ า
7. กิจกรรมการเรยี นรู้ (สปั ดาหท์ ี่ 7)

ขัน้ นาเข้าสู่บทเรียน
1. ครูขานชือ่ นกั เรยี น
2. ครูให้นกั เรียนนั่งสมาธิ หลงั จากน้นั ทาแบบทดสอบกอ่ นเรยี น (Pre-test)
3. ข้นั นา ครูนาเข้าสู่บทเรยี นด้วยการสนทนา การซกั ถาม การดรู ปู ภาพทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั เนื้อหาบทเรียน
ขั้นสอน
4. ข้ันสอน ครูอธิบายประเด็นสาคัญตามหัวข้อเร่ือง และแบ่งกลุ่มนักเรียนทากิจกรรม 1 และส่ง
ตวั แทนกลุม่ นาเสนอผลงานหน้าช้ันเรยี น

5. นกั เรียนช่วยกันอธิบายคุณค่า ประโยชน์ท่ีได้รับจากการดาเนินชวี ิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง
6. ครูใหน้ กั เรียนทาแบบฝกึ หัดหน่วยท่ี 5 (ข้อ 1-6) หลงั นกั เรียนทาเสรจ็ แลว้ เฉลยแบบฝกึ หดั
ขน้ั สรปุ
7. ครแู ละนักเรยี นชว่ ยกนั สรุปเนอ้ื หาบทเรียน ครูเพิ่มในส่วนที่ยังไม่ครอบคลมุ

กิจกรรมการเรยี นรู้ (สัปดาห์ท่ี 8)
ขน้ั นาเข้าส่บู ทเรยี น
1. ครขู านช่ือนักเรยี น
2. ขัน้ นา ครนู าเขา้ ส่บู ทเรยี นด้วยการสนทนา การซักถาม การดรู ูปภาพทีเ่ กย่ี วข้องกบั เน้ือหาบทเรยี น

และทบทวนเน้ือหาก่อน
ขั้นสอน
3. ขน้ั สอน ครอู ธบิ ายประเด็นสาคัญตามหวั ข้อเร่ือง และแบ่งกลุ่มนักเรยี นทากิจกรรม 2 และสง่
ตัวแทนกลุม่ นาเสนอผลงานหนา้ ชัน้ เรียน
4. ครสู มุ่ ให้นักเรียนนาเสนอใบงานท่ี 1 หน้าช้นั เรยี น
5. ครูใหน้ กั เรยี นทาแบบฝึกหัดหน่วยที่ 5 (ข้อ 7-10) หลังนกั เรยี นทาเสรจ็ แลว้ เฉลยแบบฝึกหดั
ข้นั สรุป
6. ขน้ั สรปุ ครูและนกั เรียนชว่ ยกันสรุปเนอื้ หาบทเรยี น ครูเพ่มิ ในส่วนทยี่ งั ไม่ครอบคลุม
7. ครใู ห้นกั เรยี นทาแบบทดสอบหลังเรียน (Post-test) หน่วยที่ 5

8. ส่อื การเรยี นรู้ (หลากหลาย)
1. สื่อการเรียนรู้ หนงั สอื เรยี นวิชาหน้าทีพ่ ลเมอื งและศีลธรรม หน่วยท่ี 5, PowerPoint ประกอบการ

สอน และแบบทดสอบก่อนเรียน และหลงั เรยี น
2. แหล่งการเรยี นรู้ หนงั สอื วารสารเกี่ยวกับหน้าท่พี ลเมืองและศีลธรรมอินเทอร์เน็ต
3. รปู ภาพท่ีเกยี่ วข้องกบั เนอ้ื หาบทเรยี น
4. ใบกิจกรรมปฏิบตั ิ 1 : ตามลา่ หาความสขุ
5. ใบกิจกรรมปฏิบตั ิ 2 : พอเพียงกเ็ พยี งพอ
6. ใบงานที่ 1 : มารต์ นิ วลี เลอร์ ฝรัง่ หวั ใจไทย

การวัดผลและประเมินผล

การวัดผล การประเมินผล

(ใชเ้ ครือ่ งมือ) (นาผลเทยี บกับเกณฑแ์ ละแปลความหมาย)

1. แบบทดสอบก่อนเรยี น (Pre-test) หน่วยที่ 5 (ไว้เปรียบเทียบกับคะแนนสอบหลงั เรยี น)

2. แบบสังเกตการทางานกลุ่มและการนาเสนอผลงานกล่มุ เกณฑผ์ า่ น 50%

3. แบบฝกึ หดั หน่วยที่ 5 เกณฑผ์ ่าน 50%

4. แบบทดสอบหลังเรยี น (Post-test) หน่วยที่ 5 เกณฑผ์ า่ น 50%

5. แบบประเมนิ คุณธรรม จริยธรรม ตามสภาพจริง เกณฑ์ผ่าน 50%

๑๐. เกณฑ์การประเมนิ ผล
นักเรียนสง่ ทนั ตามเวลาท่กี าหนดและถูกตอ้ งทกุ ข้อ คะแนนเตม็ 5 คะแนน

๑๑. ข้อเสนอแนะ

-

ชอ่ื วิชา หนา้ ทีพ่ ลเมอื งและศีลธรรม รหสั วิชา 2000-1501 ท.ป.น 2-0-2
หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 6 เรอ่ื ง พุทธศาสนพธิ ีและวันสาคญั ทางพระพทุ ธศาสนา
สัปดาหท์ ่ี 9 วนั ท่ี 16 ธนั วาคม 2562 เวลา 08.15 - 10.15 น.
สาขาวิชา ยานยนต์ ระดับชนั้ ปวช.3 กลมุ่ 1 - 2 จานวน 33 คน

1. สาระสาคญั
พุทธศาสนพธิ เี ป็นแบบแผนปฏบิ ตั ิ เพ่อื ใหเ้ กิดความเรียบร้อย ดงี าม ก่อใหเ้ กดิ ความสามัคคใี นหมู่คณะ

วันสาคัญทางพระพุทธศาสนา นบั เปน็ วันสาคญั ที่เกย่ี วข้องกับพระพทุ ธเจ้า ดังนนั้ ในฐานะชาวพุทธควรศกึ ษา
ให้เขา้ ใจความหมาย ความสาคัญของวันสาคญั เพื่อจะไดน้ ้อมนาเอาหลกั ธรรมของพระพุทธองค์มาปฏิบตั ิ ส่วน
การประกอบพิธกี รรมทางศาสนาควรศกึ ษาเพ่ือเปน็ การปฏิบตั ทิ ่ถี กู ต้อง เหมาะสมและเกิดประโยชน์

2. สมรรถนะการเรียนร้ปู ระจาหนว่ ย
แสดงความรู้เก่ยี วกบั พุทธศาสนพิธีและวันสาคญั ทางพระพุทธศาสนา

3. จดุ ประสงค์การเรียนรู้
พุทธิพิสัย (ความรู้) Cognitive Domain (K)
- นักเรยี นอธบิ ายความหมาย ประเภทและคณุ ประโยชนข์ องศาสนพธิ ี
- นักเรียนอธบิ ายความหมายของเคร่ืองสักการบชู าพระรัตนตรยั
- นักเรยี นอธบิ ายขน้ั ตอนการประกอบพีกรรมทางพุทธศาสนา
- นักเรยี นอธิบายความสาคัญ และหลักธรรมท่เี กีย่ วข้องกบั วันสาคญั ทางพุทธศาสนา
- นักเรียนปฏิบัติตนในการประกอบพุทธศาสนพิธใี นวันสาคัญทางพระพุทธศาสนา
- นักเรียนปฏบิ ัตพิ ิธกี รรมทางพระพทุ ธศาสนา
ทักษะพสิ ยั (ทักษะ) Psychomotor Domain (P)
- นกั เรยี นแสดงออกด้านการตรงตอ่ เวลา ความสนใจใฝ่รู้
- นักเรียนความซื่อสัตย์ สจุ ริต ความมีนา้ ใจ, แบง่ บัน
- นกั เรยี นความรว่ มมือ ความมมี ารยาท
จติ พสิ ยั (เจตคติ) Affective Domain (A)
- นักเรยี นแสดงออกถึงความมีวนิ ยั ความซอื่ สตั ย์สจุ ริต
- นักเรียนความสนใจใฝ่รู้ และความคดิ ริเร่มิ สร้างสรรค์

๔. บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
3 ห่วง

4.1 ความพอประมาณ: หมายถึง ความพอดีทไ่ี ม่น้อยเกนิ ไปและไม่มากเกินไปโดยไมเ่ บียดเบียนตนเองและ
ผู้อ่นื เช่นการผลิตและการบริโภคท่ีอยใู่ นระดบั พอประมาณ

- นกั เรียนใช้เวลาในการศึกษาเนอ้ื หา ได้ครบทุกเนือ้ หาตามเวลาทก่ี าหนดได้อยา่ งเหมาะสม ไมม่ ากไม่
น้อยเกินไป

