คำนำ
การปลูกฝังคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ถือได้ว่าเป็นการพัฒนา
ผู้เรียนให้สมบรู ณ์ท้ังด้านร่างกายและจิตใจซ่ึงสาคัญยงิ่ การสร้างผู้เรียนให้เข้มเเข็งให้มีความพร้อมใหร้ ู้ เทา่ ทันการ
เปล่ยี นแปลงของสังคมโลก สง่ ผลให้ผเู้ รียนสามารถดารงชวี ติ ในสังคมได้อยา่ งมคี วามสขุ
ผู้บริหาร ครูบุคลากรทางการศึกษาและนักเรียนในสถานศึกษาทุกคนมีความเข้าใจหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงท่ีถูกต้องและมีแนวทางการขับเคลื่อนท่ีตรงกัน เป็นปัจจัยท่ีสาคัญอย่างย่ิงต่อความสาเร็จในการ
ขบั เคลือ่ นปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งในสถานศึกษา ทม่ี ุง่ สกู่ ารมคี ณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ตามหลักปรชั ญาของ
เศรษฐกิจพอเพยี ง
โรงเรียนปางศิลาทองศึกษา ได้นาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาบูรณาการสู่การเรียนการสอน ๘ กลุ่ม
สาระและจัดทาฐานการเรียนรู้จานวน 9 ฐานเพ่ือให้นักเรียนได้ฝึกปฏิบัติจริงทาให้ผู้เรียนได้รับความรู้และ
ประสบการณ์ตรง ฝึกการทางานร่วมกับผู้อ่ืน มีน้าใจ มีความสามัคคี รู้จักแบ่งปัน ช่วยเหลือผู้อ่ืนและสามารถ
นาไปใชใ้ นการดาเนินชวี ติ ประจาวันได้อย่างมคี วามสขุ
นายธนายทุ ธ คลังวงษ์
ผอู้ านวยการโรงเรยี นปางศลิ าทองศึกษา
สำรบญั หนำ้
เร่ือง
คำนำ 1
สำรบัญ 3
แบบประเมินตนเองเพ่ือเปน็ ศนู ย์กำรเรยี นรูต้ ำมหลักปรชั ญำของเศรษฐกิจพอเพยี งดำ้ นกำรศกึ ษำ 3
เหตุผลที่สถำนศกึ ษำขอรบั กำรประเมินเป็นศนู ย์กำรเรียนรูต้ ำมปรชั ญำของเศรษฐกจิ พอเพียง 4
ดำ้ นกำรศกึ ษำ 4
ขอ้ มูลท่ัวไป 5
6
- จานวนครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา
- จานวนนักเรียนจาแนกตามระดบั ชั้น 7
- บรบิ ทของสถานศึกษา / ลักษณะชมุ ชน / ภูมิสังคม 7
- เอกลักษณ์ของสถานศึกษา / อตั ลกั ษณข์ องนักเรียน 8
- แหลง่ เรยี นรตู้ ามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 9
แนวทำงในกำรดำเนินกำรในดำ้ นตำ่ ง ๆ ซงึ่ สมควรไดร้ บั กำรประเมนิ ผ่ำนเป็นศนู ย์กำรเรยี นรูต้ ำม 9
หลกั ปรัชญำของเศรษฐกิจพอเพยี งด้ำนกำรศกึ ษำแผนผงั ฐำนกำรเรียนรู้ตำมหลักปรัชญำ
ของเศรษฐกิจพอเพยี ง 10
- การบรหิ ารจดั การ 10
- บคุ ลากร 10
- งบประมาณ 11
- แหล่งเรยี นรู้ 11
วิธกี ำรพัฒนำสถำนศกึ ษำพอเพียงให้เป็นศนู ย์กำรเรียนร้ตู ำมหลักปรัชญำของ 11
เศรษฐกิจพอเพียงด้ำนกำรศึกษำ 12
- การบริหารจดั การในสถานศึกษา 12
- การพัฒนาบุคลากรของสถานศกึ ษา 15
- การจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนเพ่ือพฒั นาผเู้ รียน
- การจดั สภาพแวดล้อมและกิจกรรมฐานการเรียนรูต้ ามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
- ความสมั พันธช์ มุ ชนกับหนว่ ยงานภายนอก
ข้อมูลดำ้ นบคุ ลำกร
- ผูบ้ รหิ าร
- ครูและบคุ ลากรทางการศึกษา
สำรบัญ ( ต่อ ) หนำ้
เร่อื ง 18
18
- นกั เรียน 19
- คณะกรรมการสถานศึกษา 20
ข้อมูลด้ำนอำคำรสถำนที่ / แหลง่ เรียนรู้ / สง่ิ แวดล้อม 22
ดำ้ นควำมสมั พนั ธ์กบั ชุมชนและหน่วยงำนภำยนอก 23
ภำคผนวก 24
เรื่องเล่าของครูเก่ียวกบั การดาเนินชีวติ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 26
เรื่องเล่าของครเู ก่ียวกบั เรื่องการออกแบบการเรียนรูเ้ พ่ือเสริมสร้างอปุ นิสยั พอเพยี ง 27
เรื่องเล่าของนักเรยี นแกนนา
ภาพถา่ ยท่เี กย่ี วข้อง
แบบโรงเรียนประเมินตนเอง
เพื่อเป็นศูนยก์ ารเรียนรู้ตามปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ดา้ นการศึกษา
ชือ่ สถานศึกษา โรงเรียนปางศิลาทองศกึ ษา สงั กดั สานกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษามธั ยมศึกษากาแพงเพชร
สถานที่ตัง้ 107 หมู่ที่ 17 ตาบลโพธท์ิ อง อาเภอปางศลิ าทอง จังหวดั กาแพงเพชร
โทรศัพท์ 055-868884 โทรสาร 055-868886
ชอ่ื -สกุล ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา นายธนายทุ ธ คลงั วงษ์ โทรศพั ท์ 089-0062455
โทรสาร 055 – 8688886 E-mail [email protected]
ตวั ช้ีวัด คะแนนประเมิน
คะแนนเตม็ คะแนนทไ่ี ด้
1.บคุ ลากร
1.1 ผบู้ ริหาร 35 (5) 35 (5)
1.2 ครู 10 10
1.3 นกั เรียน 10 10
1.4 คณะกรรมการสถานศึกษา 10 10
55
2. การจัดการสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพ คะแนนรวม (เฉลี่ยรายด้าน)
2.1 อาคาร สถานท่ี และสิ่งแวดลอ้ ม 10 (5) 10 (5)
2.2 ฐานการเรยี นรู้ ปศพพ. และ/หรอื กจิ กรรมการเรียนรู้ ปศพพ. 55
55
3. ความสัมพนั ธก์ บั หน่วยงานภายนอก คะแนนรวม (เฉล่ียรายดา้ น)
3.1 ความสัมพนั ธก์ ับสถานศกึ ษาอน่ื ในการขยายผลการขับเคล่ือน 10 (5) 10 (5)
55
ปศพพ.
3.2 ความสัมพนั ธก์ ับหน่วยงานท่ีสังกดั และ/หรือหนว่ ยงานภายนอก 55
(ภาครัฐ ภาคเอกชน และชมุ ชน)
(ลงชอ่ื )..... ............................ผู้ประเมนิ ตนเอง
(นายธนายุทธ คลังวงษ)์
ตาแหนง่ ผูอ้ านวยการโรงเรยี นปางศลิ าทองศึกษา
วันที่ 1 ตลุ าคม พ.ศ. 2564
1
ชอ่ื สถานศึกษา โรงเรยี นปางศลิ าทองศึกษา สงั กดั สานักงานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษามัธยมศึกษา
กาแพงเพชร สถานท่ีตง้ั 107 ถนน - ตาบล/แขวง โพธ์ทิ อง อาเภอ / เขต ปางศลิ าทอง จังหวัด กาแพงเพชร
รหัสไปรษณีย์ 62120 โทรศัพท์ 055-868884 โทรสาร 055-868886 Website www.pslt.ac.th
ชอ่ื -สกลุ ผอู้ านวยการสถานศกึ ษา นายธนายุทธ คลังวงษ์ โทรศพั ท์ 08-9006-2455
ชอ่ื -สกลุ รองผอู้ านวยการสถานศกึ ษา นางศรปี ระไพร เจาะขาว โทรศพั ท์ 08-1498-1540
ชอื่ -สกุลรองผอู้ านวยการสถานศกึ ษา นางสาวรจนา แกว้ ตา โทรศัพท์ 09-5639-9605
ชอื่ -สกุลครูแกนนา นายจริ ะวัฒน์ โรจนศิลป์ โทรศัพท์ 09-1843-9079
ชื่อ-สกุลครูแกนนา นายอมรเทพ พกุ นัด โทรศัพท์ 09-8784-2123
ชื่อ-สกลุ ครแู กนนา นางสุภาพร เอีย๋ วศริ ิ โทรศัพท์ 08-8280-3098
ชอ่ื -สกลุ ครแู กนนา นายขวญั ชัย พรมเจยี ม โทรศพั ท์ 09-3178-4713
ชื่อ-สกลุ ครแู กนนา นางสาวบุษยา คมขา โทรศัพท์ 09-4753-0665
ชอ่ื -สกุลครแู กนนา นายมาวิน จันทร์สา โทรศัพท์ 08-6383-5495
ชอ่ื -สกลุ ครแู กนนา นางสาวกชพรรณ ต.เจริญ โทรศพั ท์ 08-3487-2244
ชอ่ื -สกลุ ครแู กนนา นางนทิ ศั วรรณ เมฆสว่าง โทรศัพท์ 08-7521-4086
ช่ือ-สกลุ ครแู กนนา นางสาววราทิพย์ โพธ์ิทอง โทรศัพท์ 08-9494-9962
ชอื่ -สกลุ ครูแกนนา นางปวริสา วาปี โทรศพั ท์ 09-5307-4530
ชอ่ื -สกุลครูแกนนา นางสาววิไลวรรณ คาบาง โทรศัพท์ 08-9562-5616
1. เหตผุ ลทีส่ ถานศึกษาขอรบั การประเมินเปน็ ศูนย์การเรยี นรูต้ ามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ด้าน
การศกึ ษา
โรงเรียนปางศิลาทองศึกษาได้มีการนาหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง มาจัดการศกึ ษาให้กับผเู้ รยี น
การจดั กิจกรรมการเรยี นการสอนของโรงเรยี นในปจั จุบนั นั้นไดใ้ ห้ความสาคญั แกผ่ เู้ รยี นเป็นอย่างมาก เพื่อให้ผูเ้ รียน
เกิดการเรยี นรู้ด้วยตนเองและเปน็ ความรู้ทีย่ ั่งยนื มปี ระสทิ ธิภาพและประสิทธิผล นาสกู่ ารดาเนนิ ชีวติ ตามแนวทาง
เศรษฐกจิ พอเพียงของผู้เรียน ตลอดจนคณะผบู้ ริหารครูบุคลากรทางการศึกษาและชมุ ชนอย่างต่อเนอ่ื ง โรงเรยี นได้
ตระหนกั ถึงการจดั การศึกษาตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงซง่ึ เป็นบทบาทหน้าทท่ี ต่ี อ้ งรว่ มมือกนั ระหว่าง
หนว่ ยงานทางการศึกษา สงั คม ชุมชน และครอบครัว เพือ่ เสริมสรา้ งและพฒั นาพร้อมรบั กระแสโลกาภิวัตน์และเป็น
แบบอยา่ งที่ดสี ูเ่ ป้าหมายทส่ี าคัญ คือ คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ “อยอู่ ยา่ งพอเพียง” ให้เปน็ วิถีปฏบิ ตั ขิ องครแู ละ
บุคลากรทางการศึกษา ในการบรหิ ารจัดการสถานศึกษานน้ั การจัดทาหลกั สูตรการจัดการเรยี นการสอนและการ
จดั กิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี นจะทาให้ผู้เรียนมคี ุณลักษณะ“อยู่อย่างพอเพียง”ได้อยา่ งถาวรดว้ ยความเชอื่ ม่ันในหลกั การ
ท่วี ่า หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งนนั้ เปน็ สง่ิ ที่สามารถสร้างข้นึ ได้ในสงั คมทกุ ระดบั เพ่อื ท่จี ะไดน้ าสงั คมไทยสู่
2
“สงั คมอยู่เย็นเปน็ สขุ ร่วมกนั ” ซง่ึ อปุ นิสยั พอเพยี งทีเ่ กิดขนึ้ ในตัวผูเ้ รียน จะได้นาพาสังคมไทยใหเ้ ป็นสงั คมทีม่ นั่ คง
และยง่ั ยืนต่อไป
โรงเรยี นปางศิลาทองศึกษาใช้หลกั การบรหิ ารจัดการแบบมีสว่ นรว่ มโดยยดึ หลัก PSACP MODEL
รูปแบบการบริหารจัดการสถานศึกษา
โรงเรียนปางศิลาทองศึกษายึดหลัก PSACP
MODEL มีหลักการบริหารดังน้ี Policy Clear
นโยบายการพัฒนาท่ีชัดเจนการกาหนดขึ้นจาก
ข้อมูลที่เป็นจริง มิใช่ความคิดเห็นส่วนตัวของ
ผู้บริหารมีความคิดเห็น ขอ้ เสนอแนะ จากบคุ ลากร
ท่ีเกีย่ วข้องและมวี ัตถุประสงค์ทช่ี ัดเจน Standard
of Works มีการกาหนดมาตรฐานการปฏิบตั ิงาน อยู่ในระดับท่ีผู้ปฏิบัติงานสว่ นใหญ่สามารถทาได้ โดยจะมีกรอบ
ในการพิจารณากาหนดมาตรฐานหลายด้าน เช่น ด้านปริมาณ คุณภาพ ระยะเวลา ค่าใช้จ่าย หรือพฤติกรรมของ
ผู้ปฏิบัติงาน Assessment การติดตามและประเมินผล มีการกาหนดกรอบ แนวทาง และวิธีการ ในการติดตาม
และประเมินผลท่ีชัดเจน Conversation all Level การสื่อสารทุกระดับ ส่งผลให้การปฏิบัติงานตามนโยบาย
เป็นไปในทิศทางเดียวกัน บุคลากรในโรงเรียนเกิดความพึงพอใจ และเข้าใจนโยบายได้อย่างชัดเจน และส่งผลต่อ
ประสทิ ธิภาพในการทางาน Participation all of Section การมีสว่ นรว่ มทุกภาคส่วน การสรา้ งให้เกิดการมีส่วน
ร่วมในทุกภาคภายในองค์การและนอกองค์กร นอกจากน้ันผู้บริหารมีคุณลักษณะของผู้บริหารพอเพียง มีการ
บริหารจัดการสถานศึกษาที่สอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ทางด้านนโยบายและการปฏิบัติตน
เป็นแบบอย่าง เป็นเหตุเป็นผล พอประมาณ ตลอดจนเป็นแบบอย่างท่ีดีในการใช้ความรู้ควบคู่คุณธรรมในการ
ดาเนินชีวิต เพ่ือสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีต่อการเปลี่ยนแปลง ให้กับตนเองและสถานศึกษา อีกทั้งยังมีการขยายผลการ
ขับเคลอื่ นหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงสูช่ มุ ชน
มีการจัดกิจกรรมส่งเสริมการดาเนินชีวิต ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงให้แก่บุคลากร จัดทา
โครงการพัฒนาบุคลากร เพ่ือนามาพฒั นางานและการจัดการเรยี นการสอนในรูปแบบการบรู ณาการองค์ความรู้เข้า
