The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by teachinee.phi, 2021-10-19 09:11:26

วิจัยในชั้นเรียน ภาคเรียน 2 ปี 63

ภาคเรียน 2 ปีการศึกษา 2563

42

อยางถูกตองเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตผุ ลคุณธรรมและขอมูลสารสนเทศ รวมทั้งตัดสินใจท่ีมี
ประสทิ ธิภาพ โดยคำนงึ ถงึ ผลกระทบท่ีเกดิ ข้ึนตอ ตนเอง สงั คมและส่งิ แวดลอ ม

4. ความสามารถในการใชทักษะชีวิต หมายถึง ใชกระบวนการตาง ๆ ในการดำเนิน
ชีวิตประจำวัน เรียนรูดวยตนเองตอเนื่อง ทำงานและอยูรวมกันในสังคมดวยการสรางเสริม
ความสัมพันธอนั ดรี ะหวางบคุ คล จดั การปญหาและความขดั แยง ตา ง ๆอยา งเหมาะสม รูจักปรบั ตัวให
ทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมสภาพแวดลอม และหลีกเลี่ยงพฤติกรรมไมพึงประสงคที่สงผล
กระทบตอ ตนเองและผูอ่ืน

5. ความสามารถในการใชเทคโนโลยี หมายถงึ รูจักเลือกและใชเทคโนโลยีดา นตา ง ๆ ทักษะ
กระบวนการทางเทคโนโลยี เพ่ือการพฒั นาตนเองและสงั คมในดา นการเรยี นรู การสอ่ื สาร การทำงาน
การแกปญหาอยา งสรางสรรค ถกู ตองเหมาะสมและมีคุณธรรม
คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค

๑. รักความเปนไทย
๒. ใฝเรยี นรู
๓. มีจติ สาธารณะ
๔. มีวินยั
๕. อยูอยางพอเพียง
กระบวนการจัดการเรียนรู
เกร่นิ นำ

1. ครซู ักถามกระบวนการคดิ แกป ญหาของนักเรียนในชวี ิตประจำวัน
เขาสูบ ทเรยี น

2. ครูใหความรูเกี่ยวกับกระบวนการคิดเชิงออกแบบ (Design Thinking) และให
นกั เรยี นรวมกนั คิดเชิงออกแบบ (Design Thinking) เพื่อประยกุ ตใ ชสำหรบั การดำรงชวี ติ ประจำวัน

การจัดการเรียนการสอนมุงเนนผูเรียนเปนสำคัญ จัดการเรียนการสอนแบบ Active
Leaning เนนกระบวนการคิดวิเคราะหสูการเรียนรูอยางยั่งยืนในศตวรรษที่ 21 โดยนำแนวคดิ เชิง
ออกแบบประยุกตร ว มกับสิ่งตา ง ๆ เพ่อื นำไปสูการพัฒนานวตั กรรม ท่ีเรยี กวา “Design Thinking of
Things Innovation” ทั้งนี้เพื่อหาสาเหตุของปญหาและสามารถออกแบบเพื่อแกปญหาไดอยาง
แทจ รงิ โดยมวี ิธีการดำเนินการ/ปฏิบตั ิ ดงั น้ี

1. Empathize (เขาใจปญหา) ข้ันแรกตองทำความเขาใจกบั ปญหาใหถ องแทใ นทกุ
มุมมองเสียกอน ตลอดจนเขาใจผูใชก ลุมเปาหมาย หรือเขาใจในสิ่งท่เี ราตองการแกไข เพื่อหาหนทาง
ทเี่ หมาะสมและดที สี่ ุดใหได การเขาใจคำถามอาจเรม่ิ ตน ดวยการตั้งคำถาม สรางสมมติฐาน กระตุนให
เกิดการใชความคิดที่นำไปสูความคิดสรางสรรคที่ดีได ตลอดจนวิเคราะหปญหาใหถวนถี่ เพื่อหา
แนวทางทช่ี ัดเจนใหได การเขาใจในปญ หาอยางลึกซ้ึงถกู ตองน้ันจะนำไปสูการแกป ญหาที่ตรงประเด็น
และไดผลลพั ธท่ียอดเยี่ยม

