The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by teachinee.phi, 2021-10-19 09:09:46

รายงานวิจัยในชั้นเรียน ภาคเรียน 2 ปี 62 5W 1H

ภาคเรียน 2 ปีการศึกษา 2562

รายงานวจิ ยั ในชน้ั เรียน

เร่อื ง การพฒั นาการคดิ วเิ คราะหโ ดยกระบวนการคิดวเิ คราะห 5W 1H
รายวชิ าเทคโนโลยี (ออกแบบและเทคโนโลย)ี สาํ หรบั นกั เรยี นช้นั มัธยมศึกษาปท ่ี 5
ภาคเรยี นท่ี 2 ปก ารศกึ ษา 2562

ผวู ิจัย

นางสาวเตชินี ภริ มย

ตาํ แหนง ครู กลมุ สาระการเรยี นรูวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

โรงเรยี นปลายพระยาวิทยาคม

สาํ นกั งานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษามัธยมศึกษา นครศรธี รรมราช
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

การพฒั นาการคิดวิเคราะหโดยกระบวนการคิดวเิ คราะห 5W 1H
รายวชิ าเทคโนโลยี (ออกแบบและเทคโนโลย)ี สำหรบั นักเรียนชน้ั มธั ยมศึกษาปท ่ี 5

นางสาวเตชนิ ี ภิรมย
ตำแหนง ครู คศ.1

โรงเรยี นปลายพระยาวิทยาคม จงั หวดั กระบี่
สำนักงานเขตพ้นื ทกี่ ารศกึ ษามัธยมศกึ ษาเขต 13 (ตรัง , กระบ่ี)





บทคดั ยอ

ผลงานวจิ ยั การพฒั นาการคดิ วิเคราะหโดยกระบวนการคดิ วิเคราะห 5W 1H
รายวิชาเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) สำหรับนกั เรยี นชัน้ มัธยมศกึ ษาปท ่ี 5

ชอื่ -สกุลผูวจิ ยั นางสาวเตชนิ ี ภิรมย
ตำแหนง ครู คศ.1
การศกึ ษา ปริญญาโท วทิ ยาศาสตรมหาบณั ฑติ (วท.ม.ระบบสารสนเทศคอมพิวเตอร)
สถานทต่ี ิดตอ โรงเรยี นปลายพระยาวิทยาคม ถนนอา วลึก-พระแสง ตำบลปลายพระยา

อำเภอปลายพระยา จงั หวัดกระบี่ 81160 โทรศพั ท 086 470 3039
ปท ่ที ำวิจัยเสรจ็ 2563

การพัฒนาการคิดวิเคราะหโดยกระบวนการคิดวิเคราะห 5W 1H รายวิชาเทคโนโลยี (การ
ออกแบบและเทคโนโลย)ี สำหรับนกั เรยี นชั้นมธั ยมศกึ ษาปท่ี 5 มวี ตั ถุประสงค ดงั น้ี 1) เพอื่ พัฒนาการ
คิดวิเคราะหโดยกระบวนการคิดวิเคราะห 5W 1H และ 2) เพื่อศกึ ษาผลการสะทอนการเรียนรูโดย
กระบวนการคดิ วิเคราะห 5W 1H ประชากร นักเรยี นช้นั มัธยมศกึ ษาปท ่ี 5 ภาคเรียนท่ี 2 ปการศกึ ษา
2562 ทลี่ งทะเบียนรายวิชาเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) โรงเรียนปลายพระยาวิทยาคม
กลุม ตวั อยาง นกั เรยี นชนั้ มัธยมศกึ ษาปที่ 5 หอง 2 จำนวน 30 คน ในภาคเรยี นที่ 2 ปก ารศกึ ษา 2562
ทลี่ งทะเบียนรายวชิ าเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) โรงเรียนปลายพระยาวทิ ยาคม ที่ไดมา
จากการสมุ แบบกลมุ (Cluster Random Sampling) เครอื่ งมอื วจิ ยั ประกอบดวย 1) แผนการจัดการ
เรียนรูโดยใชกระบวนการคดิ วิเคราะห 5W 1H 2) แบบประเมินผลงานของนักเรียนท่ีประเมินการคิด
วเิ คราะห และ 3) แบบสะทอนการเรียนรู ผวู ิจัยไดจัดทำแผนการสอนทีม่ ีกจิ กรรมและวธิ ีการสอนโดย
สอดคลองกับการพัฒนาการคิดวิเคราะหตามกระบวนการคิดวิเคราะห 5W 1H ใหผูเ รียนไดเกิดการ
คิดวิเคราะหอยางมีหลักการ โดยการสังเกต เก็บรวบรวม และวิเคราะหขอมูล และประเมินผล
ผลการวิจยั พบวา ผเู รยี นสว นใหญมกี ารพัฒนากระบวนการคิดวเิ คราะหท่ดี ขี ้นึ รหู ลกั การคดิ วิเคราะห
และสามารถปฏบิ ัตงิ านและความถูกตองของงานอยู ในระดับดี และกลาทีจ่ ะคดิ อยางเต็มที่ ซึ่งผูเรียน
ไดใหเหตุผลประกอบในทุกหัวขอ ไดอยางชัดเจนอยูใ น ระดับที่ดี ซึ่งสรุปไดวา วิธีการพัฒนาการคิด
วิเคราะหโดยกระบวนการคดิ วิเคราะห 5W 1H เปน ทกั ษะทีใ่ ชไ ดผลดีในระดับที่นาพอใจ สามารถชว ย
พฒั นากระบวนการคดิ วเิ คราะหของผเู รยี นไดดขี ้นึ ตามจดุ ประสงคท ี่กำหนดไว

ผลแบบสะทอนการเรียนรู พบวา ผูเรียนไดเรยี นรูก ระบวนการออกแบบที่ใชกระบวนการคดิ
วิเคราะห 5W 1H นั้น ทำใหผูเรียนเกิดการคิดที่เปนกระบวนการ มีขั้นตอนในการคิดที่เปนระบบ มี
กระบวนการเรียนรูที่เปนขั้นตอน มีแนวทางดานความคิดที่เปนระบบ มีเหตุผลในการตัดสินใจ
ออกแบบ ผลงานไดถกู ตองตรงตามจุดประสงคท ่ีไดตัง้ ไว



คำนำ

รายงานการวิจัยฉบับนี้เปนการวิจัยในชั้นเรียน เกี่ยวกบั การพัฒนาการคิดวิเคราะหโดย
กระบวนการคิดวิเคราะห 5W 1H รายวิชาเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี สำหรับนักเรยี น
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 โรงเรียนปลายพระยาวิทยาคม จังหวัดกระบี่ ซึ่งการวิจัยในครั้งนี้ไดใชกิจกรรม
คุณภาพดวยการเรียนรูการคิดวิเคราะห และนำขอมูลจากการเรียนเปรียบเทียบพัฒนาการคิด
วิเคราะห เพอ่ื แกป ญ หาการเรียนการสอนและเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพทางการเรยี นของนักเรยี น