กับกลุ่มสาระการเรียนรู้ โดยสอดแทรกเนื้อหาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ควบคู่ไปกับการใช้คุณธรรมใน
การดาเนินชีวิตให้กับผู้เรียนพร้อมทั้งขยายผลสู่ชุมชนอย่างต่อเน่ือง โรงเรียนปางศิลาทองศึกษามีนักเรียนที่เป็น
แกนนาการน้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการดาเนินชีวิต รวมทั้งมีส่วนร่วมในการขับเคลื่อน
หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งส่ภู ายนอกสถานศกึ ษา รว่ มอนุรักษ์ ฟืน้ ฟู รักษา วฒั นธรรมอนั ดีงาม ใหอ้ ยคู่ วบคู่
สถานศึกษาและชุมชนอย่างยั่งยืน พร้อมท้ังมีการพัฒนาตนเองและเพื่อนนักเรียนที่เป็น แกนนาอย่างต่อเนื่อง
คณะกรรมการสถานศึกษาของโรงเรยี นปางศิลาทองศึกษา มบี ทบาทในการให้การสนับสนนุ ส่งเสรมิ สถานศึกษาใน
การขับเคล่ือนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีการประชุมปรึกษาหารือ เพ่ือหาแนวทางใน การส่งเสริม
3
กจิ กรรมการเรียนร้ขู องครแู ละนักเรยี น โดยสอดแทรกหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งในกระบวนการ เรียนรู้อยู่
เสมอ
อาคารสถานท่ีและสิ่งแวดล้อม โรงเรียนปางศิลาทองศึกษามีการบริหารจัดการด้านอาคารสถานที่และ
แหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรียน โรงเรียนมีอาคารเรียนท้ังหมด 7 หลัง อาคารหอประชุมอเนกประสงค์ 1 หลัง มี
แหล่งเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จานวน 9 ฐาน ได้แก่ ฐานการเรียนรู้การแยกขยะ ฐานการ
เรียนรู้ปุ๋ยหมัก ฐานการเรียนรู้การปลกู มะละกอ ฐานการเรียนรู้การปลกู มะนาว ฐานการเรียนรู้หญ้าแฝก ฐานการ
เรียนรู้การปลูกกล้วย ฐานการเรียนรู้เกษตรผสมผสาน ฐานการเรียนรู้เลี้ยงเป็ดไข่ และฐานการเรียนรู้ธนาคาร
โรงเรยี น
ความสัมพันธ์กับชุมชนและหน่วยงานภายนอก ชุมชนให้ความสาคัญและสนับสนุนทางโรงเรียนในการ
ดาเนินกิจกรรมท่ีหลากหลาย เพื่อปลูกฝังให้ผู้เรียนเกิดจิตอาสาอย่างมีส่วนร่วมในกิจกรรมเพื่อสังคมและ
สาธารณประโยชน์ โดยยึดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เช่น โครงการกิจกรรมเพื่อสังคมและ
สาธารณประโยชน์ ของผู้เรียนในแต่ละระดับช้ัน กิจกรรมวันสาคัญทางศาสนา โรงเรียนมีฐานการเรียนรู้ตามหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ให้กับชุมชนและหน่วยงานอื่นมาศึกษาดูงานและถ่ายทอดความรู้ประสบการณ์แก่
โรงเรียนในเครือข่าย โรงเรียนประสานความร่วมมือกับหน่วยงานภายนอก เพ่ือขับเคล่ือนหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงอยา่ งต่อเนื่อง จนได้รับการยอมรบั จากหน่วยงานภายนอก จากวธิ ดี ังกล่าวทาให้โรงเรียนปางศิลา
ทองศึกษา มคี วามพรอ้ มในการเปน็ โรงเรยี นตน้ แบบและศูนย์การเรยี นรู้ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้าน
การศึกษา โดยตระหนักและนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ไปใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนและ
ใช้เป็นวถิ ชี ีวิตอย่างยง่ั ยืนต่อไป
2. ข้อมูลท่ัวไป
2.1 จานวนครูและบุคลากรทางการศึกษา (รวมครอู ัตราจ้าง) ปกี ารศึกษา 2563
จานวนจาแนกตามระดบั การศกึ ษา / กลุ่มสาระการเรยี นรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ตา่ กว่า ปริญญาตรี ปริญญาโท สูงกวา่ รวม
ปริญญาตรี ปริญญาโท
ภาษาไทย -3 2 - 5
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี - 5 10 - 15
คณิตศาสตร์ -3 5 - 8
สังคมศึกษา ฯ - 8 2 - 10
สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา -5 - - 5
ศิลปะ - 3 - - 3
การงานอาชีพ -2 1 - 3
4
จานวนจาแนกตามระดบั การศกึ ษา / กลุ่มสาระการเรยี นรู้
กลมุ่ สาระการเรียนรู้ ตา่ กว่า ปรญิ ญาตรี ปรญิ ญาโท สูงกวา่ รวม
ปริญญาตรี ปริญญาโท
ภาษาต่างประเทศ 6 4 10
บคุ ลากรทางศึกษา - 2 - - 2
รวมทัง้ สิน้ - 37 24 - 61
- -
2.2 จานวนนกั เรียนจาแนกตามระดบั ช้ัน ปกี ารศึกษา 2563
จานวนนักเรยี น
ระดบั ชน้ั ทง้ั หมด นกั เรยี นทีม่ ีคณุ ลกั ษณะอยู่อยา่ ง จานวนนกั เรียนแกนนา
พอเพยี ง (จานวนคน / ร้อยละ) ขับเคล่ือน
ระดบั มัธยมศึกษา
ชัน้ มัธยมศึกษาปที ่ี 1 175 175 / 100.00 25 / 14.28
ช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 2 122 122 / 100.00 25 / 20.49
ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3 152 152 / 100.00 25 / 16.44
ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 157 157 / 100.00 25 / 15.92
ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 5 141 141 / 100.00 25 / 17.73
ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 6 162 162 / 100.00 25 / 15.43
รวมท้ังสนิ้ 909 909 / 100.00 150 / 16.50
หมายเหตุ นกั เรียนปีการศกึ ษา 2563 ( ผลการวดั ผลประเมินผลภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 2563 )
2.3 บรบิ ทของสถานศกึ ษา / ลกั ษณะชุมชน / ภูมิสงั คม
บริบทของสถานศึกษา
โรงเรยี นปางศลิ าทองศึกษา เป็นโรงเรยี นมัธยมศึกษาประจาอาเภอปางศลิ าทอง สงั กัดสานักงานเขตพ้ืนที่
การศกึ ษามัธยมศึกษากาแพงเพชร สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ เร่ิมเปิดทา
การสอนในระดับชัน้ มัธยมศึกษาปที ่ี 1 ปีการศึกษา 2536 มีที่ดินจานวน 36 ไร่ 3 งาน 70 ตารางวา ปัจจุบันเปดิ
สอนตั้งแต่ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1 ถึงระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6 ปัจจุบันมีครูผู้สอนทั้งหมด 61 คน จานวนนักเรียน
991 คน (ข้อมูล ณ วันที่ 25 มถิ นุ ายน 2564)
ปัจจุบันโรงเรียนปางศิลาทองศึกษา มีผู้อานวยการโรงเรียนคือ นายธนายุทธ คลังวงษ์ รองผู้อานวยการ
โรงเรียน นางศรปี ระไพร เจาะขาว และ นางสาวรจนา แกว้ ตา โดยใช้หลักการบริหารงานของโรงเรียนปางศิลาทอง
5
ศึกษา ใช้หลักบริหารร่วมกันทุก ๆ ฝ่าย และทุกฝ่ายต่างมีส่วนร่วมในการดาเนินงานตามการจัดทาโครงสร้าง
บริหารงานของโรงเรียน ครูทกุ คนมีสว่ นร่วมในการดาเนนิ งานด้วยการบริหารงานแบบ PSACP MODEL
โรงเรียนตง้ั อยู่ในชุมชนตาบลโพธ์ทิ องและตดิ กับภูเขาชุมแสงทาใหม้ บี รรยากาศของโรงเรียนปางศิลาทอง
ศึกษา รม่ ร่นื สะอาดและปลอดภัยเออื้ ต่อการจดั การเรยี นการสอน ทางโรงเรียนไดส้ ง่ เสรมิ ศิลปวฒั นธรรมและมี
ส่วนรว่ มในการอนุรักษ์ประเพณีในท้องถิ่นเช่น การแหเ่ ทยี นเข้าพรรษา งานประจาปีของตาบล หินชะโงก การเขา้
รว่ มประเพณลี อยกระทง งานกฐินของวัดในชุมชนท่ีใกล้เคยี งกบั โรงเรียนปางศิลาทองศกึ ษา ผู้ปกครองสว่ นใหญ่
จบการศึกษาระดับประถมศึกษาปที ่ี 4 ถึงช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 ประชาชนมีฐานะทางเศรษฐกจิ รายได้ปานกลาง
จานวนคนเฉลี่ยต่อครอบครวั 3-4 คนชมุ ชนแวดล้อมอย่ใู นเขตพื้นท่ีบรกิ ารของโรงเรียนปางศิลาทองศึกษา มีหลาย
กลุ่มซงึ่ อพยพมาจากตา่ งจังหวัด บคุ คลเหล่านม้ี ที ง้ั มาจากภาคอสี าน ภาคเหนือและภาคกลางไดเ้ ข้ามาบุกเบิกทามา
หากิน รวมตัวกนั เป็นกลุ่ม เป็นหมบู่ า้ น ซึ่งได้ขยายออกไปเป็นชมุ ชนแวดล้อมดงั กลา่ ว ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพ
เกษตรกรปลูกพชื หลายชนดิ เชน่ ข้าวอ้อยและมนั สาปะหลงั โดยเฉพาะมนั สาปะหลงั เปน็ พืชท่ีปลกู มากทส่ี ดุ
ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธมีศาสนาคริสต์บางส่วน ส่งผลให้มีประเพณีต่าง ๆ เช่น แห่เทียน
เข้าพรรษา ทาบุญกลางบ้าน ทาขวัญ ตักบาตรเทโว ฯลฯ โดยภาพรวมชุมชนยังยึดถือและดาเนินชีวิตตามแนวของ
ชาวพทุ ธโดยทั่วไป
ด้านความคิดและค่านยิ มเกี่ยวกบั สถานศึกษา ชุมชนได้มองเห็นความสาคัญการศึกษา ชาวบ้านสว่ นใหญ่
พยายามส่งเสริมบุตรหลานให้เรยี นหนังสอื ในชั้นท่ีสูงขึ้น ซ่ึงแต่เดิมมักจะให้บุตรหลานเรียนจบหลักสูตรการศึกษา
ภาคบังคับและออกทางานเพ่ือช่วยเหลือครอบครัว ชุมชนส่วนใหญ่มีฐานะปานกลางค่อนข้างยากจน สภาพการ
ประกอบอาชีพและเศรษฐกิจของชุมชนยังไม่สามารถดึงดูดให้วัยแรงงาน หรือวัยหนุ่มสาวหันมาประกอบอาชีพใน
ท้องถ่ินมากนัก เป็นเหตุให้วัยแรงงานส่วนหนึ่งท้ิงถ่ินฐานไปประกอบอาชีพเมือง หรือในกรุงเทพฯ ส่งผลให้
นักเรียนส่วนใหญ่อยู่กับญาติผู้ใหญ่ เช่นปู่ย่า ตายาย ท้ังนี้โรงเรียนก็ได้รับการสนับสนุนจากชุมชนให้จดั การศึกษา
เพอื่ ชมุ ชนอยา่ งตอ่ เนื่อง
จากปัญหาดังกล่าวคณะกรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครองเครือข่ายและคณะครู มีแนวคิดท่ีจะแก้ปัญหา
โดยการน้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาบูรณาการในกระบวนการจัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียนเกิด “หลัก
คิดสวู่ ถิ ีพอเพียง” เพอ่ื ส่งผลให้ผู้เรยี น เกง่ ดี และอยู่ในสังคมได้อยา่ งมีความสขุ
2.4 เอกลกั ษณ์ของสถานศึกษา / อัตลกั ษณ์ของนกั เรยี น
เอกลักษณ์ คอื โรงเรียนต้นแบบลูกเสอื อัตลักษณ์ คอื สุขภาพดมี ีสนุ ทรีภาพ
วสิ ยั ทศั น์ : โรงเรียนปางศลิ าทองศึกษาจดั การศึกษาให้นักเรียนมคี ณุ ภาพตามมาตรฐาน
การศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน มคี ุณธรรมน้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ครูและผู้บริหารมมี าตรฐานตามวชิ าชีพ
การบรหิ ารจดั การแบบมีส่วนร่วม
ปรชั ญาโรงเรียน : เรียนดี กฬี าเด่น เน้นคุณธรรม นาชุมชน
6
คติพจน์โรงเรียน : ทนโฺ ต เสฏโฐ มนสุ ฺเสสุ บคุ คลผู้ปฏิบัติดแี ลว้ ยอ่ มเป็นมนษุ ยท์ ี่ประเสริฐ
2.5 แหล่งเรยี นรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ลาดับ ฐานกิจกรรม ประโยชนท์ ีไ่ ดร้ บั
ที่ การเรยี นรู้
1 ฐานการ พ้ืนที่เรียนรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่ส่งเสริมให้นักเรียนเกิดองค์ความรู้
เรยี นรกู้ าร เกี่ยวกับการแยกขยะ ประเภทขยะ การนาขยะมารีไซเคิล รวมถึงการกาจัดขยะให้
แยกขยะ ถูกวิธี ดาเนินการโดยให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการเข้าไปเรียนรู้และลงมือปฏิบัติหรือ
หาความรู้ด้วยตวั เองได้
2 ฐานการ พื้นที่เรียนรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงท่ีส่งเสริมให้นักเรียนเกิดองค์ความรู้
เรียนรูป้ ุ๋ย เก่ยี วกับวธิ กี ารทาปุ๋ยหมัก ประโยชน์จากการใชป้ ยุ๋ หมัก รวมถึงฝึกใหท้ าในรูปแบบเชิง