4.2 ความมีเหตผุ ล: หมายถึง การตัดสินใจเก่ยี วกบั ระดับของความพอเพยี งนั้น จะต้องเป็นไปอยา่ งมเี หตผุ ล
โดยพิจารณาจากเหตุปจั จยั ท่เี กย่ี วข้องตลอดจนคานงึ ถงึ ผลทค่ี าดวา่ จะเกดิ ขน้ึ จากการกระทานน้ั ๆ อย่าง
รอบคอบ

- นักเรยี นอธบิ ายความสาคัญ และหลกั ธรรมท่เี กีย่ วข้องกับวนั สาคญั ทางพุทธศาสนาไดค้ รบทุกเนื้อหา
อย่างมเี หตุผลโดยพิจารณาจากเหตุปัจจยั ท่เี ก่ียวข้องและจุดเด่นของแตล่ ะเนื้อหา
4.3 การมีภูมิคมุ้ กันทีด่ ีในตัว: หมายถงึ การเตรยี มตัวให้พรอ้ มรบั ผลกระทบและการเปลย่ี นแปลงดา้ นต่าง ๆ
ทจ่ี ะเกิดขน้ึ โดยคานงึ ถงึ ความเปน็ ไปได้ของสถานการณ์ ตา่ ง ๆ ทค่ี าดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคตท้ังใกลแ้ ละไกล

- นกั เรยี นมีความรู้ และทักษะในการนาความรู้เกย่ี วกับข้นั ตอนการประกอบพกี รรมทางพทุ ธศาสนา
ไปประยุกต์ใชใ้ หเ้ กิดประโยชนใ์ นชีวิตประจาวนั การทางานและการศึกษาตอ่
2 เงอ่ื นไข
คอื การตัดสินใจและการดาเนนิ กจิ กรรมต่าง ๆ ให้อยใู่ นระดับพอเพียงนัน้ ต้องอาศยั ทง้ั ความรู้ และคุณธรรม
เป็นพื้นฐาน กลา่ วคือ
 เงือ่ นไขความร้:ู ประกอบดว้ ย ความรอบรูเ้ กี่ยวกบั วชิ าการตา่ ง ๆ ทเี่ กี่ยวข้องอย่างรอบด้าน ความ
รอบคอบทจี่ ะนาความรูเ้ หล่านั้นมาพิจารณาใหเ้ ช่อื มโยงกนั เพอื่ ประกอบการวางแผน และความ
ระมดั ระวงั ในขนั้ ปฏบิ ตั ิ
- นกั เรยี นมคี วามรูเ้ กีย่ วกับความหมาย ประเภทและคุณประโยชนข์ องศาสนพธิ ี
 เงือ่ นไขคณุ ธรรม: ท่จี ะตอ้ งเสรมิ สร้างประกอบด้วย มคี วามตระหนักในคณุ ธรรม มีความซือ่ สัตย์สุจรติ
และมคี วามอดทน มีความเพยี ร ใช้สตปิ ญั ญาในการดาเนินชีวติ
- นักเรียนทางานท่ีไดร้ ับมอบหมายดว้ ยความซื่อสัตย์ สุจรติ มีความอดทนและและเพียรพยายามใน
การศึกษาเน้ือหาเพื่อใหเ้ กิดประโยชน์ในชีวติ ประจาวัน
๕. คณุ ธรรมจริยธรรม
แสดงออกถึงความมีวินัย ความซ่ือสตั ย์สจุ ริต ความสนใจใฝร่ ู้ และความคดิ ริเร่ิมสร้างสรรค์
6. เนอ้ื หาสาระ
พิธีกรรมทางศาสนาเป็นเคร่ืองแสดงออกถึงความเช่ือ ศรัทธาทางศาสนา มีประโยชน์ท้ังต่อจิตใจและ

ศาสนา พุทธศาสนาพิธีแบ่งเป็นพิธีสาหรับพระสงฆ์ และพิธีสาหรับชาวพุทธ เครื่องสักการบูชาพระรัตนตรัย

ได้แก่ ธูป เทียน และดอกไม้ ตัวอย่างพุทธศาสนพิธี เชน่ การบรรพชา การอุปสมบท การทอดกฐิน การถวาย

สังฆทาน เปน็ ต้น

วันสาคัญทางพระพุทธศาสนา ได้แก่ วันวิสาขบูชา วันอาสาฬหบูชา วันมาฆบูชา วันเข้าพรรษา วัน

ออกพรรษา วันอัฎฐมีบูชา และวันธรรมสวนะ

7. กจิ กรรมการเรียนรู้
ขั้นนาเข้าสู่บทเรยี น
1. ครขู านชอ่ื นักเรียน
2. ครูให้นักเรยี นน่ังสมาธิ หลงั จากน้ันทาแบบทดสอบก่อนเรียน (Pre-test)
3. ครนู าเข้าส่บู ทเรยี นดว้ ยการสนทนา การซักถาม การดูรูปภาพท่ีเกยี่ วข้องกับเนื้อหาบทเรยี น
ข้นั สอน
4. ครูแนะนาการเตรียมอุปกรณก์ ารจดั สถานที่ ข้นั ตอนการปฏิบัติ ศาสนาพธิ ี การถวายสังฆทาน และ
อธบิ ายประเด็นสาคัญตามหัวขอ้ เรื่อง

5. นักเรียนทากิจกรรมปฏิบัติท่ี 1 วนั สาคญั ทางพระพุทธศาสนา ครูและนักเรยี นช่วยกนั เฉลยคาตอบ
โดยการสมุ่ ตวั แทนตอบคาถาม
6. นักเรยี นทากิจกรรมปฏิบตั ิท่ี 2 การถวายสังฆทาน ครแู ละครูพระประเมนิ ผลการปฏิบตั ิ และให้
ขอ้ เสนอแนะ
7. นักเรียนอภิปรายคณุ ค่าทเี่ กดิ จากการปฏิบตั พิ ุทธศาสนพธิ ี
ขั้นสรุป
7. ครูและนักเรยี นช่วยกนั สรปุ เน้อื หาบทเรียน ครเู พมิ่ ในส่วนท่ียงั ไม่ครอบคลุม
8. ใหท้ าแบบทดสอบหลงั เรยี น (Post-test) หนว่ ยท่ี 6
8. ส่อื การเรยี นรู้ (หลากหลาย)
1. สอ่ื การเรียนรู้ หนังสือเรยี นวิชาหน้าท่ีพลเมอื งและศลี ธรรม หนว่ ยท่ี 6, PowerPoint ประกอบการ
สอน และแบบทดสอบกอ่ นเรียน และหลงั เรียน
2. แหล่งการเรยี นรู้ หนังสอื วารสารเกยี่ วกบั หน้าท่ีพลเมอื งและศลี ธรรม อินเทอร์เน็ต
3. รูปภาพทีเ่ กีย่ วข้องกบั เน้ือหาบทเรียน
4. ดอกไม้ ธปู เทียน
5. เครือ่ งไทยทาน
6. กิจกรรมปฏิบตั ิท่ี 1 วนั สาคญั ทางพระพทุ ธศาสนา
7. กิจกรรมปฏบิ ัตทิ ่ี 2 การถวายสงั ฆทาน

การวดั ผลและประเมินผล

การวดั ผล การประเมินผล

(ใชเ้ ครอื่ งมือ) (นาผลเทยี บกบั เกณฑ์และแปลความหมาย)

1. แบบทดสอบก่อนเรียน (Pre-test) หน่วยท่ี 6 (ไวเ้ ปรียบเทียบกบั คะแนนสอบหลงั เรียน)

2. แบบสังเกตการทางานกลุ่มและการนาเสนอผลงานกลุม่ เกณฑ์ผา่ น 50%

3. แบบฝกึ หดั หนว่ ยท่ี 6 เกณฑผ์ ่าน 50%

4. แบบทดสอบหลงั เรียน (Post-test) หนว่ ยท่ี 6 เกณฑผ์ า่ น 50%

5. แบบประเมนิ คุณธรรม จรยิ ธรรม ตามสภาพจริง เกณฑผ์ ่าน 50%

๑๐. เกณฑก์ ารประเมนิ ผล
นักเรยี นส่งทนั ตามเวลาทกี่ าหนดและถูกตอ้ งทกุ ข้อ คะแนนเตม็ 5 คะแนน

๑๑. ข้อเสนอแนะ

- ครคู วรเดินตรวจระหว่างการทาแบบฝึกหดั ของนกั เรียนเสมอ

ชอื่ วิชา หน้าท่ีพลเมืองและศีลธรรม รหสั วชิ า 2000-1501 ท.ป.น 2-0-2
หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ 7 เรอ่ื ง การอนรุ ักษ์ศลิ ปวฒั นธรรมไทย
สัปดาห์ที่ 10-12 วันท่ี 23 , 30 ธนั วาคม 2562 , 6 มกราคม 2563 เวลา 08.15 - 10.15 น.
สาขาวชิ า ยานยนต์ ระดบั ชัน้ ปวช.3 กลมุ่ 1 - 2 จานวน 33 คน