ผูวิจัยหวังวาการวิจัยครั้งนี้ มปี ระโยชนสำหรับผูอานทุกทา น หากมีขอผิดพลาด ผูวิจัย
ยินดีรบั ฟง ขอ เสนอแนะ เพือ่ พฒั นา ปรับปรงุ การวจิ ัยในโอกาสตอ ไป

เตชินี ภิรมย
ผวู จิ ัย

สารบัญ ค

บทคดั ยอ หนา
คำนำ
สารบญั ก
สารบญั ภาพ ข
สารบัญตาราง ค
บทที่ 1 บทนำ จ

1.1 ภูมหิ ลงั และความเปนมา
1.2 วตั ถุประสงคข องการวจิ ยั 1
1.3 ขอบเขตของการวจิ ยั 1
1.4 นิยามศพั ท 2
1.5 ประโยชนท่คี าดวาจะไดร ับ 2
1.6 กรอบแนวคิดการวจิ ัย 3
บทท่ี 2 เอกสารและทฤษฎีท่ีเกี่ยวขอ ง 3
2.1 ความหมายของการคิดวิเคราะห
2.2 แนวคดิ และทฤษฎีเกี่ยวกับการคดิ วเิ คราะห 4
2.3 ความสำคัญของการคดิ วเิ คราะห 5
2.4 องคประกอบของการคิดวิเคราะห 8
2.5 การวดั ความสามารถในการคดิ วิเคราะห 9
2.6 ความจำเปนและความสำคญั ของการคิดวเิ คราะห 10
2.7 แนวทางการสอนใหน กั เรยี นเกดิ การคดิ วิเคราะห 11
2.8 งานวิจยั ทีเ่ กี่ยวของกับการคดิ วเิ คราะห 12
บทท่ี 3 วิธดี ำเนนิ การวจิ ัย 16
3.1 ประชากรและกลุมตัวอยาง
3.2 เครือ่ งมือท่ีใชในการวิจัย 18
3.3 การสรา งเคร่ืองมือที่ใชในการวจิ ัย 18
3.4 การเกบ็ รวบรวมขอมูล 19
3.5 การวเิ คราะหขอมลู 21
3.6 สถติ ทิ ใ่ี ชในการวิเคราะหขอ มูล 21
บทท่ี 4 ผลการวเิ คราะหขอมูล 22
4.1 ผลการวเิ คราะหแ บบประเมินผลงานการคดิ วิเคราะห 5W 1H
4.2 ผลการสะทอนการเรียนรู 23
24

สารบญั (ตอ) ง

บทที่ 5 สรุปผลการวิจัย อภปิ รายผล และขอเสนอแนะ หนา
5.1 สรปุ ผลการวจิ ัย
5.2 อภิปรายผลการวจิ ยั 25
5.3 ขอ เสนอแนะ 26
27
บรรณานกุ รม
ภาคผนวก 30
ภาคผนวก ก แบบประเมินการคดิ วเิ คราะห 5W 1H 33
ภาคผนวก ข แบบสะทอนการเรียนรู 35
ภาคผนวก ค ภาพประกอบ

สารบัญภาพ จ

ภาพประกอบที่ หนา
ค.1 แสดงการนำเสนอผลจากการคดิ วิเคราะหจากกรณตี ัวอยางท่ี 1 36
ค.2 แสดงการนำเสนอผลจากการคดิ วิเคราะหจากกรณตี ัวอยางท่ี 2 36

สารบญั ตาราง ฉ

ตารางที่ หนา
4.1 ผลการวิเคราะหแบบประเมนิ ผลงานการคิดวิเคราะห 5W 1H 23

หลักการความเปนมาและความสำคัญของปญ หา

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) จัดกลุม
สาระการเรียนรูจากเดิมรายวิชาเกี่ยวกับคอมพิวเตอร สังกัดกลุมสาระการเรยี นรูการงานอาชีพและ
เทคโนโลยี ผลจากการปรับปรุงหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานดังกลาว ไดปรับเปลี่ยนเปน
สังกัดกลุมสาระวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี สำหรับนกั เรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 ภาคเรียนที่ 2 ป
การศึกษา 2562 ทางโรงเรียนปลายพระยาวทิ ยาคม ไดจัดการเรียนการสอนรายวชิ าเทคโนโลยี (การ
ออกแบบและเทคโนโลยี) โดยมุงเนน ใหผ ูเรียนเขา ใจวธิ กี ารทำงานเพื่อการดำรงชีวติ สรา งผลงานอยาง
มีความคิดสรางสรรค คิดอยางมีวิจารณญาณ มีทักษะการทำงานรวมกัน ทักษะการจัดการ ทักษะ
กระบวนการแกปญหา และทักษะการแสวงหาความรู ทำงานอยางมคี ณุ ธรรม และมจี ิตสำนึกในการใช
พลงั งานและทรัพยากรอยางคมุ คา และย่ังยนื

ปจ จุบันประเทศไทยเปนที่ยอมรับกันวาทักษะการคิดวิเคราะหของประชาชนโดยรวมลดลง
มาก ประชาชนถูกชกั จูงและหลงเช่ือการบอกเลา หรือเชื่อปรากฏการณเ หนือธรรมชาตไิ ดงา ย แมสวน
ใหญจะนับถือพุทธศาสนาแตก็มิไดตระหนักถึงคำสอนของพระพุทธเจาที่สอนใหคิดเชิงการคิด
วเิ คราะห คอื ปจุ ฉา วสิ ัชนา และการสอนไมใหเชอ่ื ในสง่ิ ที่ "เขาวามา" ใหสืบสวนไตรต รองใหรอบคอบ
กอนจึงคอยเชือ่ การสอนการคิดวเิ คราะหในโรงเรียนชั้นมัธยมปลายจงึ นาจะเปนสง่ิ จำเปน (อรพรรณ
ลือบุญชยั ,2543)

การพัฒนาการคิดวเิ คราะหส งผลใหผูเรยี นรูจักและเขา ใจตนเอง รูขอเท็จจริง รูเหตุและรผู ล
เขาใจเหตุการณตาง ๆ ชวยพัฒนาความเปนคนชางสังเกต หาความแตกตางอยางสมเหตุสมผล อัน
เปนการพัฒนา ความคิด สติปญญา จริยธรรม อารมณ ความรูสึกตามหลักเหตุและผลโดยอาศยั
กระบวนการคดิ วเิ คราะห 5W 1H ซง่ึ การคิดวิเคราะหเปนการคดิ โดยใชสมองซกี ซายเปนหลกั เปนการ
คิดเชงิ ลึก คดิ อยา งละเอียดจากเหตไุ ปสผู ล ตลอดจนการเชอ่ื มโยงความสมั พันธใ นเชงิ เหตแุ ละผล

จากการจดั การเรียนการสอนวชิ าเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ของนักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาปท่ี 5 พบวา ผูเรียนขาดทักษะในการคิดวิเคราะหอยางมีระบบแบบแผนกระบวนการทำ
ใหการคิดวิเคราะหท ่ีไมดีพอ