2. Define (กำหนดปญหาใหชัดเจน) เมื่อเรารูถึงขอมูลปญหาที่ชัดเจน ตลอดจน
วิเคราะหอยางรอบดานแลว ใหนำเอาขอมูลทั้งหมดมาวิเคราะห เพื่อที่จะคัดกรองใหเปน ปญหาที่

43

แทจริง กำหนดหรือบงชี้ปญหาอยางชัดเจน เพื่อที่จะเปนแนวทางในการปฏิบัติการตอไป รวมถึงมี
แกน ยดึ ในการแกไ ขปญ หาอยา งมที ิศทาง

3. Ideate (ระดมความคิด) การระดมความคิด คือ การนำเสนอแนวความคิด
ตลอดจนแนวทางการแกไขปญหาในรูปแบบตาง ๆ อยางไมมีกรอบจำกัด ควรระดมความคิดใน
หลากหลายมุมมอง หลากหลายวิธีการ ออกมาใหมากที่สุด เพื่อที่จะเปนฐานขอมูลที่จะนำไป
ประเมินผล เพื่อสรปุ เปนความคิดที่ดที ี่สุดสำหรับการแกไขปญหานั้น ๆ ซึ่งอาจไมจำเปน ตองเกิดจาก
ความคิดเดียว หรือเลือกความคิดเดียว แตเปนการผสมผสานหลากหลายความคิดใหออกมาเปน
แนวทางสุดทายที่ชัดเจนก็ได การระดมความคิดนี้ยังชวยใหเรามองปญหาไดอยางรอบดานและ
ละเอียดข้ึนดว ย รวมถึงหาวิธีการแกป ญหาไดอยา งรอบคอบไดดวยเชน กนั

4. Prototype (สรางตนแบบที่เลือก) การออกแบบผลิตภัณฑหรือนวัตกรรมขั้น
Prototype ก็คอื การสรางตนแบบ เพ่ือทดสอบจริงกอนที่จะนำไปผลติ จริง สำหรับในดานอ่ืน ๆ ข้ันน้ี
ก็คือการลงมือปฏิบัติหรือทดลองทำจริงตามแนวทางที่ไดเลือกแลว ตลอดจนสรางตนแบบของ
ปฏบิ ตั ิการท่ีเราตอ งการจะนำไปใชจ รงิ

เมื่อไดขอสรุปที่ชัดเจนจากขั้นตอนที่ 3 การหาขอสรุปรวมกันเกี่ยวกับ Ideate
(ระดมความคิด) นำขอสรุปดงั กลาวมาประยกุ ตใชรวมกบั บอรด สมองกลฝงตวั ผานกระบวนการเขียน
ชุดคำสั่งลงบนบอรดสมองกลฝงตัว โดยการสรางตนแบบ (Prototype) เพื่อควบคุมใหทำงานตามท่ี
ตองการและแกป ญ หานน้ั ๆ ตอไป

5. Test (ทดสอบ) ทดลองนำตนแบบหรือขอสรุปที่จะนำไปใชจริงมาปฏิบัติกอน
เพื่อทดสอบประสิทธิภาพ ตลอดจนประเมินผล เสร็จแลวก็นำเอาปญหา หรือขอดี ขอ เสีย ที่เกิดข้ึน
เพอื่ นำมาปรบั ปรงุ แกไข กอนนำไปใชจรงิ อีกคร้งั

หากทายที่สุดไมไดมาซึ่งวิธีการแกปญหาที่แทจริง ก็สามารถวนกลบั ไปที่จุดเริ่มตน คือ
การเขา ใจปญ หา หรือ Empathize อีกคร้งั เพ่ือใหไดม าซง่ึ การออกแบบทแ่ี กไขปญหาอยางแทจ ริง

3. ครูใหความรูเกี่ยวกับการสรางนวัตกรรม (Innovation) เพื่อนำกระบวนการคิดเชิง
ออกแบบประยุกตใ ชส ำหรบั การพัฒนานวตั กรรมตอ ไป

4. ครูชี้แนะแนวทางการนำระบบกระบวนการคิดเชิงออกแบบ (Design Thinking) รวมกับ
การพฒั นานวัตกรรม (Innovation)