1. สาระสาคญั
ประเทศไทยจากอดตี สู่ปัจจุบันมีความเปน็ มายาวนาน บรรพบุรุษไดส้ ง่ั เสรมิ สบื ทอดมรดกทาง

ศิลปวัฒนธรรม ซ่ึงเป็นของดีมีคุณค่า งดงาม และมรเอกลักษณ์ของความเปน็ ไทย ดังน้นั หน้าที่ในการสืบทอด
ตอ่ จึงเป็นของคนไทยทกุ คน แมแ้ ตพ่ ระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หวั และพระบรมวงศานุวงศ์ ยงั มบี ทบาทหน้าท่ี
ดา้ นการทานบุ ารุงส่งเสรมิ อนรุ ักษ์ศิลปวฒั นธรรมไทย คนรนุ่ หลงั ควรศึกษาหาความรู้เกี่ยวกบั ศลิ ปวฒั นธรรม
ไทย เพ่ือใหเ้ กิดความภาคภมู ใิ จในความเปน็ คนไทย

2. สมรรถนะการเรียนร้ปู ระจาหน่วย
แสดงความรู้เก่ียวกบั การอนรุ ักษศ์ ิลปวฒั นธรรมไทย

3. จุดประสงค์การเรียนรู้
พทุ ธพิ ิสยั (ความรู้) Cognitive Domain (K)
- นกั เรยี นระบสุ าเหตุทท่ี าใหต้ ้องมีการอนุรักษ์อนรุ ักษ์ศลิ ปวัฒนธรรมไทย
- นักเรยี นอธบิ ายความหมายของศลิ ปวัฒนธรรม
- นักเรยี นอธบิ ายความสัมพนั ธ์ระหวา่ งวฒั นธรรมและศลิ ปวฒั นธรรม
- นักเรยี นจาแนกประเภทของศิลปะไทย
- นกั เรียนอธิบายลกั ษณะของวัฒนธรรมไทยในแต่ละด้าน
- นกั เรยี นอธิบายการอนรุ กั ษ์ศิลปวฒั นธรรมและภูมิปัญญาไทย
ทกั ษะพิสัย (ทักษะ) Psychomotor Domain (P)
- นักเรียนอธิบายบทบาท หนา้ ท่ี พรอ้ มยกตวั อยา่ งผลงานและพระราชกรณยี กจิ ของพระบาท
สมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ วั และสมเด็จพระนางเจา้ ฯ พระบรมราชินีนาถ ในฐานะอัครศิลปนิ และ
อัคราภิรกั ษศลิ ปนิ เก่ยี วกบั งานดา้ นศลิ ปวฒั นธรรมไทย
- นักเรียนอธิบายความเป็นมาและความสาคัญของวันอนรุ ักษ์มรดกไทย ลกั ษณะของ
วัฒนธรรมไทยใน แตล่ ะด้าน
- นกั เรยี นแสดงออกด้านการตรงต่อเวลา ความสนใจใฝ่รู้
- นักเรยี นความซือ่ สัตย์ สจุ รติ ความมีน้าใจ, แบง่ บนั
- นกั เรยี นความร่วมมือ ความมมี ารยาท
จิตพิสยั (เจตคติ) Affective Domain (A)
- นักเรยี นแสดงออกถงึ ความมีวินัย ความซ่ือสัตย์สจุ รติ
- นักเรียนความสนใจใฝร่ ู้ และความคดิ ริเรมิ่ สรา้ งสรรค์

๔. บรู ณาการหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
3 หว่ ง

4.1 ความพอประมาณ: หมายถงึ ความพอดีท่ีไม่นอ้ ยเกินไปและไม่มากเกินไปโดยไมเ่ บียดเบยี นตนเองและ
ผอู้ ่นื เชน่ การผลิตและการบรโิ ภคท่อี ยู่ในระดบั พอประมาณ

- นักเรียนใช้เวลาในการศึกษาเนอื้ หา ได้ครบทกุ เนอ้ื หาตามเวลาที่กาหนดได้อย่างเหมาะสม ไม่มากไม่
นอ้ ยเกินไป
4.2 ความมีเหตุผล: หมายถึง การตดั สินใจเกยี่ วกับระดับของความพอเพยี งนั้น จะต้องเป็นไปอยา่ งมเี หตุผล
โดยพจิ ารณาจากเหตปุ จั จยั ที่เกยี่ วข้องตลอดจนคานงึ ถงึ ผลทีค่ าดวา่ จะเกิดข้ึนจากการกระทานนั้ ๆ อย่าง
รอบคอบ

- นกั เรยี นอธบิ ายสาเหตทุ ่ที าให้ตอ้ งมีการอนรุ ักษ์อนรุ กั ษ์ศลิ ปวฒั นธรรมไทยได้ครบทุกเนื้อหาอยา่ งมี
เหตุผลโดยพจิ ารณาจากเหตุปัจจัยทเ่ี กี่ยวข้องและจุดเดน่ ของแต่ละเน้ือหา
4.3 การมีภมู คิ ุ้มกนั ท่ดี ีในตัว: หมายถงึ การเตรยี มตวั ให้พร้อมรบั ผลกระทบและการเปลีย่ นแปลงดา้ นตา่ ง ๆ
ทจ่ี ะเกิดข้ึนโดยคานึงถงึ ความเป็นไปได้ของสถานการณ์ ต่าง ๆ ทคี่ าดว่าจะเกดิ ข้ึนในอนาคตทั้งใกลแ้ ละไกล

- นกั เรยี นมคี วามรู้ และทกั ษะในการนาความรเู้ กีย่ วกับความสมั พันธ์ระหวา่ งวฒั นธรรมและ
ศลิ ปวฒั นธรรมไปประยกุ ต์ใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชน์ในชีวิตประจาวนั การทางานและการศึกษาต่อ
2 เงอื่ นไข
คอื การตัดสินใจและการดาเนินกจิ กรรมตา่ ง ๆ ให้อยใู่ นระดับพอเพยี งนนั้ ต้องอาศัยทั้งความรู้ และคุณธรรม
เปน็ พืน้ ฐาน กลา่ วคือ
 เงอ่ื นไขความรู้: ประกอบด้วย ความรอบรเู้ กยี่ วกบั วชิ าการตา่ ง ๆ ทเ่ี กย่ี วข้องอยา่ งรอบด้าน ความ
รอบคอบท่จี ะนาความรเู้ หล่าน้นั มาพจิ ารณาให้เชอื่ มโยงกัน เพอ่ื ประกอบการวางแผน และความ
ระมดั ระวังในขนั้ ปฏิบตั ิ
- นักเรียนมคี วามรูเ้ กย่ี วกับการจาแนกประเภทของศลิ ปะไทย
 เง่อื นไขคณุ ธรรม: ทจี่ ะตอ้ งเสริมสร้างประกอบด้วย มคี วามตระหนักในคณุ ธรรม มีความซ่ือสตั ย์สุจริต
และมีความอดทน มคี วามเพียร ใช้สตปิ ัญญาในการดาเนินชีวติ
- นกั เรยี นทางานท่ีไดร้ ับมอบหมายดว้ ยความซื่อสัตย์ สจุ ริต มคี วามอดทนและและเพียรพยายามใน
การศกึ ษาเนื้อหาเพื่อใหเ้ กดิ ประโยชน์ในชวี ิตประจาวัน
๕. คณุ ธรรมจริยธรรม
แสดงออกถึงความมีวนิ ยั ความซื่อสตั ยส์ ุจรติ ความสนใจใฝร่ ู้ และความคิดริเริ่มสรา้ งสรรค์
6. เนือ้ หาสาระ
ศิลปวฒั นธรรมไทย เปน็ มรดกของชาติบง่ บอกถึงความเป็นไทย ตัวอย่างศิลปะไทยเช่น จิตรกรรมไทย

ด้านศีลธรรม ด้านกฎหมาย และด้านสังคม ตัวอย่างวัฒนธรรมไทยท่ีสาคัญเช่น ภาษาไทย การแต่งกาย

มารยาทไทย อาหารไทย แนวทางการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมมีทั้งการศึกษาค้นคว้าวิจัย อนุรักษ์ ฟื้นฟู การ

พฒั นา ถา่ ยทอด ส่งเสรมิ ใหท้ ุกคนเห็นคณุ คา่ ตระหนกั ในความสาคญั รวมทัง้ มกี ารเผยแผ่และแลกเปลีย่ น

นอกจากนนั้ พระมหากษัตรยิ ์ ทรงมบี ทบาท หน้าทีด่ า้ นการทานุบารุงสง่ เสริมศิลปวัฒนธรรมในฐานะ”

อัครศิลปิน”และสมเด็จพระนางเจ้าฯพระบรมราชินีนาถ ทรงเป็น อัคราภิรักษ์ศิลปิน “ราชินี” ผู้ทรงอนุรักษ์

ศิลปวฒั นธรรมไทย รฐั บาลไทยไดก้ าหนดให้ วนั ท่ี 2 เมษายน ของทุกปีเปน็ วันอนรุ กั ษม์ รดกไทย