จากเหตุผลดังกลาว ผูวิจัยจึงไดศึกษาแผนการจัดการเรียนการสอนดวยกระบวนการคิด
วิเคราะห 5W 1H เพื่อใหผูเรียนไดพัฒนาการคิดวิเคราะหของตนเอง รูและเขาใจตนเองและผูอื่น
สิ่งแวดลอ ม และเหตกุ ารณตาง ๆ ไดด ียงิ่ ขน้ึ

แนวคดิ /ทฤษฎี

ความหมายของการคิดวเิ คราะห
มีนักการศกึ ษาและนักวชิ าการหลายทาน ไดใหความหมายหรือนิยามของการคิดวิเคราะหไว
อยางหลากหลาย ดงั นี้
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พุทธศักราช 2542 (ราชบัณฑิตยสถาน , 2546 :
251,1071) ไดระบุความหมายของคำวา “คดิ ” หมายถึง ทำใหปรากฏเปนรูปหรือประกอบใหเปนรูป
หรือเปนเรื่องข้ึนในใจ ใครครวญ ไตรตรอง คาดคะเน คำนวณ มุง จงใจ ตั้งใจ นึก และใหความหมาย
ของคำวา “วิเคราะห” หมายถึง ใครครวญแยกออกเปน สวน ๆ เพ่ือศึกษาใหถองแทดังนัน้ คำวา คิด

2

วิเคราะหจึงมีความหมายโดยรวมวา การใครครวญ ไตรตรอง คาดคะเน คำนวณดวยความตั้งใจ
พจิ ารณาแยกออกเปน สวน ๆ เพื่อศกึ ษาใหถองแท

บลูม (Bloom , 1956 : 6 - 9) กลาววา การคิดวิเคราะหเปนความสามารถ ในการแยกแยะ
เพือ่ หาสวนยอยของเหตุการณเร่ืองราวหรือเนื้อหาตาง ๆ วา ประกอบดวยอะไร มีความสำคัญอยางไร
มีอะไรเปน สาเหตุ มอี ะไรเปนผลและทเี่ ปนอยา งนน้ั ดว ยหลักการอะไร

วัตสัน และเกรเซอร (Watson & Glaser,1964 : 11) ไดใหความหมายของการคิดวิเคราะห
วาเปนสิ่งที่เกิดจากสวนประกอบของทัศนคติ ความรูและทักษะ โดยทัศนคติเปนการแสดงออกทาง
จติ ใจตองการสบื คน จากปญหาทม่ี ีอยู ความรูจ ะเกยี่ วกับการใชเหตุผลในการประเมนิ สถานการณ การ
สรุปความเท่ียงตรงและการเขา ใจในความเปนนามธรรม สวนทกั ษะจะประยุกตร วมอยูในทัศนคติและ
ความรู

ดิวอี้ (Dewey, 1993) กลาววา การคิดวิเคราะห หมายถึง การคิดพิจารณาอยางรอบคอบ
และจริงจังเกี่ยวกับความเชื่อใด ๆ หรือความรูในรูปแบบตาง ๆ บนพื้นฐานของสิ่งสนับสนุนการคิด
พิจารณานั้นและหมายถึงการพินิจพิจารณาขอสรุปที่เปนเปาหมายของการคิดนั้นซึ่งกวา งไกลกวา
สภาวะทค่ี วามคดิ น้นั ปรากฏอยู

ทิศนา แขมมณี (2545 : 401) ระบุวา การคิดวิเคราะห หมายถึง การคิดที่ตองใชคำตอบ
แยกแยะขอมูลและหาความสัมพันธของขอมูลท่ีแยกแยะนั้นหรืออีกนัยหนึ่งคือการเรียนรูในระดบั ท่ี
ผูเรียนสามารถบอกไดวาอะไรเปนสาเหตุ เหตุผล หรือแรงจูงใจ ที่อยูเบื้องหลังปรากฏการณใด
ปรากฏการณหน่ึง

เกรียงศักดิ์ เจริญวงศศักด์ิ (2553 : 2) ไดใหความหมายการคิดวิเคราะห หมายถึง การ
จำแนก แยกแยะ องคประกอบของส่ิงใดส่งิ หนง่ึ ออกเปนสว น ๆ เพือ่ คน หาวาทำมาจากอะไร ประกอบ
ขึ้นมาไดอยา งไร เช่อื มโยงสัมพันธกันอยา งไร

วรรณา โรจนะบรุ านนท (2557 : 5) การคิดวิเคราะห หมายถงึ การคดิ ระดบั สงู ทีเ่ กิด ขน้ึ ดวย
กระบวนการที่ซับซอน เปนความสามารถในการคิดที่ใชเหตุผลในการแกปญหาสามารถจำแนก
แยกแยะองคประกอบตาง ๆ ออกเปนสวนยอย ๆ หรือเปนหมวดหมูได โดยพจิ ารณาอยารอบคอบถงึ
สภาพการณหรือขอ มลู ตาง ๆ วามขี อเทจ็ จริงเพียงใดในการตดั สินใจ

จากความหมายของการคิดวิเคราะหท ี่นักการศกึ ษาขางตนกลาวไวขา งตนสว นใหญจ ะเปนไป
ในแนวเดียวกัน ผูวิจัยจึงสรุปความหมายวา “การคิดวิเคราะห” หมายถึง การคิดที่มคี วามซับซอน
อยางลึกซึ้งละเอียดถี่ถวนในการพิจารณาสิ่งตาง ๆ ซึ่งอาจเปนขอมูล เรื่องราว หรือสถานการณ
ประกอบดวยความสามารถในการจำแนกแยกแยะองคประกอบออกเปนสวนยอย โดยสามารถให
รายละเอียดดว ยการใหเหตุผลที่ถูกตอ งจากพื้นฐานความรูหรือหลักการ ระบุไดวาองคประกอบหรือ
สวนยอยนั้น ๆ มีความสัมพันธเช่ือมโยงกันอยา งไร ระบุไดวาส่งิ ใดเปนเหตุสิ่งใดเปน ผลนำไปสูขอสรุป
หรือการตดั สนิ ใจท่ีถูกตองเพื่อแกปญหาหรือสถานการณ การคาดการณท ำนายคำตอบลว งหนา นำไป
ประยุกตใ ชใ นสถานการณต า ง ๆ หรอื เกดิ เปนความรูใหม

แนวคดิ และทฤษฎเี ก่ียวกับการคดิ วิเคราะห
แนวคดิ และทฤษฎีเก่ียวกับการคิดวิเคราะห ผูวิจัยทำการศึกษาคนควาเพื่อใหสอดคลองกับ
งานวิจยั ดังนี้

3

ทฤษฎีการคิดของบลมู (Bloom's taxonomy) ในป ค.ศ.1956 บลูมและคณะ (Bloom &
other,1956) ไดพัฒนากรอบทฤษฎีที่ใชเปนเครื่องมือการจัดประเภทพฤติกรรมที่เกี่ยวของกับการ
แสดงออกทางปญญาและการคิดอันเปนผลมาจากประสบการณการศึกษา เรียกวา Bloom’s
taxonomy ซึ่งกำหนดไว 3 ดาน คือ ดานพุทธิพิสัย (cognitive domain) ดานจิตพิสัย (affective
domain) และดานทักษะทางกาย (psychomotor domain) ในการออกแบบหลักสตู ร จัดการเรยี นรู
และการวัดประเมินผลการเรียนรูก็ไดอาศัยกรอบทฤษฎีดังกลา วนี้ ซึ่งพฤติกรรมดานพุทธิพิสัยถูก
นำไปใชมากทสี่ ดุ