หมกั การค้าเพ่ือเกิดทักษะในชีวิตประจาวัน รู้จักรักษาส่ิงแวดล้อม ดาเนินการโดยให้
นกั เรยี นมสี ว่ นร่วมในการเข้าไปเรยี นรแู้ ละลงมือปฏบิ ัตหิ รือหาความรูด้ ้วยตัวเองได้
3 ฐานการ พื้นที่เรียนรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงส่งเสริมให้นักเรียนรู้จักพันธุ์ของ
เรยี นรู้การ มะละกอการปลูกมะละกอ รวมถึงการนามะละกอไปแปรรูปในรูปแบบต่าง ๆ เช่น
ปลูกมะละกอ การทาอาหาร ดาเนินการโดยให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการเข้าไปเรียนรู้และลงมือ
ปฏิบัตหิ รอื หาความร้ดู ว้ ยตัวเองได้
4 ฐานการ พื้นที่เรียนรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงท่ีส่งเสริมให้นักเรียนเกิดองค์ความรู้
เรยี นรู้การ เกี่ยวกับการปลูกมะนาวในวงบ่อการดูแล การรักษา การเก็บเก่ียว การแปรรปู การทา
ปลูกมะนาว น้ามะนาวอัญชัญ การดองมะนาว ดาเนินการโดยให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการเข้าไป
เรียนรู้และลงมือปฏิบัติหรอื หาความรู้ด้วยตวั เองได้
5 ฐานการ พน้ื ทเี่ รยี นรหู้ ลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงท่ีส่งเสริมให้นักเรยี นเกิดการบูรณาการ
เรียนรู้หญา้ องค์ความรู้เกี่ยวกับวิธีการปลูกหญ้าแฝก การดูแลรักษา ประโยชน์ของหญ้าแฝก
แฝก ระยะเวลาในการเก็บเก่ียวผลผลิต รวมถึงการแปรรูปหญ้าแฝก ดาเนินการโดยให้
นักเรียนมีสว่ นร่วมในการเข้าไปเรยี นรแู้ ละลงมือปฏบิ ัติหรอื หาความรู้ด้วยตัวเองได้
6 ฐานการ พ้ืนที่เรียนรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงท่ีส่งเสริมให้นักเรียนเกิดองค์ความรู้
เรียนรู้การ เก่ียวกับการปลูกกล้วย การดูแล การรักษาผลผลิต การนากล้วยไปแปรรูปเป็นขนม
ปลกู กล้วย ต่าง ๆ ดาเนินการโดยให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการเข้าไปเรียนรู้และลงมือปฏิบัติหรือ
หาความร้ดู ว้ ยตวั เองได้
7
ลาดับ ฐานกจิ กรรม ประโยชนท์ ไี่ ด้รบั
ที่ การเรยี นรู้
7 ฐานการ พ้ืนที่เรียนรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่ส่งเสริมให้นักเรียนเกิดองค์ความรู้
เรยี นรเู้ กษตร ด้าน “เกษตรผสมผสาน” คือมีตั้งแต่ 2 กิจกรรมข้ึนไป มีการวางแผนการผลิต ใช้
ผสมผสาน ปจั จัยผสมผสานเพื่อลดต้นทุนการผลิต ลดความเส่ยี งดาเนินการโดยให้นักเรียนมีส่วน
รว่ มในการเข้าไปเรยี นร้แู ละลงมอื ปฏบิ ตั หิ รือหาความร้ดู ้วยตวั เองได้
8 ฐานการ พื้นที่เรียนรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่ส่งเสริมให้นักเรียนเกิดองค์ความรู้
เรยี นร้เู ลี้ยง เก่ียวกับการเล้ียงเปด็ ไข่ การดูแล การให้อาหาร รวมถึงฝึกให้ทาในรูปแบบเชิงการค้า
เปด็ ไข่ เพ่ือฝึกทักษะการสร้างอาชีพการขายไข่เป็ด ดาเนินการโดยให้นักเรียนมีส่วนร่วมใน
การเข้าไปเรยี นรแู้ ละลงมอื ปฏบิ ัติหรอื หาความรดู้ ้วยตัวเองได้
9 ฐานการ พ้ืนท่ีเรียนรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่ส่งเสริมให้นักเรียนเกิดองค์ความรู้
เรียนรู้ เก่ียวกับธนาคารเปิดโอกาสให้นักเรียน เป็นผู้ดาเนินการธนาคารด้วยตนเอง ภายใต้
ธนาคาร การดูแลของธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร.สาขาปางศิลาทอง ท่ีทา
โรงเรียน หน้าที่เป็นพ่ีเล้ียงให้คาแนะนา เพื่อเสริมสร้างประสบการณ์การทางานท่ีเหมือนจริง
ในรูปแบบของสถาบันการเงินให้กับนักเรียน และพัฒนาต่อยอดให้เด็กมีนิสัยรักการ
ออม
3. แนวทางในการดาเนินการในด้านต่าง ๆ ซึ่งสมควรได้รับการประเมินผ่านเป็นศูนย์การเรียนรู้ตาม
หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงดา้ นการศึกษา
3.1 การบรหิ ารจัดการ
โรงเรียนปางศิลาทองศึกษา ได้จัดการศึกษาตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน โดยมุ่งเน้น
การศึกษาโดยยึดผู้เรียนเป็นสาคัญ มีการจัดการเรียนการสอนใหส้ อดคล้องกับวิสัยทัศน์ของโรงเรียน คือ“โรงเรียน
ปางศิลาทองศึกษาจัดการศึกษาให้นักเรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน มีคุณธรรมน้อมนาหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ครูและผู้บริหารมีมาตรฐานตามวชิ าชีพ การบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วม”ผเู้ รียนมี
คุณธรรมนาความรู้โดยน้อมนาปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง มาใช้บูรณาการในกระบวนการจัดการเรียนการสอน
เพ่ือให้ผู้เรียนมีคุณธรรมควบคู่ไปกับความรู้ สามารถนาไปใช้ในชีวิตประจาวันได้ มีการใช้ทักษะชีวิตท่ีดี ทาง
โรงเรียนจึงได้จัดทาแผนการจัดการเรียนรู้โดยบูรณาการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีการจัด
กระบวนการเรยี นการสอนตามแผนการจดั การเรียนรู้ซง่ึ มกี ารติดตามผลการดาเนินการ เพอื่ ขบั เคลือ่ นหลักปรัชญา
ของเศรษฐกจิ พอเพียงภายในโรงเรียนและชุมชนตอ่ ไป
สถานศึกษาน้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาบูรณาการในการจัดกระบวนการเรียนการสอน
เพ่ือให้ผู้เรียนนาผลที่ได้จากการเรียนรู้ไปใช้เป็นทักษะในการดาเนินชีวิต สถานศึกษากาหนดให้มีการจัดทาแผน
8
การจัดการเรียนรู้ในรายวิชาพ้ืนฐาน มีการบูรณาการและจัดกิจกรรมการเรียนการสอนครอบคลุมทุกกลุ่มสาระ
การเรียนรู้ ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้อย่างมีทักษะและเกิดความสุขในการเรียน มีการประชุมช้ีแจงข้ันตอน วิธีการ
แนวปฏิบัติในการนานโยบายเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้บูรณาการในการจัดการเรียนรู้ เข้าสู่กระบวนการเรียนการ
สอน ทาความเข้าใจในแต่ละกิจกรรม แบง่ ครแู กนนาบูรณาการตามกลมุ่ สาระครบทกุ กลุ่มสาระการเรียนรู้ จากการ
จัดกิจกรรมบูรณาการกิจกรรมการเรียนการสอนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงแล้ว ได้มีการติดตาม
ผลการดาเนินงานระหว่างดาเนนิ กิจกรรม หลังดาเนินกิจกรรมตามโครงการมีการรายงานผลการดาเนินการโดยใช้
แบบทดสอบ/แบบบันทึกคะแนน/แบบประเมินโครงการและรายงานผลจากการดาเนินการโดยมีการนาข้อสรุป /
ขอ้ เสนอแนะ / ปญั หาต่าง ๆ ทีเ่ กดิ ขึน้ มาพฒั นาและปรับปรุงในการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอนตามหลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียงในครงั้ ต่อไป พรอ้ มทัง้ มกี ารตดิ ตามผลการดาเนนิ งานอยเู่ สมอ
เมื่อได้มีการนาข้อสรุป/ข้อเสนอแนะ/ปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น มาปรับใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการ
สอนตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง และสรปุ ผลเปน็ รายภาคการศึกษา และนาข้อมูลต่าง ๆ มาพัฒนาการ
เรียนการสอนแบบบูรณาการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงให้เกิดประสิทธิภาพและมีประสิทธิผลใน
โรงเรยี นอย่างต่อเนือ่ ง
3.2 บคุ ลากร
โรงเรยี นปางศิลาทองศกึ ษา มีบุคลากรทม่ี คี วามรู้ความเข้าใจเก่ียวกบั หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง มี
การจัดสรรทรัพยากรได้อย่างคุ้มค่า และสอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง พร้อมกับอยู่บนรากฐาน
ทางวัฒนธรรมและพร้อมรับต่อการเปล่ียนแปลงทางวัฒนธรรมจากกระแสโลกาภิวัตน์ ซ่ึงบุคลากรของโรงเรียน
ปางศิลาทองศึกษาเกินกว่าครึ่งหนึ่ง มีความเข้าใจเกี่ยวกับความหมายที่ถูกต้องตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง และมีความเข้าใจที่ถูกต้องเก่ียวกับการจัดการเรียนการสอนที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงไปใช้ อันเห็นได้จากการจัดการเรียนการสอนท่ีบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปปฏิบัติ จน
ทาให้เกิดผลประจักษ์ต่อตัวผู้เรียน บุคลากรมีการพัฒนาตนเองในด้านหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง อาทิเช่น
ศึกษาดูงาน จัดประชุม อบรมเชิงปฏิบัติการ โดยเชิญวิทยากรอบรมให้ความรู้แก่ครูโรงเรียนเกี่ยวกับการนาหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการดารงชีพ เช่น การเข้าร่วมการอบรมโครงการส่งเสริมและสนับสนุนการ
ดาเนินชวี ิตตามหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง ณ ศนู ยก์ ารเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงตาบลมหาชัย และนาความรู้มา
พัฒนาหลักสูตรการเรียนรู้โดยการนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปสอดแทรกในกิจกรรมการจัดการเรียน
การสอนอย่างตอ่ เนอื่ ง และประยกุ ต์ใช้ในการดาเนนิ ชีวิตประจาวนั
บุคลากรหลายท่านเป็นแบบอย่างท่ีดีในการดาเนินชีวิตให้กับผู้อื่นได้ มีวินัยในตนเอง ไม่ทาให้ตนเองและ
ผู้อ่ืนเดือดร้อน รวมทั้งมีอุปนิสัยเอ้ือเฟ้ือเผื่อแผ่ แบ่งปัน ช่วยเหลือผู้อ่ืน มีใจกุศล บริจาคทานและทาบุญเป็นนิจ
และมีส่วนร่วมในการทาตนให้เป็นประโยชน์ต่อสังคมอย่างสม่าเสมอและอีกทั้งยังมีความตระหนักถึงความรู้ความ
9
เข้าใจ เห็นความสาคัญและรู้จักใชท้ รัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างคุ้มค่า รวมท้ังมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์
ฟ้ืนฟสู ภาพแวดล้อมทางธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ มเป็นแบบอย่างท่ดี ีให้กบั สถานศึกษาและชุมชนได้
3.3 งบประมาณ
โรงเรียนปางศิลาทองศึกษา มีแผนงานการบริหารจัดการงบประมาณของสถานศึกษา ท่ีพอเพียงและ
สอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีการดาเนินการตามแผนงบประมาณพร้อมติดตามประเมินผล
การดาเนินโครงการและปรับปรุงพัฒนาการบริหารจัดการงบประมาณให้เหมาะสมในปีต่อไป มีการวางแผน
การดาเนินงานบริหารจัดการงบประมาณในการดาเนินงาน/โครงการ/กิจกรรม โดยคานึงผลที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรยี น
สถานศึกษา และชุมชนอย่างคุ้มค่า และผู้เรียนสามารถนาไปใช้ในทักษะชีวิตได้ มีการประชุมช้ีแจงการจัดสรร
งบประมาณ/การเบิกจ่ายงบประมาณ ทาความเข้าใจในการจัดสรรจัดซื้อส่ือ วัสดุอุปกรณ์อย่างคุ้มค่า และ
เหมาะสมด้วยความซ่ือสัตย์สุจริต คานึงถึงผลประโยชน์ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียน ชุมชนและสถานศึกษา สามารถ
ตรวจสอบได้ทุกงานทุกโครงการและทกุ กจิ กรรม
เมอื่ ดาเนินการตามแผนงานเรยี บร้อยแลว้ มกี ารติดตามผลการดาเนินงานตามแผนงบประมาณ ตรวจสอบ
การจัดซ้ือสื่อวัสดุอุปกรณ์ ติดตามการใช้ประโยชน์จากส่ือวัสดุที่จัดซ้ือเพ่ือให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ผู้เรียน