7. กจิ กรรมการเรยี นรู้ (สปั ดาห์ที่ 10)
ขน้ั นาเขา้ สบู่ ทเรียน
1. ครูขานชื่อนักเรยี น
2. ครูให้นกั เรียนนั่งสมาธิ หลงั จากนัน้ ทาแบบทดสอบก่อนเรยี น (Pre–test)
3. ครนู าเขา้ สบู่ ทเรียนดว้ ยการสนทนา การซกั ถาม การดรู ูปภาพทเ่ี กีย่ วข้องกับเนื้อหาบทเรยี น
ขนั้ สอน
4. แบง่ กลุ่มนกั เรยี นเป็น 5 กลุ่ม ศึกษาค้นควา้ ตามหัวข้อเร่ือง
ข้อ 7.1–7.5 และส่งตัวแทนกล่มุ นาเสนอผลงานหน้าช้นั เรยี น
5. นักเรยี นชมวีดที ัศน์ เก่ียวกับศลิ ปวัฒนธรรมไทย เขยี นประเด็นสาคญั และข้อคิดที่ไดจ้ ากเรอ่ื ง ครู
สมุ่ นกั เรียนพดู นาเสนอหนา้ ช้ันเรียน
6. นกั เรยี นฝึกปฏิบตั ิมารยาทไทย (การไหว้) และครปู ระเมิน
7. นกั เรยี นอภิปรายการมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ศิลปวฒั นธรรมไทย
8. ครูให้นักเรยี นทาแบบฝกึ หัดหน่วยท่ี 7 (ขอ้ 1–5) หลังนักเรยี นทาเสร็จแล้วเฉลยแบบฝกึ หดั
ขั้นสรปุ
9. ครูและนักเรียนชว่ ยกนั สรุปเนอ้ื หาบทเรียน ครเู พิ่มในสว่ นท่ียงั ไม่ครอบคลมุ

กจิ กรรมการเรยี นรู้ (สปั ดาห์ที่ 11)
ขน้ั นาเขา้ สบู่ ทเรียน
1. ครูขานชื่อนักเรยี น
2. ครใู ห้นกั เรยี นน่ังสมาธิ หลังจากนัน้ ทาแบบทดสอบก่อนเรียน (Pre–test)
3. ครูนาเขา้ สู่บทเรยี นด้วยการสนทนา การซักถาม การดูรูปภาพท่ีเก่ียวข้องกับเน้อื หาบทเรียน
ขั้นสอน
4. แบง่ กลุ่มนักเรียนเป็น 4 กลุ่ม ศกึ ษาคน้ ควา้ ตามหวั ขอ้ เรื่อง
ข้อ 7.6–7.9 และส่งตัวแทนกลมุ่ นาเสนอผลงานหนา้ ช้ันเรียน
5. นกั เรยี นชมวีดที ัศน์ เก่ยี วกับศลิ ปวฒั นธรรมไทย เขียนประเดน็ สาคัญและข้อคิดท่ไี ด้จากเร่อื ง ครู
สุ่มนกั เรียนพดู นาเสนอหน้าชั้นเรียน
6. นักเรียนฝกึ ปฏิบตั ิมารยาทไทย (การไหว)้ และครปู ระเมิน
7. นกั เรียนอภิปรายการมสี ่วนร่วมในการอนุรักษ์ศลิ ปวฒั นธรรมไทย
8. ครูให้นกั เรียนทาแบบฝึกหัดหนว่ ยท่ี 7 (ข้อ 6–10) หลงั นักเรยี นทาเสรจ็ แลว้ เฉลยแบบฝึกหดั
ขั้นสรุป
9. ครูและนกั เรียนช่วยกนั สรุปเนือ้ หาบทเรยี น ครเู พม่ิ ในส่วนท่ยี งั ไม่ครอบคลุม

กจิ กรรมการเรียนรู้ (สปั ดาห์ท่ี 12)
ขน้ั นาเข้าสู่บทเรียน
1. ครขู านช่อื นักเรยี น
2. ครใู หน้ ักเรียนน่งั สมาธิ หลังจากนั้นทาแบบทดสอบก่อนเรยี น (Pre–test)
3. ครนู าเข้าสบู่ ทเรยี นด้วยการสนทนา การซักถาม การดูรูปภาพทเ่ี กยี่ วข้องกับเน้ือหาบทเรยี น
ขนั้ สอน
4. แบ่งกลมุ่ นกั เรียนเป็น 5 กลุ่ม ศกึ ษาคน้ ควา้ ตามหัวขอ้ เร่ือง
ขอ้ 7.10–7.14 และส่งตวั แทนกลุ่ม นาเสนอผลงานหนา้ ช้นั เรียน

5. นักเรียนชมวีดีทัศน์ เก่ยี วกับศิลปวฒั นธรรมไทย เขยี นประเด็นสาคญั และข้อคิดที่ไดจ้ ากเรือ่ ง ครู
สมุ่ นกั เรยี นพดู นาเสนอหนา้ ชั้นเรียน
6. นักเรยี นอภปิ รายการมีส่วนรว่ มในการอนรุ ักษ์ศลิ ปวัฒนธรรมไทย
7. ครูให้นกั เรยี นปฏิบัตติ ามใบงานที่ 2 ครอบครัววิลเลย่ี ม ฝรง่ั หวั ใจไทยแท้และใหต้ ัวแทน
แสดงความคดิ เหน็
ขน้ั สรปุ
8. ครูและนกั เรียนชว่ ยกันสรปุ เน้ือหาบทเรียน ครูเพิม่ ในสว่ นทย่ี ังไม่ครอบคลุม
8. ส่อื การเรยี นรู้ (หลากหลาย)
1. สือ่ การเรียนรู้ หนังสอื เรียนวิชาหน้าท่พี ลเมอื งและศีลธรรม หนว่ ยท่ี 7, PowerPoint ประกอบการ
สอน และแบบทดสอบก่อนเรียน และหลังเรยี น
2. แหล่งการเรยี นรู้ หนงั สือ วารสารเกย่ี วกับหนา้ ท่ีพลเมอื ง อนิ เทอรเ์ นต็
3. รูปภาพทเี่ กยี่ วข้องกบั เนื้อหาบทเรยี น
4. วีดีทศั น์เกย่ี วกบั ศิลปวัฒนธรรมไทย (อยู่ในดุลพนิ ิจ)
5. ใบงานที่ 2 ครอบครัววลิ เล่ียม ฝร่งั หัวใจไทยแท้

การวัดผลและประเมนิ ผล

การวัดผล การประเมนิ ผล

(ใช้เครื่องมอื ) (นาผลเทียบกับเกณฑแ์ ละแปลความหมาย)

1. แบบทดสอบก่อนเรยี น (Pre-test) หน่วยท่ี 7 (ไวเ้ ปรียบเทยี บกับคะแนนสอบหลงั เรยี น)

2. แบบสงั เกตการทางานกลุ่มและการนาเสนอผลงานกลมุ่ เกณฑ์ผ่าน 50%

3. แบบฝกึ หดั หนว่ ยท่ี 7 เกณฑผ์ ่าน 50%

4. แบบทดสอบหลังเรยี น (Post-test) หนว่ ยท่ี 7 เกณฑ์ผ่าน 50%

5. แบบประเมนิ คุณธรรม จริยธรรม ตามสภาพจริง เกณฑผ์ ่าน 50%

๑๐. เกณฑก์ ารประเมนิ ผล
นักเรยี นสง่ ทนั ตามเวลาทก่ี าหนดและถูกต้องทกุ ข้อ คะแนนเตม็ 10 คะแนน

๑๑. ข้อเสนอแนะ

-

ช่ือวิชา หนา้ ทพ่ี ลเมืองและศีลธรรม รหสั วิชา 2000-1501 ท.ป.น 2-0-2

หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ 8 เร่ือง จิตอาสา

สัปดาหท์ ี่ 13 วันท่ี 13 มกราคม 2563 เวลา 08.15 - 10.15 น.