พุทธิพิสัย (cognitive domain) เปนพฤติกรรมดานสมองเกี่ยวกับสติปญญา
ความคิด ความสามารถในการคดิ เร่ืองราวตา ง ๆ อยางมีประสิทธิภาพซึ่งพฤติกรรมทางพุทธิพิสัย 6
ระดบั (สำนกั ทดสอบทางการศกึ ษา, 2552 : 11-12) ไดแก

1. ความรู (knowledge) ความสามารถในการจดจำแนกประสบการณตาง ๆ และ
ระลกึ เร่อื งราวน้นั ๆ ออกมาไดถูกตอ งแมน ยำ

2. ความเขาใจ (comprehension) ความสามารถบงบอกใจความสำคัญของ
เร่อื งราวโดยการแปลความหลกั ตคี วามได สรุปใจความสำคัญได

3. การนำความรูไปประยุกต (application) ความสามารถในการนำหลักการ
กฎเกณฑแ ละวิธีดำเนินการตาง ๆ ของเร่ืองทไ่ี ดรูมา นำไปใชแ กปญ หาในสถานการณใหมไ ด

4. การวิเคราะห (analysis) ความสามารถในการแยกแยะเรื่องราวที่สมบูรณให
กระจายออกเปนสว นยอย ๆ ไดอ ยางชัดเจน

5. การสังเคราะห (synthesis) ความสามารถในการผสมผสานสวนยอยเขาเปน
เร่อื งราวเดียวกนั โดยปรับปรุงของเกาใหดขี น้ึ และมคี ณุ ภาพสงู ขึ้น

6. การประเมินคา (evaluation) ความสามารถในการวินิจฉัยหรือตัดสินกระทำสิ่ง
หนึง่ สง่ิ ใดลงไปการประเมินเก่ยี วของกบั การใชเ กณฑคือมาตรฐานในการวัดท่ีกำหนดไว

แนวคิดของแอนเดอรสัน และแครทโฮล (Anderson & Krathwohl) โดยปรับปรุงทฤษฎี
การเรยี นรขู องบลมู (Bloom’s Taxonomy ,2001)

ป ค.ศ.2001 แอนเดอรสันและแครทโฮล (Anderson & Krathwohl,2001) ไดนำเสนอ
แนวคิดปรบั ปรุง Bloom’s Taxonomy ในการจำแนกพฤติกรรมยอยเพื่อใหมีเหมาะสมกับบริบทใน
การศึกษายุคใหมเพื่อเปนเครื่องมือใหครูออกแบบการสอนใหมีประสิทธิภาพและทันสมัย โดย
ความสามารถทซี่ บั ซอนนอ ยไปหามาก

แนวคิดของไซนเนอรแ ละลสิ ตัน (Zeichner & Liston) ไซนเนอรและลิสตัน (Zeichner
& Liston,1987) อธิบายวา การคิดวิเคราะหในศาสตรข องการสอน สามารถเกิดขึ้นจากระดับงายไป
ระดบั ยาก โดยผลลพั ธของการคิดวิเคราะห แบงได 3 ระดบั ดงั น้ี

ระดับที่ 1 ความสามารถในการใหรายละเอียด เมื่อเกี่ยวของกับทฤษฎีการสอน
(technical rationality) จงึ เปน การประยุกตความรูที่มปี ระสิทธภิ าพซงึ่ เปน ความรูในเรื่องนน้ั ๆ ทำให
สำเร็จตามเปาหมายและวัตถุประสงค ผลเปนที่ยอมรับอยางมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล ท้งั
เปาหมายในบริบทของช้นั เรยี น โรงเรยี น ชุมชนและสงั คม จะถกู นำมาจัดกระทำในฐานะของสิ่งที่เปน

4

ปญหา ซึ่งในระดับน้ีเปนเรื่องของความสามารถในการอธิบายโดยใชเหตุผลในศาสตรทางการสอนมา
ประกอบคำอธบิ ายได

ระดับที่ 2 ความสามารถในการใหเหตุผล เพื่อใชในการพิสูจนสมมติฐานตามหลกั
ทฤษฎี (Reflectivity) เกี่ยวของกับการกระทำที่นำไปสูการปฏบิ ัติเพือ่ หามุมมองอื่น ๆ โดย สามารถ
นำมาอธิบายขอ สนั นิษฐานไดอยางชดั เจน และแสดงถึงการนำมุมมองทีห่ ลากหลายและใหมไ ปปฏิบตั ิ
และสามารถประเมนิ ผลลพั ธของการกระทำเพื่อการบรรลตุ ามเปาหมายทางการศึกษา

ระดับที่ 3 ความสามารถในการเชื่อมโยงเหตผุ ลในแนวทางปฏบิ ัติ จะเกิดระหวางวิธี
สอนที่เกิดขึ้นใหมหรือวิธีสอนเดิมในมุมมองใหมที่สอดคลองกับหลักคุณธรรมและจรรยาบรรณ
(critical reflection) เปนความสามารถในการอธิบายถึงการกระทำที่นำไปสูการปฏิบัติโดยมุมมอง
ของความสัมพันธกับเกณฑดานจริยธรรมและจรรยาบรรณ เนนที่เปาหมายการศึกษา ดวย
ประสบการณและกิจกรรมที่นำไปเกี่ยวของกับชีวิตประจำวันจะตองพิจารณาในแงความเปนธรรม
ความเสมอภาค การประสบความสำเร็จอยางสูง เพื่อสนองตอความตองการจำเปนของมนุษย และ
ความพึงพอใจของมนุษย ซึ่งในระดับน้ีทั้งการสอนและบริบท โดยรอบจะถูกนำมาพิจารณาคลายกับ
สงิ่ ท่ีเปนปญหา โดยพจิ ารณาเลือกแนวทางทเ่ี ปนไปไดจ าก แนวทางทง้ั หลายท่มี ีอยู

การคิดวิเคราะหในความหมายนี้จึงเปนความคิดที่จะตองใชเหตุผลเพื่อนำมา
วิเคราะหขอมูล วิเคราะหความคิดของตนเอง แลวสะทอนแงมุมตาง ๆ ของความคิดนั้น ๆ ออกมา
จะตองสามารถนำความคิดทีไ่ ดจ ากการวเิ คราะหน้นั ไปใชเพ่ือใหเ หน็ เปน รปู ธรรมได (Zeichner,1991)

จากการศึกษาทฤษฎีและแนวคิดเกี่ยวกับการคิดวิเคราะหที่กลาวมาขางตน ผูวิจัยทำการ
วิเคราะหและสังเคราะหไ ดองคประกอบความสามารถของการคิดวิเคราะหน ั้นจะตองประกอบดวย
ความสามารถ 3 ดานประกอบกัน ผูวิจัยจึงจัดกลุมและจำแนกระดับความสามารถคิดวิเคราะหของ
ผูเรยี น ดังนี้