สถานศึกษาและชุมชน จากการดาเนินการบริหารงบประมาณได้นาผลการดาเนินงานมาปรับปรุงแก้ไขและวาง
แผนการดาเนินงานโดยการนาข้อบกพร่องหรือปัญหาต่าง ๆ ท่ีเกิดข้ึนมาพัฒนาให้ก้าวหน้าและพร้อมรับต่อการ
เปล่ยี นแปลงท่ีจะเกดิ ขึน้ ในอนาคตต่อไป
3.4 แหล่งเรียนรู้
โรงเรียนปางศิลาทองศึกษา มีแหล่งเรียนรู้ ฐานการเรียนรู้ เพื่อเสริมสร้างอุปนิสัยอยู่อย่างพอเพียงที่
สอดคลอ้ งกบั ภมู สิ งั คมของสถานศึกษา ซึ่งอยู่ในพืน้ ทท่ี ีท่ าการเกษตรประกอบกบั โรงเรยี น มพี ้นื ที่ในการทากจิ กรรม
การเกษตรอยา่ งเพียงพอต่อจานวนนักเรียน มวี ทิ ยากรรบั ผิดชอบฐานการเรยี นรูซ้ ึ่งสามารถอธิบายการใช้ประโยชน์
จากฐานการเรยี นรใู้ นการเสรมิ สร้างอปุ นสิ ัยอยูอ่ ยา่ งพอเพยี งได้อย่างถูกต้องและชดั เจน รวมทั้งมีการจดั ทาแผนการ
จัดการเรียนรู้ สื่อ ประกอบการเรียนรู้ประจาฐานการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ที่สามารถสื่อ
ความได้ถกู ต้องและชดั เจน มีการประเมนิ ผลการใช้ฐานการเรียนรู้ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงอย่างเป็น
รปู ธรรม และนาผลการประเมินมาพัฒนา ปรบั ปรุงฐานการเรยี นรู้อยา่ งต่อเนื่อง ทาให้โรงเรียนปางศิลาทองศึกษามี
ฐานการเรียนรู้ที่สามารถรองรับนักเรียน สถานศึกษาอ่ืน ชุมชนรวมทั้งหน่วยงานภายนอกมาศึกษาดูงานและใช้
ประโยชน์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และนอกจากนั้นทางโรงเรียนปางศิลาทองศึกษายังได้จัดทาฐานการเรียนแบบ
ออนไลน์เพื่อให้นักเรียนหรือผู้ท่ีสนใจสามารถเข้าศึกษาในรูปแบบของฐานการเรียนรู้ออนไลน์ พร้อมทั้งเม่ือเรียนรู้
จากฐานในระบบเรียบร้อยแล้ว สามารถทาแบบทดสอบประจาฐานและจะได้ใบประกาศตามเกณฑ์ที่กาหนดคือ
ผา่ นร้อยละ 80
10
3.5 วิธีการพัฒนาสถานศึกษาพอเพียงให้เป็นศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ดา้ นการศกึ ษา
การพัฒนาสถานศึกษาพอเพียง เปน็ ศูนยก์ ารเรยี นรูต้ ามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ด้านการศึกษา
โรงเรียนปางศลิ าทองศกึ ษา ได้มีการบรหิ ารจดั การในด้านต่าง ๆ ดงั ตอ่ ไปนี้
1. การบรหิ ารจดั การในสถานศกึ ษา
โรงเรยี นปางศลิ าทองศึกษาใช้หลกั การบรหิ ารจัดการแบบมสี ว่ นรว่ มโดยยดึ หลัก PSACP MODEL
มาประยุกต์ใช้ในการดาเนินงานและนาหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาสกู่ ารปฏบิ ัติในการดาเนินชีวิตภายใต้
แนวทางของความพอดี ความมีเหตุผลและมีการเตรียมตวั ใหพ้ รอ้ มรบั ต่อการเปลี่ยนแปลงในด้านต่าง ๆ ซงึ่ โรงเรียน
ปางศิลาทองศึกษา มีผูบ้ รหิ ารที่มีคุณลักษณะของผ้บู รหิ ารพอเพยี ง มกี ารบรหิ ารจัดการสถานศึกษาท่ีสอดคล้องกับ
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีการกาหนดนโยบาย วิสัยทัศน์ พันธกิจ แผนปฏิบัติการของโรงเรียนและการ
ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่าง เป็นเหตุ เป็นผล พอประมาณ ตลอดจนเป็นแบบอย่างท่ีดีในการใช้ความรู้ควบคู่คุณธรรม
ในการดาเนินชีวิต เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันท่ีดีต่อการเปล่ียนแปลงต่าง ๆให้กับตนเองและสถานศึกษา อีกท้ังยังมีการ
ขยายผลการขับเคลื่อน หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงส่ชู ุมชน
มีการจัดการศึกษาตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน โดยมุ่งเน้นการศึกษาซ่ึงยึดผู้เรียนเป็น
สาคัญ มีการจัดการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของโรงเรียน คือ“โรงเรียนปางศิลาทองศึกษาจัด
การศึกษาให้นักเรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน มีคุณธรรมน้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพยี ง ครแู ละผบู้ รหิ ารมมี าตรฐานตามวิชาชพี การบริหารจดั การแบบมีสว่ นร่วม”ผเู้ รียนมีคุณธรรมนาความรู้โดย
น้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้บูรณาการในกระบวนการจัดการเรียนการสอน เพื่อให้ผู้เรียนมี
คุณธรรมควบคู่ไปกับความรู้ สามารถนาไปใช้ในชีวิตประจาวันได้ มีการใช้ทักษะชีวิตที่ดี ทางโรงเรียนจึงได้จัดทา
แผนการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีการจัดกระบวนการเรียนการสอน
ตามแผนการจัดการเรียนรู้ซึ่งมีการติดตามผลการดาเนินการเพ่ือขับเคล่ือนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ภายในโรงเรียนและชมุ ชน
2. การพฒั นาบคุ ลากรของสถานศกึ ษา
โรงเรียนปางศิลาทองศึกษา มีแผนงาน/โครงการพัฒนาบุคลากรของสถานศึกษา เพ่ือสร้างความรู้ความ
เข้าใจ และตระหนักในคุณค่าของหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จัดการประชุม อบรม สัมมนา ศึกษาดูงาน
แหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ เพื่อส่งเสริมการประยุกต์ใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการดาเนินชีวิตและปฏิบัติ
ภารกิจหนา้ ท่ี ส่งเสรมิ ใหบ้ ุคลากรแสวงหาความรูเ้ กี่ยวกบั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงอย่างสม่าเสมอ จดั กจิ กรรม
ส่งเสริมการดาเนินชีวิตและการปฏิบัติภารกจิ หน้าท่ี ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
11
3. การจดั กิจกรรมการเรยี นการสอนเพอื่ พฒั นาผู้เรียน
โรงเรยี นปางศิลาทองศึกษา นอ้ มนาหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาบูรณาการในการจัดกระบวนการ
เรียนการสอนเพื่อใหผ้ ู้เรียนนาผลท่ีได้จากการเรียนรู้ไปใชใ้ นทักษะชวี ิต สถานศึกษากาหนดให้มีการจัดทาแผนการ
จัดการเรียนร้แู บบบูรณาการ มีการบูรณาการและจัดกิจกรรมการเรียนการสอนครอบคลุมทุกกลมุ่ สาระการเรยี นรู้
ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้อย่างมีทักษะและเกิดความสุขในการเรียน มีการประชุมช้ีแจงขั้นตอน วิธีการ แนวปฏิบัติ
ในการนานโยบายเศรษฐกจิ พอเพียง มาใชบ้ รู ณาการในการจัดการเรียนรู้เข้าสู่กระบวนการเรียนการสอน ทาความ
เข้าใจในแต่ละกิจกรรม แบ่งครูแกนนาบูรณาการตามกลุ่มสาระครบทุกกลุ่มสาระ จากการจัดกิจกรรมบูรณาการ
กิจกรรมการเรียนการสอนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงแล้ว ได้มีการติดตามผลการดาเนินงานระหว่าง
ดาเนินกิจกรรม หลังดาเนนิ กิจกรรมตามโครงการ มกี ารรายงานผลการดาเนินการโดยใชแ้ บบทดสอบ / แบบบนั ทกึ
คะแนน / แบบประเมินโครงการและรายงานผลจากการดาเนินการ โดยมีการนาข้อสรุป/ข้อเสนอแนะ / ปัญหา
ตา่ ง ๆ ทเ่ี กิดข้นึ มาปรับใช้ในการจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งในคร้ังต่อไป
พร้อมท้ังมีการติดตามผลการดาเนินงานเม่ือได้มีการนาข้อสรปุ /ข้อเสนอแนะ/ปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดข้ึน มาปรับใช้ใน
การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และสรุปผลเป็นรายภาคการศึกษา และ
นาข้อมูลต่าง ๆ มาพัฒนาการเรียนการสอนแบบบูรณาการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงให้เกิด
ประสทิ ธิภาพและมปี ระสิทธิผลในโรงเรยี นอย่างตอ่ เน่ือง
4. การจัดสภาพแวดลอ้ มและกจิ กรรมฐานการเรียนรตู้ ามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
โรงเรียนปางศิลาทองศึกษา มีการบริหารจัดการด้านอาคารสถานที่และแหล่งเรียนรู้ภายในและภายนอก
สถานศึกษา โดยให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมเพ่ือส่งเสริมการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีการ
ประสานสัมพันธ์กับชุมชน เผยแพร่ข่าวสารและหลักการตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ให้ชุมชนมีส่วนร่วมใน
การจัดการเรียนรู้ เพ่ือให้เกิดความภาคภูมิใจและเช่ือมั่นในสถานศึกษา ได้มีการจัดการเรียนการสอนที่บูรณาการ
กับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีแหล่งเรียนรู้หลากหลายเพ่ือสร้างเสริมอุปนิสัยอยู่อย่างพอเพียงอย่าง
เหมาะสมและเพียงพอกับจานวนนักเรยี น
5. ความสัมพันธ์ชุมชนกับหน่วยงานภายนอก
โรงเรียนปางศิลาทองศึกษา ได้ประสานความร่วมมือกับหน่วยงานต่าง ๆ เพ่ือรับการสนับสนุนในการ
ขับเคล่ือนหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงของสถานศึกษาสู่ชุมชน มีการเผยแพร่ความรสู้ ู่ชุมชนเพื่อสร้างความรู้
ความเข้าใจในหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการดาเนินชีวิตแก่ชาวบ้านในชุมชนอาเภอปางศิลาทองและ
ชุมชนใกลเ้ คียงซงึ่ ได้รบั การสนับสนนุ และการประสานงานอย่างดจี ากผู้นาท้องถิน่ จนทาใหช้ าวบ้านในชมุ ชนอาเภอ
ปางศิลาทองมีการดาเนินชีวิตท่ีดขี ึ้นในการนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งไปปรับใช้ในการดาเนนิ ชวี ติ พออยู่
พอกินพอเพียงและเห็นคุณค่าในสิ่งที่ตนเองมี ทาให้ชุมชนให้ความไว้วางใจ ให้การสนับสนุน ส่งเสริม และมีส่วน
รว่ มในการขับเคลอ่ื นหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งสู่สถานศกึ ษาอย่างต่อเนอื่ ง
12
4. ขอ้ มลู ด้านบุคลากร
4.1 ผูบ้ รหิ าร
4.1.1 ผู้บริหาร นาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ไปใช้ในชีวิตประจาวันอย่างไรบ้าง
เกิดผลอย่างไรยกตวั อย่างประกอบ
4.1.1.1 ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โรงเรียนปางศิลา
ทองศึกษามีผู้บริหารท่ีมีความรู้ความเข้าใจในหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สามารถถ่ายทอดความรู้ความ
เข้าใจในเรื่องหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงอย่างถูกต้อง ผู้บริหารมีการจัดทาวารสารเผยแพร่การนาหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในชีวิตประจาวัน และเป็นวิทยากรในการอบรมให้ความรู้แก่คณะครูและผู้มา
ศกึ ษาดงู านด้านการนาหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงไปใช้ในการดาเนินชวี ติ ประจาวัน
4.1.1.2 การปฏบิ ตั ิตนตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งท่ีเป็นแบบอยา่ งที่ดี ผู้บรหิ าร
นาความรคู้ วามเข้าใจในหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง มาปฏิบตั ิและนามาใช้ในการบริหารจัดการสถานศึกษา
นาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปปฏิบัติตนอย่างเป็นเหตุเป็นผล พอประมาณ กับศักยภาพของตนและ