สาขาวชิ า ยานยนต์ ระดบั ชนั้ ปวช.3 กลมุ่ 1 - 2 จานวน 33 คน

1. สาระสาคัญ
บุคคลผูห้ วังความสขุ ควรไดฝ้ ึกฝนตนเองใหเ้ ป็น “ผ้ใู ห้” ให้ดว้ ยใจบริสทุ ธจ์ิ ะบงั เกดิ ผลดีท้ังผ้ใู ห้ ผรู้ ับ

และสงั คมส่วนร่วม การทีบ่ คุ คลไดอ้ าสาทาประโยชนเ์ พ่ือผู้อื่นละทง้ิ ประโยชน์สว่ นตัว จะทาให้มองเห็นคณุ ค่าใน
ตวั เองสังคมทีอ่ ยู่อาศัยก็อบอวลไปดว้ ยมติ รไมตรี สังคมมีความนา่ อยู่ ไมแ่ ห้งแลง้ นา้ ใจจนเกนิ ไป การมจี ิตร
อาสาเป็นเรอื่ งทีต่ ้องเรยี นรู้ โดยนาหลักธรรมทางศาสนามาเปน็ แนวทางประพฤติปฏบิ ัตจิ งึ จะเห็นผลจริง

2. สมรรถนะการเรียนรู้ประจาหนว่ ย
แสดงความรเู้ กย่ี วกับจติ อาสา

3. จุดประสงค์การเรยี นรู้
พทุ ธพิ ิสัย (ความรู้) Cognitive Domain (K)
- นักเรียนอธบิ ายความหมายของจติ อาสาและอาสาสมัคร
- นกั เรียนอธิบายประโยชน์ของจติ อาสา
- นักเรียนอธิบายแนวทางในการบม่ เพาะจิตสานกึ ดา้ นจติ อาสา
- นักเรียนอธบิ ายและนาหลักธรรมมาช่วยในการสรา้ งจติ อาสา
ทักษะพสิ ยั (ทักษะ) Psychomotor Domain (P)
- นกั เรียนวิเคราะหค์ วามสาคัญของการทางานด้านจิตอาสาจากเร่ืองคนไทยไม่ทง้ิ กัน
- นกั เรียนยกตัวอยา่ งและทางานดา้ นจติ อาสา
- นกั เรียนแสดงออกดา้ นการตรงต่อเวลา ความสนใจใฝร่ ู้
- นักเรียนความซอ่ื สตั ย์ สุจริต ความมนี า้ ใจ, แบง่ บนั
- นักเรียนความร่วมมือ ความมีมารยาท
จิตพิสยั (เจตคต)ิ Affective Domain (A)
- นักเรยี นแสดงออกถึงความมวี ินัย ความซ่ือสัตย์สจุ ริต
- นกั เรยี นความสนใจใฝ่รู้ และความคดิ ริเร่มิ สร้างสรรค์

๔. บรู ณาการหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
3 หว่ ง

4.1 ความพอประมาณ: หมายถงึ ความพอดีทไี่ ม่นอ้ ยเกนิ ไปและไม่มากเกนิ ไปโดยไม่เบียดเบยี นตนเองและ
ผอู้ ืน่ เช่นการผลติ และการบรโิ ภคท่อี ยูใ่ นระดบั พอประมาณ

- นกั เรยี นใช้เวลาในการศึกษาเน้ือหา ได้ครบทกุ เนอื้ หาตามเวลาทก่ี าหนดได้อย่างเหมาะสม ไม่มากไม่
น้อยเกนิ ไป

4.2 ความมเี หตุผล: หมายถึง การตัดสินใจเกย่ี วกับระดบั ของความพอเพียงน้ัน จะต้องเปน็ ไปอยา่ งมีเหตุผล
โดยพิจารณาจากเหตปุ จั จัยที่เก่ียวข้องตลอดจนคานึงถงึ ผลทีค่ าดว่าจะเกดิ ขึน้ จากการกระทาน้ัน ๆ อย่าง
รอบคอบ

- นักเรยี นอธิบายความหมายของจิตอาสาและอาสาสมัครได้ครบทุกเนื้อหาอย่างมีเหตผุ ลโดยพจิ ารณา
จากเหตุปัจจัยทีเ่ ก่ียวข้องและจุดเดน่ ของแตล่ ะเนื้อหา
4.3 การมีภูมคิ มุ้ กันทด่ี ใี นตวั : หมายถงึ การเตรยี มตวั ใหพ้ ร้อมรับผลกระทบและการเปล่ียนแปลงด้านต่าง ๆ
ที่จะเกิดขึน้ โดยคานึงถึงความเป็นไปได้ของสถานการณ์ ตา่ ง ๆ ทค่ี าดว่าจะเกิดข้นึ ในอนาคตท้ังใกล้และไกล

- นักเรียนมีความรู้ และทกั ษะในการนาความรเู้ ก่ยี วกบั การนาหลกั ธรรมมาชว่ ยในการสร้างจิตอาสา
ไปประยุกต์ใชใ้ ห้เกิดประโยชน์ในชีวิตประจาวัน การทางานและการศึกษาต่อ
2 เงอื่ นไข
คือ การตัดสนิ ใจและการดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ ใหอ้ ยู่ในระดับพอเพยี งนัน้ ต้องอาศัยทั้งความรู้ และคุณธรรม
เปน็ พ้นื ฐาน กลา่ วคือ
 เง่ือนไขความร:ู้ ประกอบดว้ ย ความรอบรเู้ ก่ยี วกบั วชิ าการต่าง ๆ ที่เก่ียวข้องอยา่ งรอบด้าน ความ
รอบคอบทจ่ี ะนาความร้เู หล่านั้นมาพิจารณาใหเ้ ชอื่ มโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผน และความ
ระมดั ระวงั ในข้ันปฏิบัติ
- นักเรียนมีความรูเ้ กีย่ วกบั แนวทางในการบ่มเพาะจติ สานึกด้านจิตอาสา
 เงอ่ื นไขคณุ ธรรม: ทีจ่ ะต้องเสริมสร้างประกอบด้วย มีความตระหนักในคุณธรรม มีความซือ่ สตั ย์สจุ ริต
และมคี วามอดทน มคี วามเพยี ร ใช้สตปิ ญั ญาในการดาเนนิ ชีวิต
- นกั เรยี นทางานท่ีได้รบั มอบหมายดว้ ยความซื่อสตั ย์ สุจรติ มีความอดทนและและเพยี รพยายามใน
การศกึ ษาเน้ือหาเพื่อให้เกิดประโยชน์ในชีวติ ประจาวัน
๕. คณุ ธรรมจริยธรรม
แสดงออกถึงความมวี นิ ัย ความซอ่ื สตั ยส์ จุ ริต ความสนใจใฝร่ ู้ และความคิดริเริ่มสรา้ งสรรค์
6. เนอ้ื หาสาระ
จิตอาสาคือ จิตของผู้ให้ จิตที่พร้อมจะสละเวลา แรงกาย และสติปัญญาเพ่ือสาธารณะประโยชน์

จิตอาสาก่อให้เกิดประโยชน์ต่อสังคมส่วนรวมและผู้ให้ จิตสานึกเรื่องจิตอาสาเป็นสิ่งที่สามารถบ่มเพาะได้ใน

หลายแนวทาง ท้ังการปลูกฝัง คุณธรรม จริยธรรม เช่น หลักธรรมสังคหวัตถุ 4 เป็นหลักในการสงเคราะห์

ช่วยเหลือผู้อ่ืน หลักธรรมสาราณียธรรม 6 เป็นหลักธรรมที่ช่วยสร้างเสริมความสามัคคีในหมู่คณะทาให้สังคม

สงบสุข การทางานดา้ นจิตอาสาควรเร่ิมตน้ ท่ตี นเองก่อน และลงมือทาทันที คนไทยได้ช่ือวา่ เป็นผมู้ ีนา้ ใจเห็นได้

จากการให้ความร่วมมอื ช่วยเหลอื กัน ในชว่ งเกดิ วิกฤตการณ์ตา่ ง ๆ ขึน้ ในสงั คม

7. กิจกรรมการเรยี นรู้
ข้ันนาเขา้ สบู่ ทเรียน
1. ครขู านชือ่ นักเรียน
2. ครูใหน้ กั เรยี นนั่งสมาธิ หลังจากน้ันทาแบบทดสอบก่อนเรยี น (Pre–test)
3. ครนู าเขา้ สู่บทเรยี นโดยการสนทนา ซักถาม ตอบคาถาม และดรู ูปภาพท่เี กย่ี วข้องกับเนื้อหา
บทเรยี น และสมุ่ เลือกนักเรียนท่มี ีประสบการณ์ในการทางานดา้ นจติ อาสา ออกมาพดู หนา้ ชนั้ เรียน

ขั้นสอน
4. แบง่ กลุ่มนักเรยี นอภปิ รายศึกษาค้นควา้ ตามหัวข้อเรื่อง และส่งตัวแทนกล่มุ มาพดู เสนอหนา้ ชั้น
เรียน
5. นกั เรียนทงั้ ห้องช่วยกันคดิ และจัดทาโครงการจติ อาสา 1 โครงการ(ปฏิบัตจิ ริง นอกเวลาเรยี น)
6. นกั เรียนทาใบงานท่ี 3 มหาเศรษฐีของโลกกบั งานจติ อาสา และใหอ้ าสาสมัครพูดนาเสนอหนา้ ชน้ั
เรยี น
7. ครูให้ทาแบบทดสอบหลงั เรยี น (Post–test) หนว่ ยที่ 8
ขัน้ สรปุ
8. ครแู ละนักเรยี นชว่ ยกันสรุปเนือ้ หาบทเรียน
8. สอื่ การเรยี นรู้ (หลากหลาย)
1. สื่อการเรียนรู้ หนงั สอื เรยี นวชิ าหนา้ ทพ่ี ลเมืองและศลี ธรรม หนว่ ยท่ี 8, PowerPoint ประกอบการ
สอน และแบบทดสอบกอ่ นเรียน และหลังเรียน
2. แหลง่ การเรยี นรู้ หนงั สือ วารสารเกี่ยวกบั หน้าทพ่ี ลเมอื งและศีลธรรม อนิ เทอร์เน็ต
3. ใบงานท่ี 3 มหาเศรษฐีของโลกกบั งานจิตอาสา
การวดั ผลและประเมินผล