1. การแยกแยะหรือแยกยอยใหรายละเอยี ดของสิ่งตาง ๆ เร่ืองราว สถานการณท เี่ หมือนหรือ
แตกตางกันออกเปนสวน ๆ ระบุความเกี่ยวของและความสำคัญไดอยางมีเหตุและผลเขาใจงาย
สามารถเปรยี บเทียบ การจัดกลุม จดั ลำดบั จัดประเภทของสงิ่ ตาง ๆ โดยใชคุณลกั ษณะหรอื คุณสมบัติ
ของสงิ่ นั้น ๆ อยางมหี ลกั การ หลกั เกณฑมีเหตุและผล

2. หลักการคิดวิเคราะหเ ปน ความสามารถในการใหเหตุผล ระบุความสัมพันธยอย ๆ ของส่ิง
ตาง ๆ เร่ืองราวหรือเหตุการณที่มีความเกี่ยวพันสอดคลองหรือขัดแยงกันอยางไร การจัดระบบโดย
การใหเหตุผล การระบุขอผิดพลาดหรือความสัมพันธและไมสัมพันธกันของสิ่งตาง ๆ โดยโยง
ความสัมพันธสูการสรุปอยางสมเหตสุ มผล ระบุสิ่งทไ่ี มถูกตองหรือไมเหมาะสมในสถานการณตาง ๆ
การใชความรูเดิมผสมผสานกับความรูใหมไปสูการสรุปและยกตัวอยางประกอบไดอยางมีเหตุผลจาก
ความรูทมี่ ีอยูเดมิ มีขอ มลู หรอื หลกั ฐานในการสนบั สนุนจนพจิ ารณาไดวาเปน จรงิ

3. หลักการคดิ วิเคราะหเปนการคน หาหลักการสำคัญของสิ่งตาง ๆ เรื่องราว สถานการณโดย
การวิเคราะหองคประกอบและวิเคราะหความสัมพันธที่เชื่อมโยงกันของสิ่งเหลานั้นจนคนพบความ
จริงของสิ่งตาง ๆ แลวสรุปหลักการเปนคำตอบได เปนการใหเหตุผลแสดงความคิดเห็นโดยการนำ
ความรูเดิมเปนขอมูลเพ่ือไปสูความรูห รือหลักการใหม มีความรู เขาใจเหตุการณ ระบุรายละเอียดใน

5

เหตุการณนั้น ๆ และบอกสิ่งที่จะเกิดขึ้นตอไปได ประยุกตใชในสถานการณใหมหรือนำไปใชในการ
แกปญ หาในชีวิตประจำวัน โดยสามารถนำไปใชไดอยางเหมาะสมและถกู ตอง สามารถนำความรหู รอื
หลักการไปใชเ พื่อการทำนายสถานการณที่จะเกิดข้ึนไดในอนาคตไดอยางเจาะจง เปนการประยุกต
ความรูใหมจากหลักการเดมิ ท่ีมีอยู คาดเดา ทำนายสิ่งที่จะเกิดขึน้ ในอนาคต รูวาอะไรจริงหรือไมจรงิ
สามารถปรบั เปลยี่ นวิธกี ารแกป ญหาไดอยา งเหมาะสม

จากการวิเคราะหและสังเคราะหองคประกอบที่กลาวมาขางตน พบวาจะมีลักษณะของ
องคประกอบที่คลายคลึงกัน จากการศึกษาแนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวของดังกลาวผูวิจัยไดสังเคราะห
องคป ระกอบตัวแปรความสามารถของการคดิ วิเคราะห โดยแบง เปน 2 มติ ไิ ดแ ก มิตคิ วามสามารถการ
ใหเหตุผล และมิตคิ วามสามารถการนำไปประยกุ ตใช เพื่อเปนแนวทางในการสังเคราะหตัวบงชี้ของ
การคิดวิเคราะหในแตล ะมติ ิ โดยมีรายละเอยี ด ดังน้ี

1. มิติความสามารถการใหเหตุผล เปนการใหเหตุผลในการจำแนก การใหรายละเอียดสิ่ง
ตาง ๆ อยา งมหี ลกั เกณฑ สามารถเปรียบเทยี บ การจัดกลุม จดั ลำดับ จดั ประเภทของส่งิ ตา ง ๆ โดยใช
คุณลักษณะหรือคุณสมบัติของสิ่งนั้น ๆ อยางมีหลักการ ใหรายละเอียดของสิ่งตาง ๆ เรื่องราว
สถานการณที่เหมือนหรือแตกตางกันออกเปน สวน ๆ อยางมีหลักเกณฑ มีเหตุและผล สามารถระบุ
ความเกีย่ วของและความสำคัญไดอ ยา งมีเหตแุ ละผลเขา ใจงาย การระบุขอ ผดิ พลาดหรือความสัมพันธ
และไมสัมพันธกันของสิ่งตา ง ๆ โดยโยงความสัมพันธสูการสรุปอยางสมเหตุสมผล ระบสุ ิ่งที่ไมถูกตอง
หรือไมเหมาะสมในสถานการณตาง ๆ การใชความรูเดิมผสมผสานกับความรูใหมไปสูการสรุปและ
ยกตัวอยางประกอบไดอยางมีเหตุผลจากความรูที่มีอยูเ ดิม มีขอมูลหรือหลักฐานในการสนับสนุนจน
พจิ ารณาไดว า เปนจริง

2. มิติความสามารถการนำไปประยุกตใช เปนความเชื่อมโยงความสัมพันธของการสรุป
หลกั การสำคัญของสิ่งตาง ๆ เรือ่ งราว สถานการณ ทเ่ี กดิ จากการวิเคราะหองคป ระกอบและวิเคราะห
ความสัมพันธท่ีเชื่อมโยงกันของสิง่ เหลานั้น แลวสรุปหลักการเปนคำตอบได เปนการใหเหตุผลแสดง
ความคิดเห็นโดยการนำความรูเดิมเปนขอมูลเพื่อไปสูความรูหรือหลักการใหม มีความรู เขาใจ
เหตุการณ ระบุรายละเอียดในเหตุการณนั้น ๆ และบอกสิ่งที่จะเกิดขึ้นตอไปได ประยุกตใชใน
สถานการณใหมหรอื นำไปใชใ นการแกปญหาในชีวิตประจำวัน โดยสามารถนำไปใชไดอยางเหมาะสม
และถูกตอง สามารถนำความรูหรือหลกั การไปใชเพื่อการทำนายสถานการณท่ีจะเกิดขึ้นไดในอนาคต
ไดอยา งเจาะจง เปน การประยุกตความรูใ หมจากหลักการเดมิ ท่มี ีอยู คาดเดา ทำนายสง่ิ ทจ่ี ะเกิดขึ้นใน
อนาคต รวู า อะไรจริงหรือไมจ รงิ สามารถปรบั เปล่ยี นวธิ ีการแกป ญหาไดอ ยา งเหมาะสม