ภูมิหลัง รวมท้ังสร้างภูมิคุ้มกันที่ดี ต่อการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ให้กับตนเองและสถานศึกษา นาหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการบริหารจัดการสถานศึกษา ตลอดจนเป็นแบบอย่างท่ีดีในการใช้ความรู้ควบคู่กับ
คุณธรรมในการดาเนินชีวิต ทาให้คณะครู บุคลากรทางการศึกษามีแบบอย่างท่ีดีในการนาหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพยี งไปปรับใช้ในการดาเนนิ ชวี ติ
4.1.1.3 ความสามารถในการบรหิ ารจดั การการศึกษาตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
ผู้บริหารสามารถนาประสบการณ์ในการใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่ตนเองปฏิบัติมาถ่ายทอดและ
มุ่งมั่นในการขับเคล่ือนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในสถานศึกษาจนประสบความสาเร็จ จัดการศึกษาตาม
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยมุ่งเน้นการศึกษาโดยยึดผู้เรียนเป็นสาคัญ มีการจัดการเรียนการสอน
ให้สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของโรงเรียน คือ “โรงเรียนปางศิลาทองศึกษาจัดการศึกษาให้นักเรียนมีคุณภาพตาม
มาตรฐานการศึกษาข้ันพื้นฐาน มีคุณธรรมน้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ครูและผู้บริหารมีมาตรฐาน
ตามวิชาชีพ การบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วม”ผู้เรียนมีคุณธรรมนาความรู้โดยน้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงมาใช้บรู ณาการในกระบวนการจัดการเรียนการสอนอยา่ งตอ่ เน่ือง
4.1.1.4 วิสัยทัศน์ในการบริหารจัดการการศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ผู้บริหารนาความรู้และประสบการณ์ในการดาเนินชีวิต ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มาประยุกต์ใช้ใน
การปฏิบัติของคณะครู บุคลากรทางการศึกษาและนักเรียน โดยได้กาหนดวิสัยทัศน์ให้สอดคล้องกับ หลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียงคือ “โรงเรียนปางศิลาทองศึกษาจัดการศึกษาให้นักเรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา
ข้ันพ้ืนฐาน มีคุณธรรมน้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ครูและผู้บริหารมีมาตรฐานตามวิชาชีพ การ
13
บริหารจัดการแบบมสี ่วนร่วม”ซ่ึงคณะครู บุคลากรทางการศึกษาและนักเรยี น ไดน้ าวสิ ยั ทศั น์ที่กาหนดมาปรับใช้ใน
การเรียนการสอนอย่างเป็นรูปธรรมและต่อเน่อื ง
4.1.1.5 การสร้างความสัมพนั ธก์ บั ครู บคุ ลากรทางการศึกษา นักเรียน ผ้ปู กครองและชมุ ชน
ผู้บรหิ ารนาความรู้และประสบการณ์ที่ตนได้รับจากการนาหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งมาปฏบิ ัติขยายผลการ
ขบั เคลื่อนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งสู่ภายนอกสถานศึกษา เข้าร่วมกจิ กรรมของชมุ ชน หน่วยงานภายนอก
อย่างต่อเนื่อง อาทิเช่น กิจกรรมสาธารณประโยชน์ของนักเรียน โรงเรียนปางศิลาทองศึกษามีครูนักเรียนบริจาค
โลหิต กิจกรรม รด.จิตอาสาร่วมกับบริจาคเพ่ือทาโครงการ นักศึกษาวิชาทหารขอทาดี 1 อาเภอ 1 หลังปรับปรุง
บา้ นผ้ยู ากไร้ การเขา้ ร่วมกับกิจกรรมตา่ ง ๆ ของชมุ ชนในอาเภอปางศลิ าทอง เช่น ประดษิ ฐก์ ระทงจากใบตองและ
วัสดุในท้องถ่ินมอบให้วัดขายนาเงินสมทบทุนสรา้ งวัด สถานีตารวจภูธรปางศิลาทองมาให้ความรู้และระเบียบวนิ ยั
จราจรให้แก่นักเรียน (ภูมิคุ้มกัน ความรู้ในชีวิตประจาวัน) กับการทาวารสารการนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพยี งมาปรับใช้ในการดาเนนิ ชวี ิตให้กบั ชุมชน ตลอดจนมีการบรรยายเชิญชวนให้ชุมชนุ เข้ามาศึกษาแหลง่ เรียนรู้
ในกจิ กรรมสานสัมพันธบ์ ้านโรงเรยี น
4.1.2 ผู้บริหารนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในการบริหารจัดการศึกษาทั้ง 4 ด้าน
อย่างไร(งานบริหารทั่วไป / งานบริหารวิชาการ / งานบริหารบุคคลและกิจการนักเรียน / งานบริหาร
งบประมาณ)และจากการดาเนินงานดังกล่าว ส่งผลให้เกิดขึ้นต่อสถานศึกษาและบุคลากรของสถานศึกษา
อย่างไรบา้ ง (Best Practice)
โรงเรียนปางศิลาทองศกึ ษามีการแบง่ การบรหิ ารงานออกเป็น 4 กลมุ่ งาน
1.การบริหารงานวิชาการ ด้านความพอประมาณ ผู้อานวยการโรงเรียนจัดให้มีการอบรมส่งเสริมด้าน
การใช้ส่ือการเรียนการสอนของครูผู้สอนครบทุกวิชาอย่างเหมาะสมในโรงเรียน จัดให้มีการนิเทศการจัดการเรียน
การสอนภายในกลุ่มสาระฯ ทุกกลุ่มสาระ หลักความมีเหตุผล ผู้บริหารสถานศึกษามีการวางแผนอัตราครูตาม
วิชาเอกเพ่ือรองรับครยู ้ายและครูเกษียณอายุราชการ จัดสง่ เสรมิ ให้ครูท่ีไปฝึกอบรมกับหนว่ ยงานภายนอกเพ่ือให้มี
ความรู้ในวิชาเอกที่สอนอยู่ พิจารณาเสนอให้มีการบรรจุแต่งตั้งหรือรับย้ายครูให้ตรงกับวิชาเอกที่ทางโรงเรียน
ต้องการที่แท้จริง หลักภูมิคุ้มกัน จัดให้มีการประชุมคณะกรรมการดาเนินงานแผนงาน โครงการ มีการประชุม
คณะกรรมการสถานศึกษาของโรงเรียนเพื่อรับทราบแผนการใช้งบประมาณของโรงเรียน จัดต้ังคณะกรรมการเพอ่ื
ประเมินความเป็นไปได้ของทุกโครงการเพื่อประกอบการตัดสินใจและอนุมัติโครงการ เงื่อนไขคุณธรรม จัดให้มี
โครงการสวัสดิการขวัญและกาลังใจช่วยเหลือแก้ไขปัญหาเร่ืองความเป็นอยู่ของครูให้ดีขึ้น จัดให้มีโครงการ
เสริมสร้างกาลังใจในการ ทางาน เช่น จัดศึกษาดูงานให้ครูทุกคนตามความเหมาะสม เงื่อนไขความรู้ผู้บริหาร
สถานศึกษาสร้างความตระหนักให้ครูเห็นความสาคัญในการสอนโดยให้นักเรียนรักการเรียนรู้ใช้ทักษะในการ
แสวงหาความรู้และพัฒนาตนเอง ส่งเสริมให้ครูมีส่วนร่วมในการวางแผนและจัดหลักสูตรของโรงเรียนจัดให้มีการ
14
อบรมเรื่องการพฒั นาหลกั สตู รการเรยี นการสอนให้กับครเู พอ่ื นาไปใช้อย่างสม่าเสมอ เพอ่ื ใหค้ รูมคี วามรคู้ วามเข้าใจ
ในการพัฒนาหลักสูตร
2.งานบคุ คลและกิจการนักเรยี น
ด้านการบรหิ ารงานบุคคล หลกั ความพอประมาณ ผบู้ รหิ ารสถานศึกษาสารวจความตอ้ งการของงานเพ่ือ
สรรหาบุคลากร วางแผนอัตรากาลังบุคลากรและตาแหน่งท่ีมีอยู่ให้ตรงกับความต้องการกาหนดให้มีการกากับ
ติดตาม และประเมินผลความเหมาะสมของบุคลากรและตาแหน่งงานว่าเหมาะสมหรือไม่ หลักความมีเหตุผล
ผู้บริหารสถานศึกษาจัดให้มีการกาหนดขอบข่ายงานในการปฏิบัติแต่ละงาน จัดให้มีการมอบหมายการปฏิบัติงาน
ของบุคลากรให้เหมาะสมกับงานและความสามารถมากท่ีสุด พร้อมกับประเมินผลการปฏิบัติงาน หลักภูมิคุ้มกัน
ผู้บริหารสถานศึกษาจัดสง่ บุคลากรไปอบรมกับหน่วยงานภายนอกท่ีทันสมัยเพ่ือจะกลับมาถ่ายทอดใหก้ ับบุคลากร
ทุกคนในโรงเรียน การนเิ ทศงานในส่วนงานของแต่ละฝา่ ยอย่างเป็นปัจจุบัน เงอ่ื นไขคณุ ธรรม ผู้บริหารสถานศึกษา
จดั ใหม้ กี าหนดการลงเวลาปฏบิ ตั ิงานเพอ่ื เกบ็ เป็นฐานข้อมลู ของบคุ ลากรในแตล่ ะวัน มอบของขวัญใหก้ ับบุคลากรท่ี
มีบุตรใหม่ทุกคนอย่างสม่าเสมอ ผู้บริหารสถานศึกษาจัดให้มีการประชุมเรื่องหลักเกณฑ์ของเวลามาปฏิบัติงาน
ราชการเพอ่ื ความเข้าใจของบุคลากรทุกคน เงอ่ื นไขความรู้ ผ้บู ริหารสถานศกึ ษาจัดให้มีการประชุมบุคลากรทุกคน
ในโรงเรียนเพ่ือชี้แจงเป้าหมายของการปฏิบัติงาน จัดให้มีการประชุมเฉพาะหัวหน้างานแต่ละฝ่ายเพื่อมอบหมาย
งานให้กับหัวหน้างานแต่ละฝ่าย มีการกากับติดตาม และประเมินผลการปฏิบัติงานของแต่ละฝ่ายเพื่อปรับปรุง
แก้ไขใหก้ ารปฏบิ ัตงิ านบรรลเุ ปา้ หมายทต่ี ั้งไว้
ด้านงานกิจการนักเรียน หลักความพอประมาณ ผู้บริหารสถานศึกษาให้ผู้มีส่วนเก่ียวข้อง มีส่วนร่วมใน
งานกิจการนักเรียน เช่นให้ผู้ปกครองและชุมชนท่ีเกี่ยวข้องมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นในด้านงานกิจการ
นกั เรยี น ผู้บริหารสถานศึกษามกี ารติดตาม ประเมินผลและรายงานการจดั กจิ กรรมต่าง ๆ ของงานกิจการนักเรยี น
หลกั ความมเี หตผุ ล ผู้บรหิ ารมีการวางจดั อตั รากาลังของครูประจาชนั้ และดคู วามเหมาะสมของจานวนครทู ป่ี รึกษา
ต่อจานวนนักเรียน จัดส่งเสริมให้ครูจัดทาโครงการท่ีสง่ เสริมศักยภาพของนักเรียนเช่นโครงการ TO BE NUMBER
ONE หลักภูมิคุ้มกัน ผู้บริหารสถานศึกษาจัดให้มีการประชุมผู้ปกครองประจาปีการศึกษา เพ่ือชี้แจงกฎระเบียบ
ของโรงเรียนอย่างชัดเจน ผู้บริหารสถานศึกษาจัดให้มีเครือข่ายผู้ปกครองของในแต่ละระดับชั้น เพ่ือหาแนว
ทางการแก้ไขปัญหาพฤติกรรมเส่ียงของนักเรียน จัดให้มีโครงการลดความเสี่ยงของพฤติกรรมนักเรียนทุกคน
เงื่อนไขคุณธรรม ผู้บริหารสถานศึกษาส่งเสริมให้ครูประจาชั้นออกเยี่ยมบ้านนักเรียนให้ครบทุกคน ส่งเสริมให้ครู
ประจาช้ันในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นติดตามและคัดกรองนักเรียนเพื่อรับทุนโครงการปัจจัยพื้นฐานเพ่ือไม่ให้
นกั เรียนได้เสยี สิทธ์ิ เง่ือนไขความรู้ ผูบ้ ริหารสถานศึกษาจัดให้มีคณะกรรมการระบบดแู ลชว่ ยเหลือนักเรียนและจัด
อบรมให้ความรู้ครูท่ีปรึกษาทุกคนในด้านระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน มอบหมายให้ครูท่ีปรึกษารายงานผลการ
ประเมินพฤติกรรมของนักเรียน (SDQ) เพ่ือเป็นฐานข้อมูลระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน จัดทาคู่มือการโฮมรูม
นักเรยี นมอบให้ครูทป่ี รึกษาดาเนินการ
15
3.งานบริหารท่ัวไป หลักความพอประมาณ ผู้บริหารสถานศึกษากาหนดหน้าที่ของบุคลากรในกลุ่ม
บริหารท่ัวไป ควบคุมกากับติดตามการปฏิบัติงานบริหารทั่วไป ให้ดาเนินโครงการเป็นไปตามงบประมาณที่ได้รับ
จัดสรรตามแผนปฏิบัติการของโรงเรียน หลักความมีเหตุผล ผู้บริหารสถานศึกษาจัดให้มีการทาแบบสารวจ
รายการซ่อมแซมและปรับปรุงภูมิทัศน์ในโรงเรียน โดยสารวจความต้องการจากบุคลากรทุกคนในโรงเรียนอย่าง
เหมาะสม ผู้บริหารสถานศึกษาจัดให้มีการเรียงลาดับความสาคัญของงานการซ่อมแซมและปรับปรุงตามความ
จาเป็น จัดให้มีการสารวจความพึงพอใจของบุคลากรในโรงเรียนในการซ่อมแซมและปรับปรุงภูมิทัศน์ในโรงเรียน
เพ่ือนาไปปรับปรุงการทางานต่อไป หลกั ภูมคิ ุ้มกัน ผูบ้ รหิ ารสถานศึกษาสง่ บุคลากรเพื่อพฒั นาตนเองกับหน่วยงาน
ภายนอกเพื่อนาความรู้มาพัฒนาในสายงานการบริหารทั่วไปเพ่ือประสิทธิภาพและประสิทธิผลของงาน เง่ือนไข
คุณธรรม ผู้บริหารสถานศึกษาวางแผนกาหนดตาแหน่งงาน ด้านช่างซ่อมแซมอย่างชัดเจนมอบหมายงานท่ีจะ
ซ่อมแซมปรับปรุงอุปกรณ์ในโรงเรียนให้กับช่างหรือนักการแต่ละคนตรงตามงานและความเชี่ยวชาญ เงื่อนไข
ความรู้ ผู้บริหารสถานศึกษาจัดให้มีการประชุมทบทวนงานสร้างคู่มือกลุ่มงาน เพื่อใช้เป็นแนวทางติดตาม