การวดั ผล การประเมนิ ผล

(ใชเ้ ครื่องมอื ) (นาผลเทียบกับเกณฑแ์ ละแปลความหมาย)

1. แบบทดสอบก่อนเรยี น (Pre-test) หน่วยท่ี 8 (ไว้เปรยี บเทยี บกบั คะแนนสอบหลงั เรียน)

2. แบบสงั เกตการทางานกลุ่มและการนาเสนอผลงานกลมุ่ เกณฑผ์ า่ น 50%

3. แบบฝึกหัดหนว่ ยที่ 8 เกณฑ์ผา่ น 50%

4. แบบทดสอบหลงั เรียน (Post-test) หน่วยท่ี 8 เกณฑ์ผ่าน 50%

5. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ตามสภาพจรงิ เกณฑ์ผ่าน 50%

๑๐. เกณฑ์การประเมนิ ผล
นักเรยี นสง่ ทนั ตามเวลาทกี่ าหนดและถูกตอ้ งทุกขอ้ คะแนนเต็ม 5 คะแนน

๑๑. ข้อเสนอแนะ

-

ช่ือวิชา หน้าทพ่ี ลเมอื งและศีลธรรม รหสั วิชา 2000-1501 ท.ป.น 2-0-2
หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 9 เรื่อง สานกึ รกั บ้านเกดิ
สัปดาห์ที่ 14-15 วันท่ี 20 , 27 มกราคม 2563 เวลา 08.15 - 10.15 น.
สาขาวชิ า ยานยนต์ ระดับชน้ั ปวช.3 กลมุ่ 1 - 2 จานวน 33 คน

1. สาระสาคญั
คนไทยที่เกดิ เติบโต อาศัยอยู่บนผืนแผ่นดนิ ไทย มีหนา้ ท่คี วรทาคอื สนใจศึกษาเรยี นร้ใู ห้เขา้ ใจรูจ้ ัก

รากเหง้าความเป็นมาของไทย ประวัตศิ าสตรไ์ ทยและประเทศไทยเพื่อใหเ้ กดิ ความสานึกในความเป็นไทย
สานึกรักแผ่นดินเกิด มีความภูมิใจในประเทศชาติภาคภมู ิใจท่เี กดิ เป็นคนไทย และจงมุ่งม่ันทาแต่ความดีเพ่ือ
ถวายแดใ่ นหลวงพ่อของแผ่นดนิ และตอบแทนบุญคณุ ชาติบา้ นเมือง โดยมุ่งหวงั ให้ประเทศไทยบ้านของเรามี
ความสงบสขุ ร่มเย็นและเจรญิ ก้าวหน้า ย่ังยนื สืบต่อไปชวั่ ลูกช่วั หลาน

2. สมรรถนะการเรยี นรปู้ ระจาหน่วย
แสดงความรเู้ ก่ียวกับสานึกรักบา้ นเกิด

3. จุดประสงค์การเรียนรู้
พุทธพิ ิสยั (ความรู้) Cognitive Domain (K)
- นักเรียนอธบิ ายความหมายของสานึกรกั บ้านเกิด
- นักเรยี นบอกประวัติ ความเป็นมา ข้อมูลสาคัญของไทย
- นักเรยี นอธบิ ายถงึ ความโชคดขี องคนไทยที่มีในหลวง : พอ่ ของแผ่นดนิ
- นกั เรยี นอธบิ ายหน้าที่ของคนไทยที่มตี ่อประเทศ
- นักเรยี นสรุปแนวทางในการตอบแทนบุญคุณแผน่ ดนิ
ทกั ษะพสิ ัย (ทักษะ) Psychomotor Domain (P)
- นักเรยี นแสดงออกด้านการตรงต่อเวลา ความสนใจใฝ่รู้
- นกั เรียนแสดงความคิดเหน็ และวิเคราะห์การทาความดเี พ่ือตอบแทนบุญคณุ แผ่นดนิ
- นักเรียนปฏิบัติตามแนวทางการทาความดีเพื่อตอบแทนบุญคณุ แผ่นดิน
- นกั เรียนความซื่อสตั ย์ สุจริต ความมีนา้ ใจ, แบง่ บัน
- นกั เรยี นความร่วมมือ ความมีมารยาท
จติ พิสัย (เจตคติ) Affective Domain (A)
- นักเรียนแสดงออกถงึ ความมีวินัย ความซื่อสัตย์สจุ รติ
- นักเรียนความสนใจใฝ่รู้ และความคดิ รเิ ร่มิ สร้างสรรค์

๔. บรู ณาการหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
3 ห่วง

4.1 ความพอประมาณ: หมายถึง ความพอดีทไ่ี ม่นอ้ ยเกินไปและไม่มากเกนิ ไปโดยไมเ่ บียดเบียนตนเองและ
ผ้อู ื่น เชน่ การผลิตและการบรโิ ภคท่อี ยู่ในระดับพอประมาณ

- นกั เรียนใชเ้ วลาในการศึกษาเน้อื หา ได้ครบทุกเนื้อหาตามเวลาท่กี าหนดได้อยา่ งเหมาะสม ไมม่ ากไม่
นอ้ ยเกินไป
4.2 ความมีเหตุผล: หมายถึง การตดั สนิ ใจเก่ียวกบั ระดบั ของความพอเพียงน้ัน จะต้องเปน็ ไปอยา่ งมีเหตุผล
โดยพิจารณาจากเหตปุ ัจจัยทเ่ี กย่ี วข้องตลอดจนคานึงถงึ ผลทีค่ าดวา่ จะเกดิ ขึ้นจากการกระทานน้ั ๆ อย่าง
รอบคอบ

- นักเรยี นอธบิ ายหน้าทขี่ องคนไทยที่มีต่อประเทศได้ครบทุกเนื้อหาอยา่ งมีเหตผุ ลโดยพิจารณาจากเหตุ
ปัจจยั ท่เี ก่ยี วข้องและจุดเดน่ ของแตล่ ะเนือ้ หา
4.3 การมีภูมิคุ้มกันทด่ี ใี นตัว: หมายถึง การเตรยี มตวั ใหพ้ ร้อมรับผลกระทบและการเปล่ียนแปลงดา้ นตา่ ง ๆ
ท่ีจะเกิดข้ึนโดยคานงึ ถึงความเปน็ ไปได้ของสถานการณ์ ต่าง ๆ ท่ีคาดว่าจะเกดิ ขน้ึ ในอนาคตท้งั ใกลแ้ ละไกล

- นักเรียนมคี วามรู้ และทักษะในการนาความรู้เก่ียวกบั ปฏบิ ัติตามแนวทางการทาความดีเพอื่ ตอบ
แทนบญุ คุณแผน่ ดินไปประยุกตใ์ ช้ให้เกดิ ประโยชน์ในชวี ติ ประจาวัน การทางานและการศึกษาต่อ
2 เงื่อนไข
คือ การตัดสนิ ใจและการดาเนนิ กจิ กรรมต่าง ๆ ให้อยู่ในระดับพอเพียงนนั้ ต้องอาศัยท้งั ความรู้ และคณุ ธรรม
เปน็ พน้ื ฐาน กลา่ วคือ
 เง่ือนไขความรู:้ ประกอบด้วย ความรอบรูเ้ กีย่ วกบั วิชาการตา่ ง ๆ ทีเ่ ก่ยี วข้องอยา่ งรอบด้าน ความ
รอบคอบทจี่ ะนาความรเู้ หลา่ นน้ั มาพจิ ารณาใหเ้ ชือ่ มโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผน และความ
ระมัดระวังในขั้นปฏบิ ัติ
- นกั เรยี นมคี วามรเู้ กย่ี วกับบอกประวัติ ความเป็นมา ข้อมูลสาคัญของไทย
 เงอื่ นไขคุณธรรม: ที่จะตอ้ งเสริมสร้างประกอบด้วย มีความตระหนกั ในคุณธรรม มีความซ่อื สตั ย์สจุ ริต
และมีความอดทน มีความเพียร ใช้สตปิ ญั ญาในการดาเนนิ ชีวิต
- นกั เรยี นทางานท่ีไดร้ ับมอบหมายดว้ ยความซ่ือสตั ย์ สุจรติ มีความอดทนและและเพยี รพยายามใน
การศึกษาเน้ือหาเพื่อให้เกิดประโยชนใ์ นชวี ิตประจาวัน
๕. คณุ ธรรมจริยธรรม
แสดงออกถงึ ความมวี นิ ัย ความซื่อสตั ย์สุจริต ความสนใจใฝ่รู้ และความคิดรเิ ร่ิมสร้างสรรค์
6. เน้ือหาสาระ
คนไทยมีหน้าที่ของชนชาวไทยตามกฎหมายกาหนด แต่การเป็นพลเมืองดีควรตอบแทนคุณแผ่นดิน