ความสำคัญของการคดิ วเิ คราะห
กระทรวงศึกษาธกิ าร (2555) ไดระบุแนวทางการจัดกิจกรรมการเรยี นรเู พ่อื พัฒนาทักษะการ
คิด ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 กลุมสาระการเรียนรวู ิทยาศาสตร
ระดบั มธั ยมศึกษาโดยในระดับช้ันมธั ยมศึกษาปท่ี 1 ทกั ษะการคดิ ตามจดุ เนนการพัฒนาผเู รียน ทักษะ
แรกคือ ทักษะการคิดวิเคราะห ซึ่งเปนทักษะการคิดขั้นสูงลำดับแรกที่เปนจุดเนนของการพัฒนา
ผูเรียนซึ่งผูเรียนตองไดร ับการพัฒนา โดยมีการกำหนดแนวทางการจัดการเรียนรูเพ่ือสง เสรมิ การคิด
วิเคราะห มีวิธีการวัดและประเมินผล และเกณฑการประเมินและยังเกี่ยวของกับการตัดสินผลการ
เรยี นในแตล ะระดับช้ันอกี ดว ย

6

เชน (Chen, 1993 : 46-62) กลาววา การคิดวิเคราะหเปนกระบวนการอันซับซอนเปน
กระบวนการบูรณาการความคิด เปนความสัมพันธของการคิดอยางมีวิจารณญาณและความคิด
สรา งสรรคใ นการแกป ญ หาและการตดั สนิ ใจกระทำโดยเชอ่ื มตอความคดิ กับบรบิ ทสงั คม

ลกั ขณา สรวิ ัฒน (2549 : 74) ใหรายละเอียดวา การคดิ วเิ คราะหมีประโยชนตอบุคคลในการ
นำไปใชเพื่อดำรงชีวิตรวมกับผูอื่นใหเกิดความสุข ชวยสงเสริมความฉลาดทางสติปญญา เปน
ความสามารถในการคิดนำมาใชแกปญหา ชวยใหคำนึงถึงความสมเหตุสมผลในการสรุปเรื่องราว
ตาง ๆ ชวยลดการอางประสบการณสวนตัวจากขอสรุปทั่ว ๆ ไป ซึ่งมีคนจำนวนไมนอยที่ใช
ประสบการณข องตนเองมาสรปุ เรอ่ื งทั่ว ๆ ไป ชว ยตรวจสอบการคาดคะเนบนฐานความรูเ ดิม สามารถ
สรุปความรูความเขาใจเกี่ยวกับการคาดการณความนาจะเปนในอนาคตดวยความสมเหตุสมผล ชวย
วินิจฉัยขอเท็จจริงของประสบการณสวนบุคคลการคิดวิเคราะหจะชวยใหเราหาเหตุผลใหกับสิ่งที่
เกิดขึ้นได เปนพื้นฐานการคิดในมิติอื่น ๆ เชน การคิดเชิงวิพากษการคิดเชิงสรางสรรค การคิด
วิเคราะหชวยใหเขาใจอยางชัดเจน ชวยใหประเมินและสรปุ ส่ิงตาง ๆ บนขอเท็จจริงท่ีปรากฏ ทำให
ไดร บั ขอมลู ทเี่ ปนจริงเปนประโยชนตอ การตัดสินใจ

มนตรี วงษสะพาน (2556 : 125) กระบวนการคิดวิเคราะหเปนทักษะพื้นฐานสำคญั ที่สงผล
ใหผูเรียนพัฒนาทักษะการคิดดานอื่น ๆ ที่สูงขึ้น การคิดวิเคราะหจะชวยใหรูขอเท็จจริง รูเหตุผล
เบอ้ื งตนของส่ิงที่เกิดขึ้น เขาใจความเปนมาเปนไปของเหตกุ ารณ รวู าเรอื่ งน้นั มอี งคป ระกอบอะไรบาง
รูรายละเอียดของส่ิงตา ง ๆ ทำใหไดขอเท็จจริงที่เปนพื้นฐานความรู เพื่อนำไปใชในการตัดสินใจแกไข
ปญหาไดอยา งถกู ตอง

จากแนวคิดของนักการศึกษาขางตน สรุปไดว า การคดิ วิเคราะหมคี วามสำคัญและมปี ระโยชน
เปนอยางยิ่งตอการจัดการเรียนรู ผูเรียนจึงมีความจำเปนอยางยิ่งที่จะตองใชการคิดวิเคราะห คิด
สงั เคราะห สิง่ ตา ง ๆ รอบตวั และเลือกทจี่ ะนำไปใชใหเกดิ ประโยชนส ูงสุดตอ ตนเองและสงั คม การคิด
วิเคราะหเปน รากของการคิดในมิติอื่น ๆ จะชวยใหเ ราเขา ใจสิ่งตาง ๆ ไดตามความเปนจริงและลุมลกึ
รูขอเท็จจริง รูเหตุผลของสิ่งที่เกิดขึ้น เขาใจความเปนมาเปนไปของสิ่งตาง ๆ รูวาเร่ืองนั้น ๆ มี
องคประกอบอะไรบาง แตละองคประกอบสัมพันธเชื่อมโยงกันจนสามารถนำไปสูการแกไขปญหา
ตาง ๆ ไดอ ยางมีประสิทธภิ าพ

องคป ระกอบของการคดิ วเิ คราะห
มารซาโน (Marzano, 2001) อธิบายวา การคิดวิเคราะห ประกอบดว ยทกั ษะ 5 ประการ ไดแ ก

1) ทักษะการจำแนก เปนความสามารถในการแยกแยะสวนยอย ๆ ของเหตุการณหรือ
เร่อื งราวออกเปนสวน ๆ ใหเ ขา ใจงายโดยมหี ลกั การในการแบงแยก และสามารถบอกรายละเอียดได

2) ทักษะการจดั หมวดหมู เปน ความสามารถจดั ประเภท ลำดับ กลุม ของสิ่งที่มีความ
คลายคลึงกนั เขา ดว ยกันโดยลกั ษณะหรือคุณสมบัติท่ีเปน ประเภทเดียวกัน

3) ทักษะการเชื่อมโยง เปนความสามารถในการเชื่อมโยงความสัมพันธของขอมูล
ตาง ๆ เขา ดวยกันโดยบอกไดวาสัมพันธกนั อยางไร

4) ทักษะการสรุปความ เปนความสามารถในการจับประเด็นสำคัญและสามารถ
สรปุ ผลจากสิ่งทกี่ ำหนดได

7

5) ทักษะการประยุกต เปนความสามารถในการนำความรู หลักการ ทฤษฎีตาง ๆ
มาใชใ นสถานการณ สามารถคาดเดา พยากรณ ขยายความสิง่ ท่ีจะเกดิ ขน้ึ ในอนาคตได