ผลสัมฤทธ์ิและประเมินผลการปฏิบัติงานเพ่ือสรุปปัญหา และอุปสรรคในการดาเนินงาน เพ่ือหาแนวทางในการ
พฒั นางานใหม้ ปี ระสิทธิภาพยิ่งข้ึน
4.ด้านการบริหารงานงบประมาณ หลักความพอประมาณ ผู้บริหารสถานศึกษาจัดให้มีการแต่งตั้ง
คณะกรรมการวางแผนการจัดสรรงบประมาณประจาปี มอบหมายให้แต่ละฝ่ายจัดทาแผนงานโครงการเพื่อเสนอ
ขอรบั การจัดสรรงบประมาณ จดั ให้มีการแต่งต้ังคณะกรรมการตดิ ตามตรวจสอบประเมินผลการใช้งบประมาณของ
แต่ละฝ่าย หลักความมีเหตุผล ผู้บริหารสถานศึกษาจัดให้มีการประชุมบุคลากรในโรงเรียนเพ่ือหาแนวทางในการ
ระดมทรัพยากร จัดให้มีการแต่งตั้งคณะกรรมการพิจารณางบประมาณของโครงการต่าง ๆ เปิดโอกาสให้บุคลากร
ในโรงเรยี นซักถามขอ้ สงสัยเกีย่ วกับการระดมทรัพยากร หลกั ภมู ิคุ้มกันผูบ้ ริหารสถานศกึ ษารว่ มหาแนวทางในการ
ระดมทรัพยากรร่วมกัน เปิดโอกาสให้คณะกรรมการสถานศึกษาซักถามข้อสงสัยเร่ืองพิจารณางบประมาณของ
โครงการต่าง ๆ ในแต่ละโครงการที่จัดขึ้น ผู้บริหารสถานศึกษาจัดให้มีการรายงานผลการดาเนินโครงการต่าง ๆ
ของโรงเรียนกับคณะกรรมการสถานศึกษาเป็นระยะ เง่ือนไขคุณธรรม ผู้บริหารสถานศึกษากล่าวยกย่องชมเชย
ให้กับบุคลากรท่ีเสียสละเวลาและกาลังกายทางานต่อท่ีประชุม และอยู่เป็นกาลังใจให้กับบุคลากรท่ีเสียสละเวลา
และกาลังกายทางาน เงื่อนไขความรู้ ผู้บริหารสถานศึกษาจัดให้มีการอบรมให้ความรู้ความเข้าใจกับบุคลากรทุก
คนในโรงเรียนเร่ืองการตรวจสอบ ติดตาม ประเมินผลและรายงานผลการใช้งบประมาณอย่างถูกต้อง จัดให้มีการ
ประชุมผู้มีส่วนร่วมร่วมกันวางแผนบริการและใช้จ่ายงบประมาณ แต่งต้ังคณะกรรมการติดตามตรวจสอบ
ประเมนิ ผลการใช้งบประมาณของแต่ละฝ่าย
4.2 ครแู ละบุคลากรทางการศึกษา
4.2.1 จานวนครูที่มีความรู้ความเขา้ ใจหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง และสามารถนา
ไปสกู่ ารพฒั นางานในหนา้ ท่ี
16
4.2.1.1 ความรูค้ วามเข้าใจเกยี่ วหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ครแู ละบคุ ลากรทางการ
ศึกษาในสถานศึกษามีความรู้ความเข้าใจในหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง สามารถอธบิ ายและนาหลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับใช้ในการเรยี นการสอนและการดาเนนิ ชีวติ ได้อยา่ งถูกต้องเหมาะสม
4.2.1.2 การพัฒนาและปฏบิ ัติตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงท่ีเป็นแบบอย่างที่ดี
ครูและบุคลากรทางการศึกษาปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง นาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงมาใช้ในการพัฒนาตนเอง อันจะเห็นได้จากการเข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ เช่น การเข้าร่วมโครงการอบรมครู
แกนนาด้านหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เข้าร่วมกิจกรรมการอบรมการถอดบทเรียน 2-3-4 เข้าศึกษา
บทเรียนออนไลน์ของ thaimooc ในหลักสูตรด้านเศรษฐกิจพอเพียง การศึกษาดูงานศูนย์การเรียนรู้ตามหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงตาบลมหาชยั จงั หวดั กาแพงเพชร เป็นตน้
4.2.1.3 ความสามารถในการพัฒนาหลักสูตร หน่วยการเรียนรู้ และแผนการจัดการเรียนรู้
ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ครูและบุคลากรทางการศึกษา นาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมา
ใช้ในการออกแบบและจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ที่ตนรับผิดชอบ มีหน่วยการเรียนรู้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ทุก
ระดับชั้นมีการนิเทศ ติดตาม ประเมินผล มีการศึกษาวิเคราะห์วิจัย เพื่อพัฒนาการจัดการเรียนการสอนหน่วยการ
เรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงตามมาตรฐานของหลักสูตรพุทธศักราช 2551 รวมทั้งหลักการของ
เศรษฐกิจพอเพียง เพื่อการดารงชีวิตอย่างมีดุลยภาพ จนสามารถพัฒนาหน่วยการเรียนรู้ และแผนการจัดการ
เรียนรูต้ ามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งในการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้จนเห็นผล นกั เรยี นสามารถถอดบทเรียน
จากการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนได้
4.2.1.4 พฤตกิ รรมการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ สอ่ื การวัดและการประเมินผลการเรียนรู้
ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่หลากหลายเป็นแบบอย่างที่ดีได้ ครูสามารถจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ สื่อ
การวัดและการประเมินผลตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงท่ีหลากหลายอย่างต่อเน่ือง เพื่อเสริมสร้าง
คุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียง โดยครูผู้สอนมีส่วนร่วมในกระบวนการเรียนการสอน นาการวัดและประเมินผลการ
เรยี นรู้มาพัฒนา ปรบั ปรุงกจิ กรรมการเรียนรู้ สื่อ ให้มีความหลากหลาย สอดคล้องกับคุณลกั ษณะอยู่อย่างพอเพียง
ของผ้เู รียน
4.2.1.5 ตัวอย่างเร่ืองเล่าครูท่ีประสบความสาเร็จในการนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงไปใช้ในชวี ิตหรือการพฒั นาตนเอง ว่านาไปใช้อยา่ งไรบ้าง และเกดิ ผลอยา่ งไรตอ่ ตนเองและผอู้ ืน่
คุณครูสมภพ ท่าพริก ตาแหน่งครูวิทยฐานะชานาญการพิเศษ กลุ่มสาระการเรียนรู้
คณิตศาสตร์ การนาหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียงไปปรับใชใ้ นชีวติ ประจาวันของ คุณครสู มภพ ทา่ พริก ข้าพเจ้า
17
ได้นามาปฏิบัติผ่านการทาเกษตรในรูปแบบผสมผสาน การปลูกต้นไม้ต่าง ๆ เพื่อนามาใช้ประโยชน์ เช่น ไม้สัก ไม้
มะคา่ ไมย้ างนา รวมถงึ การปลูกผลไมต้ า่ ง ๆ เชน่ กลว้ ย มะม่วง ส้มโอ มะนาว เพ่ือการบรโิ ภคและแบง่ ปันให้กับคน
รอบข้าง ในส่วนของการบริหารเรื่องการจัดการน้ามีการจัดการสามารถใช้น้าได้ตลอดท้ังปี แบ่งพ้ืนที่ใน 35 ไร่ มี
การขุดสระน้าเพื่อเก็บกักน้า ในส่วนของการจัดการเศษไม้ก็จะนาไปเผาถ่านเพื่อสร้างรายได้ รวมถึงการจัดการ
ทรัพยากรที่มีให้เกิดประโยชน์สูงสุด และการช่วยเหลือชุมชนในการเป็นแหล่งเรียนรู้ให้แก่ผู้ท่ีสนใจ ท้ังในด้าน
ความรู้ต่าง ๆ ของการจัดการสวนและการดูแลแบบย่ังยืนและได้มีการถ่ายทอดความรู้ให้กับชาวบ้านในหมู่บ้าน
เพื่อให้ชาวบ้านมีรายได้เพิ่มเติมเช่นการเลี้ยงหอย โดยครูสมภพให้แนวคิดบนพ้ืนฐานเศรษฐกิจพอเพียงที่ว่า เราให้
ปลา 1 ตัวกบั ชาวบ้านชาวบา้ นกจ็ ะกนิ อ่ิมแค่ 1 มอ้ื แตถ่ ้าเราให้วิธกี ารจับปลา ชาวบา้ นจะได้มปี ลากินตลอดท้งั ปี
4.2.1.6 ตัวอย่างเร่ืองเล่าครูที่ประสบความสาเร็จในการนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพยี งไปประยุกตใ์ ช้ในกจิ กรรมการเรยี นรู้ เพ่ือใหน้ กั เรยี นเกดิ คุณลกั ษณะอย่างอยา่ งพอเพยี ง
คุณครูจิระวัฒน์ โรจนศิลป์ ตาแหน่งครูวิทยฐานะชานาญการ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคม
ศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม เมื่อข้าพเจา้ เขา้ ใจหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งอยา่ งลึกซึง้ ถึงแก่นแทข้ องความ
พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกันในตัวท่ีดี มีความรู้ คุณธรรม การใช้ชีวิตที่สมดุลและพร้อมรับการเปล่ียนแปลง
ใน 4 มิติ ได้แก่ วัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมข้าพเจ้านาไปถ่ายทอดให้นักเรียน โดยจัดกระบวนการ
เรียนรู้บูรณาการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยข้าพเจ้าเริ่มจากการวิเคราะห์หลักสูตร เลือกเน้ือหา
ออกแบบและจดั กิจกรรมให้สอดคล้องกับมาตรฐานตัวช้วี ัดและบริบทของท้องถ่ิน มุง่ เน้นใหผ้ ูเ้ รียนเหน็ ความสาคัญ
ของการอนุรักษภ์ ูมิปัญญาท้องถน่ิ หนว่ ยการเรยี นรู้ทสี่ รา้ งคือ การอนรุ กั ษ์ทรัพยากรทางธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม
โดยสอนในกิจกรรมเร่ือง การนาสิ่งของที่เหลือใช้กลับมาใชใ้ หม่ โดยมีผลงานสร้างสรรค์เปน็ กระถางต้นไม้จากเศษ
ผ้า ข้าพเจ้าจึงเริ่มออกแบบการสอน โดยวางแผนการบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจของพอเพียงสาหรับ
ครูผู้สอน จากนั้นจึงเขียนแผนการสอน จัดเตรียมใบความรู้เรื่องการนาขยะหรือส่ิงที่เหลือใช้มาใช้งานให้เกิด
ประโยชน์ เตรียมใบงานทีเ่ หมาะสม
การจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอน ข้าพเจ้าได้แทรกความรู้เรื่อง หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงในการ
ทางาน ทาให้นักเรียนเกดิ ความตระหนกั ในการใช้ชวี ิต ขา้ พเจ้าพบวา่ นักเรียนมคี วามสามัคคี มคี วามตัง้ ใจชว่ ยเหลือ
กันในการทางานจนได้ผลงานกระถางต้นไม้จากเศษผ้า ซึ่งจากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนดังกล่าว ทาให้
ข้าพเจ้าพบว่า นักเรียนเกิดความพอประมาณ คือนักเรียนแบ่งเวลาในการทากิจกรรมตามที่ได้รับมอบหมายอย่าง
เหมาะสม เขา้ ใจการนาส่งิ ของเหลือใชม้ าทาใหเ้ กิดประโยชน์สูงสุด นักเรยี นเรยี นรู้ในการทากิจกรรม ภาระงาน ได้
เหมาะสมกับความรู้ นักเรียนเกิดความมีเหตุผล นักเรียนเกิดกระบวนการทางาน การคิดการแก้ปัญหาในการ
ทางาน นักเรียนรู้จักนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ในการดารงชีวิต นอกจากน้ีนักเรียนมี
ภูมิคุ้มกันในตวั ทดี่ ี โดยสังเกตไดจ้ ากการท่นี ักเรียนรู้จัก การวางแผนกระบวนการทางานอย่างเปน็ ระบบให้ประสบ
ความสาเร็จและปลอดภัย และท่สี าคัญคือนกั เรยี นเกดิ ความตระหนกั ในการประหยัดและอดออม
18
4.2.7 ครแู กนนาไดข้ ยายผลหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งสผู่ ้ปู กครอง ชมุ ชน
ครูสามารถถ่ายทอดประสบการณ์ให้เพ่ือนครูในสถานศึกษา จนมีครูทุกระดับช้ันและทุกกลุ่ม
สาระการเรียนรู้จัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จนทาให้มีครูแกนนาท่ีสามารถนา
บทเรียนความสาเร็จในการจัดการเรียนรตู้ ามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง เชน่ การทากระถางต้นไม้จากเศษ
ผ้า การทาน้าหมักจุลินทรีย์สังเคราะห์แสง จากการถอดบทเรียนของตนมาจัดทาเป็นสื่อขยายผลสู่ภายนอก
สถานศึกษาอย่างสมา่ เสมอ จนเหน็ ผลประจกั ษ์ และนักเรียนสามารถนาไปประกอบเปน็ อาชีพได้
4.3 นักเรยี น
4.3.1 จานวนนกั เรียนแกนนา 150 คน นักเรียนแกนนาจานวน 150 คน ผ่านการอบรมการเป็น