ทาประโยชน์ให้ประเทศชาติ โดยยึดในหลวงเป็นแบบอย่าง จากพระราชกรณียกิจของพระองค์ท่ีก่อให้เกิด

คณุ ประโยชนต์ ่อราษฎร และประเทศชาติ ดงั นน้ั คนไทยทุกคนควรยึดม่นั ในการทาความดี มีความซือ่ สัตย์สุจริต

และทาหน้าทีข่ องตนอยา่ งสมบรณู ์

7. กิจกรรมการเรียนรู้ (สัปดาห์ที่ 14)
ขนั้ นาเขา้ ส่บู ทเรียน
1. ครขู านช่ือนักเรียน
2. ครใู ห้นกั เรียนน่ังสมาธิ หลังจากน้ันทาแบบทดสอบก่อนเรียน (Pre–test)
3. ครนู าเขา้ สู่บทเรียนโดยการสนทนา ซักถาม ตอบคาถาม แลกเปลย่ี นความคิดเห็นและ

ประสบการณ์ การทาความดเี พอ่ื ตอบแทนบุญคุณแผน่ ดนิ
ข้นั สอน
4. ครูอธบิ ายประเดน็ สาคญั ตามหัวขอ้ เร่ืองข้อ 9.1–9.3

5. แบง่ กลุ่มนักเรยี นทากิจกรรมปฏิบตั ิ “Wonderland” และส่งตัวแทนกลุม่ พดู นาเสนอหน้าชัน้ เรียน
6. นักเรยี นปฏิบตั ติ ามใบงานท่ี 4 “เกิดมาต้องรู้จักตอบแทนบุญคุณแผ่นดิน”
ข้นั สรปุ
7. ขนั้ สรุป ครูและนักเรยี นชว่ ยกนั สรุปเนอื้ หาบทเรยี น
กจิ กรรมการเรียนรู้ (สัปดาห์ท่ี 15)
ขน้ั นา
1. ครูขานชื่อนักเรียน
2. ครูให้นกั เรียนนั่งสมาธิ
3. ครูนาเขา้ สบู่ ทเรยี นโดยการสนทนา ซกั ถาม ตอบคาถาม แลกเปล่ียนความคดิ เห็นและ
ประสบการณ์ การทาความดเี พ่อื ตอบแทนบญุ คุณแผน่ ดิน
ขัน้ สอน
4. ครูอธิบายประเดน็ สาคัญตามหัวข้อเร่ืองข้อ 9.4–9.5
5. นกั เรยี นปฏบิ ตั ติ ามใบงานที่ ใบงานที่ 5 “โตไปไม่โกง”
6. ครใู ห้นกั เรียนทาแบบทดสอบหลงั เรียน (Post–test)
ขั้นสรปุ
7. ขน้ั สรุป ครแู ละนกั เรยี นชว่ ยกนั สรปุ เนอื้ หาบทเรยี น
8. ส่อื การเรียนรู้ (หลากหลาย)
1. สอ่ื การเรยี นรู้ หนังสอื เรยี นวิชาหนา้ ทพ่ี ลเมืองและศีลธรรม หนว่ ยท่ี 9, PowerPoint ประกอบการ
สอน และแบบทดสอบก่อนเรียน และหลงั เรยี น
2. แหล่งการเรยี นรู้ หนังสอื วารสารเก่ยี วกับหน้าท่พี ลเมอื งและศลี ธรรม อนิ เทอร์เน็ต
3. รูปภาพที่เกย่ี วขอ้ งกบั เนอ้ื หาบทเรยี น
4. กิจกรรมปฏิบตั ิ “Wonderland”
5. ใบงานท่ี 4 ภาพถา่ ย “เกิดมาตอ้ งตอบแทนบุญคุณแผน่ ดิน”
6. ใบงานท่ี 5 หลกั สูตรครบเดก็ สร้างชาติ “โตไปไมโ่ กง”
การวดั ผลและประเมินผล

การวัดผล การประเมนิ ผล

(ใชเ้ ครือ่ งมอื ) (นาผลเทียบกบั เกณฑ์และแปลความหมาย)

1. แบบทดสอบก่อนเรยี น (Pre-test) หน่วยที่ 9 (ไวเ้ ปรยี บเทยี บกบั คะแนนสอบหลงั เรียน)

2. แบบสงั เกตการทางานกลุ่มและการนาเสนอผลงานกลุ่ม เกณฑ์ผ่าน 50%

3. แบบฝึกหัดหน่วยท่ี 9 เกณฑ์ผ่าน 50%

4. แบบทดสอบหลังเรยี น (Post-test) หนว่ ยท่ี 9 เกณฑผ์ า่ น 50%

5. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ตามสภาพจริง เกณฑ์ผ่าน 50%

๑๐. เกณฑก์ ารประเมนิ ผล
นกั เรยี นสง่ ทันตามเวลาทกี่ าหนดและถูกตอ้ งทกุ ขอ้ คะแนนเต็ม 5 คะแนน

๑๑. ข้อเสนอแนะ

ชือ่ วิชา หนา้ ทพี่ ลเมืองและศลี ธรรม รหสั วิชา 2000-1501 ท.ป.น 2-0-2
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 10 เร่ือง พลเมืองดใี นระบบประชาธปิ ไตย
สัปดาหท์ ่ี 16-17 วันที่ 3 ,10 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 เวลา 08.15 - 10.15 น.
สาขาวชิ า ยานยนต์ ระดบั ชน้ั ปวช.3 กลมุ่ 1 - 2 จานวน 33 คน

1. สาระสาคญั
ประเทศไทยปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษัตริย์ทรงเปน็ ประมุขการเป็นพลเมอื งดใี น

ระบอบประชาธปิ ไตยต้องให้ความสาคัญกบั การเป็นประชาธปิ ไตย พลเมืองดีในระบอบประชาธปิ ไตย คือ
บคุ คลที่ปฏบิ ตั ิตนเปน็ พลเมืองดี ตามวถิ ีประชาธิปไตย มีคณุ ธรรม จริยธรรม ปฏิบตั ิตนตามสถานภาพ
บทบาท สทิ ธิ เสรีภาพและหน้าที่ รวมทง้ั มีจิตสาธารณะต่อสังคมและประเทศชาติ

การปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดี ยอ่ มทาให้สังคมเกิดสนั ตสิ ขุ นอกจากจะทาใหเ้ กดผลดีตอ่ ตนเอง ชุมชน
ประเทศชาติแลว้ ยงั ทาให้การพัฒนาประเทศเจรญิ กา้ วหนา้ และเป็นท่ียอมรบั ของประชาคมโลก

2. สมรรถนะการเรียนร้ปู ระจาหน่วย
นาหลกั ศาสนา หลกั ธรรม หลกั กฎหมายและหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้เพื่อการ

เป็นพลเมืองดี

3. จดุ ประสงค์การเรียนรู้
พทุ ธิพิสัย (ความรู้) Cognitive Domain (K)
- นกั เรียนบอกความหมายของพลเมืองดี
- นกั เรียนบอกแนวทางปฏบิ ตั ิตามพลเมืองดี
- นกั เรียนอธิบายความสาคัญของการปฏิบัตติ นเปน็ พลเมอื งดี
- นกั เรยี นบอกประโยชน์ของการเปน็ พลเมืองดี
- นักเรียนฝกึ ปฏิบตั ติ นเป็นพลเมอื งดี
ทักษะพสิ ัย (ทกั ษะ) Psychomotor Domain (P)
- นักเรียนแสดงออกด้านการตรงตอ่ เวลา ความสนใจใฝ่รู้
- นกั เรยี นความซือ่ สตั ย์ สจุ รติ ความมีนา้ ใจ, แบ่งบนั
- นักเรยี นความร่วมมือ ความมีมารยาท
จิตพิสยั (เจตคต)ิ Affective Domain (A)
- นกั เรยี นแสดงออกถงึ ความมวี ินยั ความซื่อสตั ยส์ ุจรติ
- นกั เรยี นความสนใจใฝ่รู้ และความคิดริเริม่ สรา้ งสรรค์

๔. บรู ณาการหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
3 ห่วง

4.1 ความพอประมาณ: หมายถึง ความพอดีที่ไมน่ อ้ ยเกนิ ไปและไมม่ ากเกนิ ไปโดยไม่เบียดเบยี นตนเองและ
ผู้อื่น เช่นการผลติ และการบรโิ ภคท่อี ยใู่ นระดบั พอประมาณ

- นกั เรยี นใช้เวลาในการศกึ ษาเน้อื หา ได้ครบทกุ เนือ้ หาตามเวลาทกี่ าหนดได้อย่างเหมาะสม ไม่มากไม่
น้อยเกินไป
4.2 ความมเี หตผุ ล: หมายถึง การตดั สินใจเก่ยี วกับระดบั ของความพอเพียงนน้ั จะต้องเปน็ ไปอยา่ งมเี หตุผล
โดยพจิ ารณาจากเหตปุ ัจจัยทเ่ี กย่ี วขอ้ งตลอดจนคานงึ ถึงผลทค่ี าดวา่ จะเกิดขน้ึ จากการกระทาน้ัน ๆ อย่าง
รอบคอบ