5. นกั เรยี นแบงกลุม รว มกนั คิดเชิงออกแบบ ((Design Thinking)) เพอ่ื นำมาแกปญหาตาง ๆ
ในชวี ิตประจำวัน โดยพัฒนานวัตกรรมท่ีสามารถแกป ญหานัน้ ๆ ได

ข้นั สรุป
นักเรยี นและครูผูสอนรวมกนั สรปุ ผลจากการจัดการเรยี นการสอนการคดิ เชงิ ออกแบบกับ

กิจกรรมหุน ยนตในชีวิตประจำวัน (Design thinking and robotic activities in daily life) โดยนำ
แนวคิดเชิงออกแบบ ประยุกตรวมกับสิ่งตาง ๆ เพื่อนำไปสูการพัฒนานวัตกรรมสำหรับการแกไข
ปญหาในชีวติ ประจำวนั ตอ ไป

44

สือ่ /แหลง เรยี นรู
1. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี เทคโนโลยี (การออกแบบและ

เทคโนโลยี) ม.2 สาระ เทคโนโลยี ชื่อผูแตง สาขาเทคโนโลยี ลิขสิทธิ์ สถาบันสงเสริมการสอน
วทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท.)

2. กระบวนการคิดเชิงออกแบบ (Design Thinking) เครื่องมือสำคัญของการสราง
ความสำเร็จใหองคกร สามารถเขาถึงไดจาก
https://th.hrnote.asia/orgdevelopment/190702-design-thinking/

3 . 5 ข ั ้ น ต อ น ข อ ง ก ร ะ บ ว น ก า ร Design Thinking ส า ม า ร ถ เ ข  า ถ ึ ง ไ ด  จ า ก
https://www.adges.net/post/2019/08/09/5 -ข-นตอน-ของกระบวนการ- design-thinking

4. Design Thinking สามารถเขาถึงไดจ าก https://elearning.set.or.th/SETGroup/
courses/195/info

และแหลงเรียนรอู ่ืน ๆ

การวัดผลและประเมินผล รอยละ ๗๕ – ๘๐
รอยละ ๗๕ – ๘๐
๑) วิธปี ระเมิน
- สังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุม
- ตรวจสอบการออกแบบชิ้นงาน/นวัตกรรม

๒) เครอ่ื งมอื ประเมนิ
- แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานกลมุ
- แบบตรวจสอบการออกแบบชน้ิ งาน/นวัตกรรม

๓) เกณฑการประเมนิ
- นกั เรยี นผานเกณฑก ารสงั เกตพฤติกรรม
- นกั เรยี นผานเกณฑการออกแบบชิ้นงาน/นวตั กรรม

45

แบบสงั เกตพฤติกรรม การทำงานกลุม

คำช้ีแจง : ใหผ ูสอน สงั เกตพฤตกิ รรมของนักเรียนในระหวางเรยี นและนอกเวลาเรยี น
แลว ขีด / ลงในชอ งทีต่ รงกับระดบั คะแนน

ชือ่ กลมุ ..................................................................ชัน้ ................

ลำดับ ช่อื -สกลุ การแบง ความ การแสดง การรับฟง การมีน้ำใจ
หนา ที่กัน รวมมอื ใน ความ ความ ชวยเหลือ

อยาง การทำงาน คิดเห็น คิดเหน็ กนั

เหมาะสม

ลงชือ่ .................................................... ผู
ประเมนิ

................ /................ /................

เกณฑก ารตดั สนิ คณุ ภาพ

ชวงคะแนน ระดับคณุ ภาพ

12 - 15 ดี

18 - 11 พอใช

ต่ำกวา 8 ปรับปรงุ

เกณฑการใหคะแนน

ปฏิบตั ิหรือแสดงพฤติกรรมอยา งสมำ่ เสมอ ให 3 คะแนน

ปฏิบตั ิหรอื แสดงพฤติกรรมบอยครั้ง ให 2 คะแนน

ปฏิบัตหิ รือแสดงพฤติกรรมบางคร้งั ให 1 คะแนน

46

แบบประเมินการออกแบบชิ้นงาน/นวัตกรรม

คำชี้แจง : ใหผูสอน สังเกตและประเมนิ การออกแบบชิ้นงาน/นวตั กรรมของนกั เรยี นในระหวางเรยี น
และนอกเวลาเรยี น แลว ขีด / ลงในชองทต่ี รงกับระดบั คะแนน

ชอ่ื กลุม..................................................................ช้นั ................