นักเรียนแกนนาด้านการดาเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยคณะครูแกนนาและผู้อานวยการ
เปน็ วิทยากรในการอบรมให้กับนักเรียน นกั เรียนห้องเรียนละ 5 คน รวมจานวนท้งั หมด 150 คน นกั เรียนสามารถ
เป็นแบบอย่างที่ดีในเรื่องของการมีวินัย การใช้จ่าย มีการออมทรัพย์ตามศักยภาพหรือใช้จ่ายทรัพยากรอย่าง
ประหยัดและคุ้มค่า รวมทั้งมีส่วนร่วมในการดูแล การใช้ประโยชน์จากสาธารณสมบัติอย่างประหยัดและคุ้มค่า
ผู้เรียนมีอุปนิสัยเอ้ือเฟื้อเผ่ือแผ่กับผู้อื่น ไม่เบียดเบียนหรือสร้างความเดือดร้อนให้ผู้อ่ืน รวมทั้งกระทาตนเป็น
ประโยชน์ต่อผู้อื่นและสังคม นักเรียนแกนนาและเพื่อนนักเรียนนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับใช้ใน
การทากิจกรรมตา่ ง ๆ รวมท้งั การดาเนินชีวติ ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
4.3.2 ตวั อย่างเรือ่ งเล่านักเรยี นในการใชห้ ลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงในชีวิตประจาวัน
อย่างไร นายพลพล ธรรมวงศ์ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 6/2 จุดเริ่มต้นที่ทาให้เกิดใจรักมาก ๆ ในเรื่องของ
การเกษตรและเศรษฐกิจพอเพียงคือผมได้ดูคลิปวีดีโอจากสื่อโซเชียล จนเกิดจิตใต้สานึกว่าทุกวันนี้ผมได้ใช้จ่าย
อย่างฟุ่มเฟือยมาก เพราะเวลาหาเงินมาได้ผมจะซื้อหรือใช้จ่ายโดยไม่คานึงเลยว่าจะไม่เหลือเงินเก็บ จึงทาให้ผม
น้ันคิดเปล่ียน ประกอบกับเป็นคนรักต้นไม้รักธรรมชาติ ผมเร่ิมเดินสารวจท่ีดินบริเวณบ้านท่ีโล่งมากไม่มีอะไร
นอกจากต้นมะม่วง ต้นกล้วยและหญ้ารกๆ ผมจึงนาเงินท่ีมีอยู่น้ัน ซ้ือเมล็ดผักมาปลูกบริเวณบ้าน ปลูกพืชผักสวน
ครัว ทาให้ลดค่าใช้จ่ายในครัวเรือนได้มาก ผมมีอาชีพเสริมเป็นนักดนตรี ปี่พาทย์ แตรวง กลองยาว เพ่ือหารายได้
มาลดภาระของพ่อแม่ ผมไม่เคยให้เงินกับแม่มากนกั แต่ผมน้ันไม่เคยรบกวนขอเงินแม่มาใชใ้ นเรื่องส่วนตัว อาหาร
กอ็ ยูร่ อบบ้านใช้ท่ีดนิ ทกุ ตารางนวิ้ ให้เกิดประโยชน์ ทาใหค้ รอบครวั ผมและตวั ผมสุขใจ
4.4 คณะกรรมการสถานศึกษา
4.4.1 ความรู้ ความเข้าใจในหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง คณะกรรมการสถานศึกษามี
ความรู้ความเข้าใจในหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีความสนใจเห็นคุณค่า ศรัทธาและมีส่วนร่วมในการ
ขับเคล่ือนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในสถานศึกษา ซ่ึงคณะกรรมการสถานศึกษาส่วนใหญ่เป็นบุคคลท่ี
ไดร้ บั การยกย่องให้เปน็ บุคคลตน้ แบบความพอเพยี งเป็นแบบอยา่ งทด่ี ีในการใชช้ วี ติ อย่างพอเพยี ง
19
4.4.2 บทบาทในการใหก้ ารสนับสนุน สง่ เสริมสถานศกึ ษาในการขบั เคลือ่ นหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง มีบทบาทในการสนับสนุน จัดหางบประมาณในการส่งเสริม สถานศึกษาในการขับเคล่ือนหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง รวมท้ังการสนับสนุนกิจกรรมการขยายผลการขับเคล่ือนหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ
พอเพียงสู่ภายนอกสถานศึกษาจนเห็นผล เห็นชอบในการดาเนินโครงการต่าง ๆ ตามแผนปฏิบัติการของโรงเรียน
เพ่ือขับเคล่ือนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ทาให้โครงการตา่ ง ๆ สาเร็จลลุ ่วงตามวตั ถุประสงค์
5. ขอ้ มลู ด้านอาคารสถานท่ี / แหลง่ เรยี นรู้ / สิง่ แวดลอ้ ม
โรงเรียนปางศิลาทองศึกษา มีการบริหารจัดการด้านอาคารสถานที่และแหล่งเรียนรู้ภายในและภายนอก
สถานศึกษาโดยให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วม เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีการ
ประสานสัมพันธ์กับชุมชน เผยแพร่ข่าวสารและหลักการตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จนทาให้ชุมชน
หน่วยงานอื่น ๆได้ใช้ประโยชน์ มีส่วนร่วมในการส่งเสริม สนับสนุนการดูแลรักษาและพัฒนาอาคาร สถานท่ี
สภาพแวดล้อมของสถานศกึ ษาอย่างสม่าเสมอ
5.1 ความพร้อมของอาคารสถานทที่ เ่ี ออ้ื อานวยต่อการจัดการเรยี นรู้ และกจิ กรรมพัฒนาผ้เู รียนตาม
หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
โรงเรียนปางศิลาทองศึกษามีอาคารสถานท่ีที่สะอาด ร่มรื่น ปลอดภัย เหมาะสมต่อการจัดการเรียนการ
สอน มผี ูร้ ับผดิ ชอบการใช้ ปรับปรงุ พัฒนา ดูแลรกั ษาอาคารสถานท่อี ย่างชดั เจน มีการจัดทาคมู่ อื การใช้งานอาคาร
สถานที่เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด มีแผนการปฏิบัติงาน โครงการ งบประมาณ มีฐานข้อมูลการขับเคล่ือนหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของสถานศึกษา รวมถึงแผนผังแสดงแหล่งเรียนรู้ ฐานการเรียนรู้ โครงการต่าง ๆ
ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในสถานศึกษา ครูและนักเรียนมีส่วนร่วมในการดูแลรักษาส่ิงแวดล้อมใน
เรือ่ ง อาคาร สถานท่ีทเ่ี อ้ือต่อการเรยี นร้ตู ามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
5.2 มีแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลายเพ่อื เสริมสรา้ งอุปนิสยั อยอู่ ยา่ งพอเพียงอยา่ งเหมาะสม และเพียงพอ
กบั จานวนนักเรยี น
โรงเรียนปางศิลาทองศึกษา มีแหล่งเรียนรู้หลากหลายเพื่อสร้างเสริมอุปนิสัยอยู่อย่างพอเพียง ท้ังภายใน
และภายนอกสถานศึกษา ท่ีสอดคล้องกับภูมิสังคมของสถานศึกษาและมีการจัดการอย่างพอเพียง มีวิทยากร
รับผิดชอบฐานกิจกรรมการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ท่ีสามารถอธิบายความหมายได้อย่าง
ถูกต้องและมีแผนการจัดการเรียนรู้ของแหล่งเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไ ด้อย่างถูกต้องและ
ชัดเจน มีการประเมินผลการใช้แหล่งเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงอย่างเป็นรูปธรรม และมีการ
พฒั นาแหล่งเรียนรู้ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งอย่างต่อเนื่อง
5.3 สง่ิ แวดล้อมทีเ่ อื้ออานวยต่อการจดั การเรียนรตู้ ามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
โรงเรยี นปางศิลาทองศึกษามีแผนงาน/โครงการ งบประมาณ มผี ู้รบั ผิดชอบในการปรับใช้อาคารสถานท่ีให้
เอ้ืออานวยต่อสภาพแวดล้อม โดยคานึงถึงการนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับใช้ จนทาให้ชุมชน
20
หน่วยงานอื่น ๆ ได้ใช้ประโยชน์ มีส่วนร่วมในการส่งเสริม สนับสนุนการดูแลรักษาและพัฒนาอาคารสถานท่ี
สภาพแวดลอ้ มของสถานศกึ ษาอยา่ งสม่าเสมอ นกั เรยี นใชป้ ระโยชนจ์ ากแหล่งเรยี นร้ตู ามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพยี งได้อยา่ งเหมาะสม
6. ด้านความสมั พันธ์กบั ชมุ ชนและหนว่ ยงานภายนอก
6.1 การวางแผนและการดาเนนิ การสร้างเครือข่ายการขับเคลื่อนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ของสถานศกึ ษา
โรงเรียนปางศิลาทองศึกษามีการวางแผนในการสร้างเครือข่าย การขับเคลื่อนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพยี ง มีประสบการณ์ในการรบั สถานศกึ ษาอืน่ เพ่ือมาศึกษาดูงาน ไดแ้ ก่ โรงเรียนวงั ไทรวิทยาคม โรงเรยี นโค้งไผ่
วิทยา โรงเรียนสลกบาตรวิทยา โรงเรยี นเรืองวิทย์พิทยาคม และโรงเรียนวังตะเคียนประชานสุ รณ์เป็นต้น โรงเรยี น
สามารถบริหารจัดการเพื่อรองรับการขอศึกษาดูงานจากสถานศึกษาอ่ืน โดยไม่ส่งผลกระทบต่อการจัดการเรียน
การสอนของโรงเรยี น
6.2 ชุมชนให้ความไว้วางใจ ให้การสนับสนุน ส่งเสริม และมีส่วนร่วมในการขับเคล่ือนหลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพยี งสสู่ ถานศึกษา
โรงเรียนปางศิลาทองศึกษา มีความสัมพันธ์อันดีกับชุมชนและหน่วยงานภายนอก สามารถบริหารจัดการ
ความสัมพันธ์กับหน่วยงานต่าง ๆ ในการขับเคล่ือนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงได้อย่างเหมาะสมและ มี
ประสิทธิภาพ ทาให้ชุมชนให้ความไว้วางใจ ให้การสนับสนุน ส่งเสริม และมีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนหลักปรชั ญา
ของเศรษฐกิจพอเพยี งสู่สถานศกึ ษาอยา่ งต่อเน่ือง
6.3 สถานศกึ ษามสี ว่ นร่วมและใหก้ ารสนับสนนุ ชุมชน และหนว่ ยงานอ่ืนในการขับเคลื่อนหลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพยี ง
โรงเรียนปางศิลาทองศึกษา ได้ประสานความร่วมมือกับหน่วยงานต่าง ๆ เพื่อรับการสนับสนุนในการ
ขับเคล่ือนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของสถานศึกษาสู่ชุมชน มีการประชุมผู้ปกครองในโครงการสาน
สัมพันธ์บา้ นโรงเรียนโดยไดส้ อดแทรกให้ความรู้ความเข้าใจในหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการดาเนินชีวิต
แก่ผ้ปู กครองหรือชาวบ้านในชุมชนอาเภอปางศลิ าทอง ซง่ึ ได้รบั การสนับสนนุ และการประสานงานอย่างดีจากผู้นา
ท้องถิ่น จนทาให้ชาวบา้ นในชุมชน มกี ารดาเนินชีวติ ทดี่ ขี ้ึนในการนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปปรับใช้ใน
การดาเนินชวี ิต พออยู่ พอกนิ พอเพยี ง และเหน็ คุณค่าในส่งิ ทตี่ นเองมี
6.4 สถานศกึ ษาบริหารจดั การศกึ ษา และจัดการเรียนการสอนตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
จนสามารถเป็นแบบอยา่ งแกส่ ถานศึกษาและหน่วยงานอน่ื ได้
โรงเรียนปางศิลาทองศึกษา สามารถบริหารจัดการเรียนการสอนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
จนเป็นแบบอยา่ งให้สถานศึกษาอ่ืนได้เห็นคุณค่าของการนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในสถานศึกษา
21
ซ่ึงโรงเรียนปางศิลาทองศึกษาเป็นแบบอย่าง จนทาให้โรงเรียนสักงามวิทยาได้รับการประเมินจนเป็นสถานศึกษา
พอเพยี ง ในปกี ารศึกษา 2562
6.5 ผลความสาเรจ็ ที่เกิดจากความรว่ มมอื กนั ระหว่างสถานศกึ ษากบั ชุมชนหรือหน่วยงานอืน่
โรงเรยี นปางศลิ าทองศึกษา ได้รบั การยอมรบั และให้ความร่วมมอื จากหน่วยงานต่าง ๆ อาทิเชน่ องค์การ
บรหิ ารสว่ นตาบล โพธท์ิ อง อาเภอปางศิลาทอง จังหวัดกาแพงเพชร สหกรณ์โคขุนอาเภอปางศิลาทอง องคก์ าร
บริหารสว่ นจงั หวัดกาแพงเพชร ศูนยส์ ง่ เสรมิ การดาเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ตาบล มหาชัย
อาเภอไทรงาม จงั หวัดกาแพงเพชร ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร สาขาปางศลิ าทอง เป็นตน้ ใน
การขับเคลื่อนหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง อานวยความสะดวกให้คาปรึกษา เปน็ พีเ่ ลยี้ งใหส้ ถานศึกษาอน่ื ใน