สุวิทย มูลคำ (2549 : 53) ไดกลาวถึงองคประกอบของการคิดไวดังนี้ ตองมีสอ่ื ซึง่ เปน สิ่งเรา
ที่เปน ตวั กระตุนใหบุคคลเกิดการรับรู ทำใหเกิดปญ หา ความสงสยั หรือความขัดแยงจะกอใหเ กิดการ
คิด จากน้นั จะเกดิ การรับรู บุคคลสามารถรับรไู ดโ ดยโดยประสาททั้ง 5 คือ หู ตา จมูก ล้ินและผิวหนัง
ระดบั การรบั รทู ่ีเกิดขึ้นจะมากหรือนอยขึ้นอยูกับคุณภาพของส่งิ เรา และความสามารถในการรบั รูของ
แตละบุคคลเมื่อรับรูแลวเกิดปญหา หรือเกิดขอสงสัยที่จะกระตุนใหเกิดการคิด ผูคิดจะตองมี
จุดมงุ หมายที่แนน อนในการคดิ แตล ะคร้งั วา ตองการเหตุผลเพอ่ื อะไรเชน เพ่ือแกปญหา ตดั สนิ ใจ หรือ
สรา งสงิ่ ใหม ๆ เปน ตน จะชว ยใหเ ลือกใชวิธคี ดิ ไดถ ูกตองและไดผลตรงกบั ความตองการ เกดิ เปน วธิ ีคิด
การคิดแตละครั้งจะตองเลือกวิธีที่ตรงกบั จุดมุงหมายในการคดิ นั้น ๆ เชน คิดเพื่อตดั สนิ ใจ ควรใชวิธี
คิดอยางมีวิจารณญาณ คิดแกปญหา ควรใชว ิธีคดิ แบบแกปญหา ไดขอมูลหรือเนื้อหา ใชประกอบ
ความคดิ ใดอาจจะเปน ความรูหรอื ประสบการณเ ดมิ หรอื ขอมลู การรูใหมทศ่ี ึกษาคนควา เพ่มิ เติม สงผล
ไปสคู วามสำเรจ็ ของการคดิ เปนผลท่ไี ดจากการปฏิบตั ิงานทางสมองหรอื กระบวนการคดิ ของสมอง

จากแนวคดิ ขา งตน สรุปไดวา องคประกอบของการคิดวิเคราะหประกอบไปดว ยทักษะการ
จำแนกเพือ่ จดั หมวดหมแู ละการเช่ือมโยงไปสูก ารสรปุ ความและการนำไปประยุกตใชโดยจะเห็นวาทุก
องคประกอบมีความสัมพันธเกีย่ วเนื่องกัน เปนปจจัยสำคัญที่จะทำใหผูเรียนสามารถวิเคราะหสิ่ง
ตาง ๆ ได หากผูเรียนมีความรูที่ชัดเจนและแมนยำในเรื่องนั้น ๆ ยอมสามารถนำความรูที่มีไป
ประกอบการวเิ คราะห แยกแยะเรอ่ื งใดเรอื่ งหน่ึงไดอ ยางมปี ระสทิ ธิภาพ

การวัดความสามารถในการคิดวิเคราะห
บลูม (Bloom,1956 : 64) กลาววาการวัดความสามารถในการคิดวิเคราะหนั้นจะตอง
พิจารณาใหครบทง้ั 3 ดาน ซงึ่ ประกอบดวย

1. การวิเคราะหความสำคัญ โดยการใหคนหาขอมูลเหตุ ผลลัพธและความสำคัญ
ของเรื่องราวนนั้ ๆ โดยใชท ักษะวิเคราะหวาตอนใดเปนจริงหรอื เปนสมมติฐานสว นใดเปนขอสรุปหรือ
อางอิง มีวัตถุประสงคหรือความมุงหมายสำคัญใด วิเคราะหขอสรุปนัน้ มีอะไรสนับสนนุ หรอื วิเคราะห
หาขอ ผดิ พลาด

2. การวิเคราะหหาความสมั พันธ เปนการถามใหคนควาวาความสำคัญยอย ๆ ของ
เร่ืองราวนั้นสัมพันธเ กี่ยวขอ งกันอยางไร ใชหลักการหรือทฤษฎีใดเปน หลัก โดยพิจารณาวาอะไรเปน
สาเหตุอะไรเปนผลของการกระทำนั้น มีขอสนับสนุนหรือคัดคานใด ขอสรุปที่มีเหตุและผลอยางไร
สวนใดที่มีมีความสัมพันธกันมากนอย ถาเกิดสิ่งนั้นสิ่งใดจะเกิดตามมายกเรื่องราวขอเท็จจริงมา
วิเคราะหวาสอดคลอ งหรือขัดแยงกัน

3. การวิเคราะหหลักการ เปนการถามใหคนวาเรื่องราวน้ัน ๆ อาศัยหลักการใด มี
โครงสราง องคป ระกอบ ใจความสำคัญอยา งไร

วัตสันและเกลเซอร (Watson & Glaser,1964 : 11) อธิบายวาการวัดความสามารถ ในการ
คิดวิเคราะหนั้นเปน การวัดความสามารถในการวิเคราะหวิจารณ ใชกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรม า
เปน เหตุผลในการพจิ ารณาตดั สนิ เรือ่ งราว เหตุการณ หรอื สถานการณต า ง ๆ โดยมคี วามเกีย่ วขอ งเปน

8

เหตุและเปนผลในเหตุการณห รือสถานการณนั้น ๆ การคิดวิเคราะหจะตอ งมีการหาเหตุผลเพือ่ นำมา
พิจารณาเสมอ

ศรินธร วิทยะสิรินันท (2544 : 16) กลาววา การวัดความสามารถในการคิดวิเคราะหจะ
พิจารณา 3 ดา น ซง่ึ สามารถจัดหมวดหมูไดดงั นี้

1. การวิเคราะหเนื้อหาหรือขอความ เปนการรวบรวมขอมูลทั้งหมดมาจัดระดับ
เรยี บเรยี ง จัดหมวดหมู จัดระบบ แจกแจงเพ่ือใหงา ยตอ การทำความเขา ใจ

2. การวิเคราะหค วามสมั พันธของขอความหรอื ประเดน็ ตาง ๆ เปนความสามารถใน
การเปรยี บเทียบขอ มูลระหวางในแตล ะหมวดหมูใน

3. การวิเคราะหหลักการ ความสามารถในการกำหนดหมวดหมูในมิติความสามารถ
ในการแจกแจงขอ มูลที่มีอยลู งในหมวดหมโู ดยคำนงึ ถงึ เหตกุ ารณ หรือความสัมพนั ธทเี่ กี่ยวของโดยตรง

ทิศนา แขมณี และคณะ (2549 : 48) กลาววาการวัดความสามารถในการคิดวิเคราะหน้ัน
จะตอ งทำการวัดใหค รบทัง้ 3 ดาน ดังน้ี