ลำดับ รายการ คะแนน
54321

1 เปนวธิ กี ารใหมทัง้ หมดหรือเกดิ จากการปรบั ปรุงเปล่ียนแปลงวธิ กี ารเดมิ

2 ผลงานนวัตกรรมเปน ส่งิ ใหมท ้งั หมดหรือบางสวน

3 มกี ารนำการคิดเชงิ ออกแบบมาประยกุ ตใชสำหรบั การออกแบบนวัตกรรม

4 สามารถระบุปญ หาทแ่ี ทจ รงิ และความตอ งการของกลุมเปาหมายไดชัดเจน

5 มีการนำวธิ กี ารจัดระบบ ( System Approach) มาใชพิจารณาองคประกอบท้ังสวนขอมลู ทีใ่ ชเขา

ไปในกระบวนการและผลลัพธใหเ หมาะสมกอนท่จี ะทำการเปลยี่ นแปลง

6 ยังไมเ ปน สวนหนง่ึ ของระบบในปจ จบุ นั กลาวคอื หากวธิ ีการนั้น ๆ ไดรับการนำเอา ไปใชอ ยา ง

กวา งขวางโดยทว่ั ไปแลว และวธิ ีการนน้ั มีประสทิ ธภิ าพกจ็ ะถือวา วธิ กี ารนนั้ ๆ นบั เปน เทคโนโลยี

7 ยังไมเ ปนสว นหน่ึงของระบบในปจจบุ นั กลาวคอื หากวิธีการนนั้ ๆ ไดรบั การนำเอา ไปใชอ ยา ง

กวางขวางโดยท่วั ไปแลว และวิธกี ารนนั้ มปี ระสทิ ธภิ าพกจ็ ะถือวาวธิ กี ารนัน้ ๆ นบั เปนเทคโนโลยี

8 ผลงานนวตั กรรมเปน ประโยชนตอสงั คมและสงผลใหเกดิ ประโยชนอยางเปน รปู ธรรม

ประจักษตอ สาธารณะ

9 เสรมิ สรา งความรแู ละเปน ประโยชนตอ วงวชิ าการอยางกวางขวาง หรือสามารถนำไป

ประยุกตไ ดอ ยางแพรห ลาย

10 มคี วามคดิ รเิ รม่ิ และเปน งานบุกเบกิ ทางวิชาการตลอดจนเปนการสรา งองคความรูใ หม

ลงช่ือ .................................................... ผู

ประเมนิ
................ /................ /................

เกณฑก ารตัดสินคณุ ภาพ

ชว งคะแนน ระดับคณุ ภาพ

40 - 50 ดีมาก

30 - 39 ดี

20 - 29 พอใช

ตำ่ กวา 20 ปรับปรุง

47

แบบประเมนิ คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค

คำช้แี จง : ให ผสู อน สงั เกตพฤตกิ รรมของนกั เรียนในระหวา งเรยี นและนอกเวลาเรียน
แลว ขีด / ลงในชอ งทต่ี รงกับระดับคะแนน

คุณลักษณะ รายการประเมิน ระดบั คะแนน
อันพึงประสงคด าน 321

1. รกั ชาติ ศาสน 1.1 ยืนตรงเม่อื ไดย ินเพลงชาติ และบอกความหมายของ
กษตั รยิ  เพลงชาตไิ ด

1.2 ปฏิบตั ติ นตามสทิ ธิหนา ที่

1.3 เขารวมกิจกรรมทเ่ี ปน ประโยชนต อโรงเรียน และปฏิบัติตน
เพือ่ สรา งความสามคั คี ปรองดองในหมเู พื่อน

1.4 เขารวมกิจกรรมทางศาสนาทตี่ นนบั ถือตามหลกั ของศาสนา

1.5 เขา รว มกจิ กรรมทเี่ ก่ยี วกับสถาบันพระมหากษตั ริย
ตามทโี่ รงเรยี นและชมุ ชนจดั ขนึ้