การขับเคล่ือนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสูส่ ถานศึกษา ไดแ้ ก่ โรงเรยี นสกั งามวทิ ยา ทาให้ชมุ ชนหน่วยงาน
ภายนอก สถานศึกษาในสหวทิ ยาเขตแสนตอ เหน็ คุณค่ายอมรบั และให้ความร่วมมอื ในการขยายผลการขับเคลอ่ื น
หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่ภายนอกสถานศึกษาอย่างต่อเนื่อง
22
ภาคผนวก
23
เร่อื งเลา่ ของครูเกยี่ วกบั การดาเนินชีวิตตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
การดาเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ข้าพเจา้ นายสมภพ ทา่ พรกิ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียน
ปางศิลาทองศึกษา ในการนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง ปรับใช้ในชีวิตประจาวันของข้าพเจ้า ข้าพเจ้าได้
ยึดหลัก 3 ห่วง 2 เง่ือนไข ในการนาไปปฏิบัติโดยข้าพเจ้า
นามาปฏิบัติผา่ นการทาเกษตรในรปู แบบผสมผสานในส่วน
ของการปลูกไม้
ข้าพเจ้าปลูกต้นไม้ต่าง ๆ เพื่อนามาใช้ประโยชน์
เช่น ไม้สัก ไมม้ ะคา่ ไม้ยางนาเพื่อนามาใช้ประโยชน์ต่าง ๆ
ภายในสวนอีกทั้งสามารถสร้างรายได้ในอนาคตได้อีก
ด้วย รวมถึงความร่มร่ืนจากต้นไม้ต่าง ๆภายในสวน
ของข้าพเจ้า โดยปล่อยให้ธรรมชาติดูแลกันเอง เป็น
การจัดการโดยใช้ธรรมชาติดูแลกัน ในส่วนของการทา
ไม้ผล ข้าพเจ้าปลูกกล้วยชนิดต่าง ๆ เช่น กล้วยน้าว้า
กล้วยหอม กล้วยไข่ ผลไม้มีมะปราง ส้มโอ มะนาว
เป็นต้น ข้าพเจ้าปลูกไว้เพ่ือบริโภคมีเหลือแบ่งปัน
ให้กับเพื่อนบา้ น ชมุ ชน เพอ่ื การแบ่งปันให้ให้คนรอบข้างได้รับประทานผลไม้ รวมถงึ ความมีน้าใจให้กับคนรอบข้าง
อีกด้วย มีการจัดการเร่ืองน้าให้เพียงพอต่อการทาสวน เพราะถ้าไม่มีน้าจะทาให้เกิดปัญหาตามมาหลายๆอย่าง
ข้าพเจ้าจึงขุดสระเพ่ือรองรับน้าจากน้าฝนในการทาสวนให้เพียงพอตลอดทั้งปี และรู้จักการวางท่อเพื่อลาเลี้ยงน้า
ในการทาสวน ในส่วนของเศษไม้ต่าง ๆ ท่ีร่วงตามพ้ืนก็เก็บมาเผาฟืนเพื่อผลิตถ่านใช้ในการหุงต้ม และจาหน่าย
สรา้ งรายได้ อีกดว้ ย และการแบง่ ปนั ชว่ ยเหลือชมุ ชนในการเป็นแหลง่ เรียนรู้ แบง่ ปนั ความรู้ใหก้ ับผทู้ สี่ นใจ ขา้ พเจ้า
ยงั ปลกู พืชสวนครวั เพอื่ บรโิ ภคและแบง่ ปนั ผกั สวนครวั ใหก้ บั เพื่อนบา้ นรวมถึงเพาะเมล็ดจากต้นไม้ยนื ต้นต่าง ๆ เชน่
ไมส้ ัก ตน้ มะคา่ ต้นยางนา เพอื่ การเตรียมปลกู หรือสรา้ งรายไดใ้ ห้กบั ครอบครัว
นายสมภพ ท่าพริก
ครวู ิทยฐานะครูชานาญการพิเศษ
24
เร่อื งเล่าของครเู ก่ียวกบั เรือ่ งการออกแบบการเรียนรู้เพื่อเสรมิ สร้างอุปนสิ ยั พอเพยี ง
เม่อื เราเขา้ ใจหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงอย่างลึกซึ้งถงึ แกน่ แทข้ องความพอประมาณ มเี หตผุ ล มี
ภมู คิ ุ้มกันในตัวที่ดี มคี วามรู้ คณุ ธรรมการใช้ชีวติ ที่
สมดลุ และพร้อมรบั การเปลีย่ นแปลงใน 4 มิติ ได้แก่
วัตถุ สังคม สิง่ แวดลอ้ ม และวัฒนธรรม เรา
สามารถนาไปถา่ ยทอดใหน้ ักเรียนโดย จัด
กระบวนการเรียนรู้บรู ณาการตามหลกั ปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพยี ง โดยขา้ พเจ้าเร่ิมจากการวิเคราะห์
หลักสตู ร เลอื กเนื้อหา ออกแบบ และจัดกิจกรรมให้
สอดคล้องกบั มาตรฐานตัวชีว้ ัด และบรบิ ทของ
ทอ้ งถ่ิน ม่งุ เนน้ ใหผ้ ู้เรยี นเหน็ ความสาคญั ของการ
อนุรักษ์ภูมปิ ัญญาท้องถน่ิ ประกอบไปด้วย จงึ เลือก
หน่วยการเรยี นรูเ้ ร่ือง การอนุรักษท์ รัพยากรทาง
ธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม ในแผนการจัดการเรียนร้เู ร่ือง การนาสง่ิ ของท่เี หลือใช้กลบั มาใชใ้ หม่ โดยการบรู ณาการ
หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งมาสร้างสรรคผ์ ลงาน คือการทากระถางต้นไมจ้ ากเศษผ้าหรอื ผ้าทเี่ หลือใช้
เมื่อกาหนดเน้ือหาเร่ือง การนาสิ่งของที่เหลือ
ใช้กลับมาใช้ใหม่ได้แล้วข้าพเจ้าจึงเริ่มออกแบบการ
ส อ น โ ด ย ว า ง แ ผ น ก า ร บู ร ณ า ก า ร ห ลั ก ป รั ช ญ า ข อ ง
เศรษฐกิจของพอเพียงสาหรบั ครูผู้สอนจากน้นั จงึ เขยี น
แผนการสอน จัดเตรียมใบความรู้ การนาส่ิงของที่
เหลือใช้กลับมาใช้ใหม่ เตรียมใบงานท่ีเหมาะสมกับ
เนื้อหาที่สอนและความสนใจของผู้เรียนจัดกิจกรรม
การเรียนรู้เหมาะสมกับวัยของผู้เรียน เหมาะสมกับ
เวลาท่ีกาหนด จัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้ครบตาม
จุดประสงคท์ ่ีกาหนด
ในดา้ นการทางานกล่มุ ขา้ พเจ้าได้แบ่งกลมุ่ นกั เรียนโดยคละความสามารถเพือ่ ทีน่ กั เรียนจะได้แลกเปลีย่ น
เรียนรู้และแสดงศักยภาพของตนเอง มอบหมายให้นักเรียนศกึ ษาหาความรู้เร่ือง การนาสงิ่ ของท่ีเหลือใช้กลับมาใช้
ใหม่ เพิ่มเติมจากอนิ เทอร์เน็ต ขา้ พเจ้าได้เตรยี มตนเองใหม้ ีความรู้ในเน้อื หาสาระท่ีสอน เรอ่ื ง การนาสงิ่ ของท่ีเหลือ
ใช้กลับมาใชใ้ หม่ เตรียมความรูเ้ รอื่ งหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งและขนั้ ตอนการทากระถางตน้ ไม้จากเศษผา้
25
อกี ท้ังข้าพเจา้ ยังยดึ มนั่ ในคุณธรรม ดา้ นความรกั เมตตาต่อศษิ ย์ มีความรับผิดชอบในการทางานของตน และมีความ
ยุตธิ รรมตอ่ นักเรยี น
ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ข้าพเจา้ ไดแ้ ทรกความรู้เร่อื ง
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งในการทางาน ทาใหน้ กั เรียนเกิดความ
ตระหนกั ในการทางาน นักเรียนเกดิ การเรยี นรูจ้ ากการถ่ายทอดความรู้ของ
ครู ขา้ พเจา้ พบวา่ นักเรียนมีความสามคั คีมคี วามตง้ั ใจชว่ ยเหลอื กันในการ
ทางานจนไดผ้ ลงานการเปน็ กระถางตน้ ไมจ้ ากเศษผา้ (เป็นงาน DIY ) จาก
วสั ดทุ ีน่ ักเรียนมีอยู่ ซึ่งจากการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอนดงั กลา่ ว ทาให้
ขา้ พเจา้ พบวา่ นักเรยี นเกดิ
ความพอประมาณกล่าวคือ
นกั เรยี นแบง่ เวลาในการทา
กจิ กรรมตามที่ได้รบั
มอบหมายอย่างเหมาะสม นกั เรยี นเรียนรใู้ นการทากิจกรรม
ภาระงานได้เหมาะสมกับความรู้ ความสามารถตามวัยของตน
นกั เรียนเกดิ ความมเี หตุผล กล่าวคอื นกั เรียนเกิดการเชื่อมโยง
ความรู้ เรอ่ื ง การผสมสีแม่สใี นการทากระถางเพ่ือตบแตง่ ให้
สวยงามจากกลุม่ สาระการเรียนรู้ศิลปะ นักเรยี นเกดิ
กระบวนการทางาน การคิด การแกป้ ัญหา ในการทางานมี
ความคดิ รเิ รม่ิ สรา้ งสรรค์ในงานและท่ีสาคัญคือนกั เรยี นรูจ้ กั
นาหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงพอเพยี งมา
ประยุกตใ์ ชใ้ นการดารงชวี ิต นอกจากน้ีนักเรียนมีภมู ิคมุ้ กนั
ในตัวที่ดี โดยสังเกตได้จากการท่นี กั เรียนรู้จักการวางแผน
กระบวนการทางานอย่างเป็นระบบใหป้ ระสบความสาเร็จ
และปลอดภัย สามารถปรบั ตัวในการดารงชวี ิตพร้อมรับการ
เปลยี่ นแปลงในสังคมและท่สี าคญั คือนกั เรยี นเกิดความ
ตระหนกั ในการประหยดั และอดออม
นายจิระวัฒน์ โรจนศิลป์
ครวู ทิ ยฐานะครูชานาญการ
26
เรื่องเลา่ ของนักเรียนแกนนา
เรื่อง การดาเนินชวี ิตตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
อยู่อย่างพอเพียง เล้ียงชีพตนได้ เป็นสุข
สบายใจ ไม่อดตายพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง คือ
การพึ่งพาตนเองได้ ประหยัดอดออม ไม่ฟุ่มเฟือย
หรือใช้จ่ายอะไรท่ีสิ้นเปลื้องเกินไปถ้าไม่จาเป็นต่อ
ชวี ิตประจาวันของเรา
จุดเร่ิมต้นท่ีทาให้เกิดใจรักมาก ๆ ในเรื่อง
ของการเกษตรและเศรษฐกิจพอเพยี งคือการท่ีผมได้
ดูคลิปวิดีโอจากสื่อโซเชียลต่าง ๆ จนเกิดจิตใต้
ส านึ กว่าทุกวัน นี้ ผ ม ไ ด้ใ ช้จ่ าย อย่ า ง ฟุ่ มเ ฟื อ ย ม า ก
เพราะวา่ เวลาหาเงนิ มาได้ผมจะซื้อหรอื ใชจ้ ่ายโดยไม่
นกึ เลยวา่ จะไม่เหลือเงินเก็บ จงึ ทาให้ผมนัน้ คิดเปลีย่ นแปลง ประกอบกบั เป็นคนทรี่ ักต้นไม้รักธรรมชาติ ผมเร่มิ เดิน
สารวจท่ีดินบริเวณบ้านที่โล่งมาก ไม่มีอะไรนอกจากต้นมะม่วง ต้นกล้วยและหญ้ารกๆ ผมจึงนาเงินที่มีอยู่น้ัน ซื้อ
เมล็ดผักมาปลูกที่บริเวณบ้าน ปลูกพืชผักสวนครัว พริก ข่า ตะไคร้ ใบมะกรูด ถ่ัวฝักยาว แตงกวา ฯลฯ ทาให้ลด
ค่าใช้จ่ายในครัวเรือนได้มากข้ึน ผมมีอาชีพเสริมคือเป็นนักดนตรี ปี่
พาทย์ แตรวง กลองยาว เพื่อหารายได้มาลดภาระของพ่อแม่ ผมไม่
ค่อยให้เงินกับแม่มากนัก แต่ผมนั้นไม่เคยรบกวนท่ีจะขอเงินมาใช้
เรอื่ งสว่ นตวั รถจักรยานยนตร์ที่ผมใช้ เมื่อเกดิ การชารุดผมจะใช้เงิน
ส่วนตัวในการออกค่าซ่อมแซมส่วนท่ีเหลือผมเก็บออมไว้ในยาม
ฉุกเฉิน อาหารก็อยู่รอบบ้านใช้ดินทุกตารางนิ้วให้เกิดประโยชน์ มี
สวนเศรษฐกิจพอเพียงไว้ทีบ่ ้าน ทาให้ ครอบครวั และตัวผมสขุ ใจ
ใช้ชีวิตอย่างมีสติ ฐานะน้ันเกิดข้ึนได้ด้วยเงิน เงินก็ทาให้ฐานะร่วงลงได้เช่นกัน จงใช้ชีวิตด้วยสายกลาง
ยามใดทุกข์หรือตกงานให้นึกถึงหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของในหลวงรัชกาลที่ ๙ แล้วลงมือทาเงินนั้น
หรอื ใครยกใหเ้ ป็นเจ้า แล้วเมล็ดขา้ วใครนกึ เปน็ ไฉนใหน้ ึกถึงเม่ือเงิน น้นั หมดไปแตส่ ุขใจยังมีขา้ วใหเ้ รากิน
นายพลพล ธรรมวงศ์
นกั เรียนชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 6/2
27
ลาดับ ฐานกิจกรรม ภาพถ่ายทเี่ ก่ยี วข้อง
ที่ การเรียนรู้ ภาพประกอบฐานการเรยี นรู้/กิจกรรม
1 ฐานการ
เรยี นรู้การ
แยกขยะ
2 ฐานการ
เรียนรปู้ ุ๋ย
หมกั
3 ฐานการ
เรียนรู้การ
ปลกู มะละกอ
28
ลาดับ ฐานกจิ กรรม ภาพประกอบฐานการเรียนรู้/กจิ กรรม
ท่ี การเรยี นรู้
4 ฐานการ
เรยี นรู้การ
ปลูกมะนาว
5 ฐานการ
เรยี นรหู้ ญ้า
แฝก
6 ฐานการ
เรียนรกู้ าร
ปลกู กลว้ ย
29
ลาดบั ฐานกจิ กรรม ภาพประกอบฐานการเรยี นรู้/กจิ กรรม
ที่ การเรยี นรู้
7 ฐานการ
เรยี นรเู้ กษตร
ผสมผสาน
8 ฐานการ
เรยี นรู้เลี้ยง
เป็ดไข่
30
ลาดบั ฐานกจิ กรรม ภาพประกอบฐานการเรยี นรู้/กจิ กรรม
ที่ การเรยี นรู้
9 ฐานการ
เรยี นรู้
ธนาคาร
โรงเรียน
10 โรงเรียนวัง
ไทรวทิ ยาคม
ศึกษาดูงาน
จัดฐานการ
เรยี นรูต้ าม
หลกั ปรชั ญา
ของเศรษฐกิจ
พอเพยี ง
12 โรงเรียนเรอื ง
วิทยพ์ ทิ ยาคม
ศึกษาดูงาน
จดั ฐานการ
เรยี นรู้ตาม
หลกั ปรชั ญา
ของเศรษฐกจิ
พอเพียง
31
ลาดับ ฐานกจิ กรรม ภาพประกอบฐานการเรียนรู้/กิจกรรม
ท่ี การเรียนรู้
13 โรงเรยี น
สลกบาตร
วทิ ยาคม
ศกึ ษาดงู าน
จัดฐานการ
เรยี นรู้ตาม
หลกั ปรชั ญา
ของเศรษฐกจิ
พอเพียง
14 โรงเรียนโคง้
ไผ่วทิ ยาคม
ศึกษาดูงาน
จัดฐานการ
เรียนรู้ตาม
หลักปรชั ญา
ของเศรษฐกจิ
พอเพยี ง
32
ลาดับ ฐานกิจกรรม ภาพประกอบฐานการเรยี นรู้/กจิ กรรม
ที่ การเรยี นรู้
15 การทา MOU
การเปน็ พ่ี
เลย้ี งให้กบั
โรงเรยี นสัก
งามวทิ ยา