- นักเรยี นอธบิ ายความสาคัญของการปฏิบตั ติ นเปน็ พลเมอื งดีได้ครบทุกเนื้อหาอยา่ งมเี หตุผลโดย
พจิ ารณาจากเหตุปจั จัยทเ่ี กีย่ วขอ้ งและจุดเดน่ ของแตล่ ะเนื้อหา
4.3 การมภี ูมคิ ุ้มกันทด่ี ีในตวั : หมายถึง การเตรียมตวั ใหพ้ ร้อมรบั ผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงด้านต่าง ๆ
ท่จี ะเกิดขน้ึ โดยคานึงถึงความเป็นไปได้ของสถานการณ์ ตา่ ง ๆ ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคตทั้งใกลแ้ ละไกล

- นักเรียนมคี วามรู้ และทักษะในการนาความรเู้ ก่ียวกับบอกประโยชน์ของการเปน็ พลเมอื งดีไป
ประยุกตใ์ ชใ้ ห้เกดิ ประโยชนใ์ นชีวิตประจาวัน การทางานและการศึกษาต่อ
2 เง่อื นไข
คอื การตัดสินใจและการดาเนนิ กิจกรรมตา่ ง ๆ ให้อยูใ่ นระดับพอเพียงน้ันต้องอาศัยท้งั ความรู้ และคณุ ธรรม
เป็นพ้นื ฐาน กลา่ วคือ

 เงือ่ นไขความรู้: ประกอบด้วย ความรอบรเู้ กี่ยวกบั วชิ าการต่าง ๆ ทเี่ กีย่ วข้องอยา่ งรอบด้าน ความ
รอบคอบท่ีจะนาความรู้เหล่าน้ันมาพจิ ารณาใหเ้ ชื่อมโยงกนั เพ่ือประกอบการวางแผน และความ
ระมดั ระวังในขน้ั ปฏบิ ัติ

- นักเรียนมคี วามรเู้ กย่ี วกับบอกแนวทางปฏบิ ตั ิตามพลเมอื งดี
 เงอื่ นไขคุณธรรม: ที่จะตอ้ งเสริมสรา้ งประกอบดว้ ย มีความตระหนกั ในคุณธรรม มีความซื่อสัตย์สจุ ริต

และมคี วามอดทน มีความเพียร ใชส้ ติปัญญาในการดาเนินชีวิต
- นกั เรยี นทางานท่ีได้รับมอบหมายดว้ ยความซ่ือสัตย์ สจุ ริต มีความอดทนและและเพยี รพยายามใน
การศึกษาเน้ือหาเพื่อให้เกิดประโยชน์ในชวี ิตประจาวนั
๕. คุณธรรมจรยิ ธรรม
แสดงออกถึงความมีวินัย ความซื่อสัตย์สุจริต ความสนใจใฝร่ ู้ และความคดิ รเิ ริ่มสร้างสรรค์
6. เน้อื หาสาระ

พลเมืองดี คือ บุคลผู้ปฏิบัติตนตามกฎหมายของประเทศ ให้ความสาคัญกับการดาเนินชีวิตในวิถี

ประชาธิปไตย มคี ุณธรรมจริยธรรม ปฏิบัติตนตามสถานะภาพ บทบาท สิทธิ เสรภี าพ และหน้าท่ขี องตน มีจิต

สาธารณะ ทาความดีเพอ่ื ตนเอง และสงั คม

หลักการทางประชาธิปไตยที่สาคัญได้แก่ หลักอานาจอธิปไตย หลักความเสมอภาค หลักนิติธรรม

หลกั เหตุผล และหลกั ยดึ ถอื เสยี งข้างมาก

แนวทางการปฏบิ ตั ติ นเปน็ พลเมืองดีตามวิถปี ระชาธิปไตย จะครอบคลุมทั้งด้านสังคม เศรษฐกิจ และ

การเมือการปกครอง

คุณสมบัติของพลเมืองในระบอบประชาธิปไตย คือ การมีอิสรภาพ ความเท่าเทียมกันการยอมรับ

ความแตกต่าง การเคารพสิทธิผู้อ่ืน ความรับผิดชอบต่อสังคม รวมถึงความเข้าใจและมีส่วนร่วมในระบอบ

ประชาธิปไตย

การปฏิบัตติ นเป็นพลเมืองดตี ามหลักคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ดว้ ยหลกั คารวธรรม สามัคคธี รรม

ปัญญาธรรม

การปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดีตามสถานภาพ บทบาท สิทธิ เสรีภาพ หน้าที่ และการมีจิตสาธารณะต่อ

สังคมและประเทศชาติ

การปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดี มีความสาคัญมากเพราะก่อให้เกิดประโยชน์ต่อตนเองและสังคม สังคม

ย่อมมีความสงบสุข เป็นระเบียบเรียบร้อย เกิดความรักความสามัคคีในหมู่คณะ สังคมประเทศชาติพัฒนา

เจริญกา้ วหน้าอยา่ งม่ันคง

7. กิจกรรมการเรยี นรู้ (สปั ดาหท์ ี่ 16)
ข้นั นาเขา้ สู่บทเรียน
1. ครขู านช่ือนักเรยี น
2. ครใู ห้นกั เรียนนั่งสมาธิ หลังจากนัน้ ทาแบบทดสอบก่อนเรียน (Pre–test)
3. ครนู าเขา้ สูบ่ ทเรียนโดยการสนทนา ซักถาม ตอบคาถาม แลกเปล่ียนความคิดเหน็ และ

ประสบการณ์ การเปน็ พลเมอื งดี
ข้นั สอน
4. ครอู ธบิ ายประเดน็ สาคญั ตามหวั ข้อเรื่องข้อ 10.1–10.3
5. นกั เรียนช่วยกันอภิปรายแนวทางการปฏบิ ตั ิตนเป็นพลเมอื งดีและประโยชนข์ องพลเมืองดี
6. ครูให้นกั เรยี นแบ่งกลุ่มตามความสมัครใจ กล่มุ ละ 6-8 คน แสดงบทบาทสมมตุ ิการปฏบิ ตั ิตนเป็น

พลเมืองดี โดยแตล่ ่ะกลมุ่ สมมุติสถานการณ์ข้นึ เอง
ขั้นสรปุ
7. ครูและนักเรยี นชว่ ยกนั สรปุ เน้อื หาบทเรยี น

กจิ กรรมการเรียนรู้ (สัปดาห์ท่ี 17)
ข้ันนาเข้าสบู่ ทเรียน
1. ครูขานชื่อนักเรียน
2. ครนู าเขา้ สู่บทเรียนโดยการสนทนา ซักถาม ตอบคาถาม แลกเปล่ยี นความคิดเห็นและ

ประสบการณ์ การเปน็ พลเมืองดี
ขน้ั สอน
3. ครทู บทวนประเด็นสาคัญตามหวั ขอ้ เร่ืองข้อ 10.1–10.3
4. นักเรยี นแสดงบทบาทสมมุติของกลุ่มตามหัวเรอ่ื งที่เสนอ
5. ให้นักเรียนทาแบบฝกึ หดั หน่วยที่ 10 และเฉลย
6. ครใู หน้ ักเรยี นทาแบบทดสอบหลงั เรยี น (Post–test)
ข้นั สรปุ
7. ครแู ละนักเรยี นช่วยกันสรปุ เน้อื หาบทเรียน

8. ส่อื การเรียนรู้ (หลากหลาย)
1. ส่ือการเรียนรู้ หนังสือเรียนวชิ าหน้าทพ่ี ลเมืองและศีลธรรม หน่วยที่ 10, PowerPoint

ประกอบการสอน และแบบทดสอบก่อนเรียน และหลังเรียน
2. แหล่งการเรียนรู้ หนงั สอื วารสารเกย่ี วกบั หนา้ ท่ีพลเมืองและศีลธรรม อนิ เทอรเ์ น็ต

การวดั ผลและประเมินผล

การวัดผล การประเมินผล

(ใชเ้ ครือ่ งมอื ) (นาผลเทยี บกับเกณฑแ์ ละแปลความหมาย)

1. แบบทดสอบก่อนเรยี น (Pre-test) หนว่ ยที่ 10 (ไวเ้ ปรยี บเทยี บกับคะแนนสอบหลังเรียน)

2. แบบสังเกตการทางานกลุ่มและการนาเสนอผลงานกลุ่ม เกณฑผ์ ่าน 50%

3. แบบฝกึ หัดหนว่ ยที่ 10 เกณฑ์ผ่าน 50%

4. แบบทดสอบหลังเรียน (Post-test) หน่วยที่ 10 เกณฑผ์ า่ น 50%

5. แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรม ตามสภาพจริง เกณฑ์ผา่ น 50%

๑๐. เกณฑก์ ารประเมนิ ผล
นักเรยี นส่งทนั ตามเวลาทก่ี าหนดและถูกต้องทุกขอ้ คะแนนเตม็ 10 คะแนน

๑๑. ข้อเสนอแนะ

-


Click to View FlipBook Version