2. ซ่อื สัตย สจุ ริต 2.1 ใหข อ มลู ท่ีถกู ตอ ง และเปน จริง

2.2 ปฏิบตั ใิ นสิง่ ท่ีถูกตอง ทำตามสัญญาท่ีตนใหไวกบั พอ แม
หรือผปู กครอง

2.3 ปฏิบัติตอ ผูอน่ื ดวยความซ่อื ตรง

3. มีวนิ ยั รับผิดชอบ 3.1 ปฏิบัติตามขอตกลง กฎเกณฑ ระเบียบ ขอบงั คบั ของ
ครอบครวั และโรงเรียน มีความตรงตอเวลาในการปฏบิ ตั ิ
กิจกรรมตา ง ๆ ในชวี ติ ประจำวัน

4. ใฝเรยี นรู 4.1 รูจักใชเวลาวางใหเ ปน ประโยชน และนำไปปฏิบตั ไิ ด

4.2 รจู กั จัดสรรเวลาใหเหมาะสม

4.3 เชื่อฟงคำสั่งสอนของบิดา มารดา โดยไมโตแ ยง

4.4 ตง้ั ใจเรยี น

4.5 ปรับปรุงตนเองในขอ ผิดพลาด

5. อยอู ยา ง 5.1 ใชท รัพยส ินและส่งิ ของของโรงเรยี นอยา งประหยัด
พอเพียง 5.2 ใชอ ุปกรณการเรียนอยา งประหยดั และรคู ณุ คา

5.3 ใชจ า ยอยางประหยดั และมกี ารเกบ็ ออมเงนิ

6. มงุ มน่ั ในการ 6.1 มคี วามต้งั ใจและพยายามในการทำงานทไ่ี ดร บั มอบหมาย
ทำงาน 6.2 มคี วามอดทนและไมท อแทต อ อุปสรรคเพอ่ื ใหงานสำเร็จ

48

แบบประเมิน คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค (ตอ )

คณุ ลักษณะ รายการประเมิน ระดับคะแนน
อนั พึงประสงคด าน 321
7.1 มจี ติ สำนึกในการอนุรกั ษวฒั นธรรมและภูมปิ ญญาไทย
7. รักความ 7.2 เห็นคุณคาและปฏิบตั ติ นตามวัฒนธรรมไทย
เปน ไทย 8.1 รจู ักชว ยพอ แม ผูปกครอง และครทู ำงาน
8.2 อาสาทำงานใหผอู ืน่
8. มจี ิตสาธารณะ 8.3 รจู ักการดแู ลรกั ษาทรพั ยส มบตั ิและส่งิ แวดลอ มของ
หองเรยี น

โรงเรยี น เขา รวมกิจกรรมของโรงเรยี น

ลงชอ่ื .................................................... ผู
ประเมนิ

................ /................ /................

เกณฑก ารตดั สนิ คุณภาพ

ชว งคะแนน ระดบั คุณภาพ

55 - 72 ดี

36 - 54 พอใช

ตำ่ กวา 36 ปรบั ปรงุ

เกณฑการใหคะแนน ให 3 คะแนน
ปฏิบัตหิ รือแสดงพฤติกรรมอยางสม่ำเสมอ ให 2 คะแนน
ปฏิบตั หิ รือแสดงพฤติกรรมบอ ยครง้ั
ให 1 คะแนน
ปฏิบัตหิ รอื แสดงพฤติกรรมบางครั้ง

49

แบบบันทึกหลงั แผนการสอน
ดา นความรู
ดา นสมรรถนะสำคัญของผูเรยี น
ดานคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค
ดา นอ่ืนๆ (พฤติกรรมเดน หรือพฤตกิ รรมท่มี ปี ญ หาของนกั เรียนเปน รายบคุ คล (ถาม)ี )
ปญหา/อปุ สรรค
แนวทางการแกไ ข

ความเหน็ ของผบู ริหารสถานศกึ ษาหรอื ผูทไ่ี ดร ับมอบหมาย

ขอ เสนอแนะ

ลงช่อื )
(

ตำแหนง



วิจยั ในช้ันเรยี น

การจดั การเรยี นรูแ บบใชโ ครงงานเปน ฐาน
ดว ยกระบวนการคดิ เชงิ ออกแบบ
(Project-Based Learning of Design Thinking)

ปการศกึ ษา 2563


Click to View FlipBook Version