1. การวเิ คราะหหลกั การ ในการกำหนดเกณฑในการจำแนกขอมูล
2. การวเิ คราะหเนอื้ หา ในการแยกขอมูลเนือ้ เรอ่ื งไดตามเกณฑ
3. การวิเคราะหความสัมพันธระหวางองคประกอบและความสัมพันธของขอมูลใน
แตล ะองคป ระกอบ
เกรียงศักด์ิ เจริญวงศศักดิ์ (2549 : 68) กลาววา การวัดความสามารถในการคิดวิเคราะห
ตอ งประกอบดวยทกั ษะการคิดวิเคราะห ดังน้ี
1. ทักษะการระบุองคป ระกอบสำคัญหรือลกั ษณะเฉพาะ
2. ทักษะการระบุความสัมพันธขององคประกอบและแบบแผนขององคประกอบ
เหลา นนั้
3. ทักษะการจับใจความสำคัญ
4. ทกั ษะการคน หาและระบคุ วามผิดพลาด
จากที่กลาวมาขางตน การวัดความสามารถในการคิดวิเคราะหของนักวิชาการศึกษาผูวจิ ัย
สรปุ ไดวาไมวา จะมีการแบงระดับในการวัดการคิดวิเคราะหทแี่ ตกตางกนั บา งในบางขอท่ีสวนใหญจะมี
ลักษณะของการวัดท่ีคลายกนั หากแตตองทำการวัดใหครบทุกดานหรือทุกทกั ษะที่เปน องคประกอบ
ของการคิดวิเคราะหซ่งึ จะมีการแบง ที่แตกตา งกันออกไป
ความจำเปนและความสำคญั ของการคดิ วเิ คราะห
เกรยี งศกั ด์ิ เจริญวงศศักดิ์ (2546 : 32 – 46) ไดอธิบายถึงประโยชนข องการคิดวิเคราะห
ไวดังน้ี
1. ชว ยสง เสริมความฉลาดทางสติปญ ญา
2. ชว ยใหค ำนงึ ถึงความสมเหตสุ มผลของขนาดกลุม ตัวอยาง
3. ชวยลดการอา งประสบการณส วนตวั เปน ขอสรุปทั่วไป
4. ชว ยขุดคนสาระของความประทบั ใจครงั้ แรก
5. ชว ยตรวจสอบการคาดคะเนบนฐานความรเู ดิม
6. ชว ยวนิ จิ ฉยั ขอเท็จจรงิ จากประสบการณสวนบุคคล

9

7. เปน พน้ื ฐานการคดิ ในมติ ิอ่ืน ๆ
8. ชวยในการแกป ญ หา
9. ชว ยในการประเมนิ และตัดสินใจ
10. ชวยใหค วามคิดสรา งสรรคสมเหตสุ มผล
11. ชว ยใหเขา ใจแจมกระจาง
สวุ ทิ ย มลู คำ (2547 : 39) ไดกลา วถึงประโยชนของการคิดวเิ คราะหไ วดังนี้
1. ชวยใหเรารูขอเท็จจริง รูเหตุผลเบื้องหลังของสิ่งที่เกิดขึ้น เขาใจความเปนมา
เปนไปของเหตุการณต า ง ๆ รูว า เรือ่ งนน้ั มีองคประกอบอะไรบาง เพ่ือเปนฐานความรใู นการนำไปใชใน
การตดั สนิ ใจ ไดอ ยา งถกู ตอง
2. ชวยใหเราสำรวจความสมเหตุสมผลของขอมูลที่ปรากฏ ไมดวนสรุปตามอารมณ
ความรูส กึ หรอื อคติ
3. ชวยใหเราไมดวนสรุปสิ่งใดงาย ๆ แตสื่อสารตามความเปนจริง ไมหลงเชื่อ
ขอ อา งท่ีเกิดจาก ตัวอยางเพียงอยางเดยี ว
4. ชวยในการพิจารณาสาระสำคัญอื่น ๆ ที่ถูกบิดเบือนไปจากความประทับใจใน
ครั้งแรก เปน การมองอยางครบถวนในแงม ุมอ่นื ๆ ทีม่ ีอยู
5. ชวยพัฒนาความเปนคนชางสังเกต หาความแตกตางของสิ่งที่ปรากฏอยาง
สมเหตสุ มผล
6. ชวยใหหาเหตุผลท่ีสมเหตุสมผลใหกับส่ิงที่เกิดขึ้นจรงิ สามารถประเมินส่ิงตา ง ๆ
ไดอยางสมจรงิ
7. ชวยประมาณการความนาจะเปน โดยสามารถใชขอมูลพื้นฐานที่มีการวิเคราะห
รวมกับปจ จยั อ่ืน ๆ ของสถานการณ อนั จะชว ยใหคาดการณความนา จะเปนไปไดสมเหตุสมผล จากท่ี
กลาวมาขางตนสรุปไดวา ความจำเปนและความสำคัญของการคิดวิเคราะห เปนการชวยในการ
แกปญหา ทำใหรูขอเท็จจริง ความเปนมาเปนไปของเหตุการณ สามารถพิจารณาไดวา สิ่งที่เกิดขึ้นมี
สาเหตุจากอะไร ทำใหการพิจารณา เรื่องราวเปนลำดับขั้นตอน การคิดวิเคราะหชวยใหสามารถ
แกป ญ หา ประเมนิ และตัดสนิ ใจ และสรปุ ขอ มูลตา ง ๆ ท่ีไดร บั รอู ยา งสมเหตุสมผล
แนวทางการสอนใหนกั เรยี นเกิดการคิดวเิ คราะห
ดลิ ก ดลิ กกานนท (2525 : 63-66) ไดเสนอแนวทางในการฝกใหผ ูเรียนไดค ดิ วิเคราะห ซึ่งมี
ขนั้ ตอนดังนี้
1. วิเคราะหวาอะไรคืออะไร ขั้นนีผ้ ูเรยี นตองรวบรวมปญหา หาขอมูลพรอมสาเหตุ
ของปญหาจากการคดิ การถาม การอาน หรือพจิ ารณาจากขอ เท็จจริงนนั้ ๆ
2. กำหนดทางเลือก เมื่อหาสาเหตุของปญ หาน้นั ไดแลว ผูเ รยี นตองหาทางเลือกที่จะ
แกปญหา โดยพิจารณาจากความเปนไปไดและขอจำกัดตาง ๆ ทางเลือกที่จะแกปญหานั้นไม
จำเปนตองมีทางเลือกทางเดียว อาจมที างเลอื กหลาย ๆ ทาง
3. เลือกทางเลือกทีเ่ หมาะสมท่ีสดุ เปนการพจิ ารณาทางเลือกทใี่ ชแ กป ญหานัน้ โดย
มีเกณฑการตัดสินใจท่ีสำคัญ คือ ผลดี ผลเสียที่เกิดจากทางเลือกนั้น ทั้งที่เกิดขึ้นในดานสว นตัวและ
สังคมสว นรวม

10

4. ตัดสินใจ เพื่อพิจารณาอยางรอบคอบในขั้นตอนที่ 3 แลวจึงตัดสินใจเลือก
ทางเลือกที่คิดวาดที ี่สุด หลังจากนั้นครูตองเปดโอกาสใหผูเรยี นไดเ สนอความคิดของเขาและอภิปราย
รวมกันในกลุม โดยครูตอง ยอมรับความคิดเห็นของทุกคน ถาหากคำตอบของผูเรียนมีการขัดแยงขึน้
ในกลุม ครูตองเปนผตู ้ังคำถามดว ย การใหคิดตอไปวาคำตอบใดกอใหเกิดผลในทางดีและไมดีอยางไร
บาง อะไรเปนประโยชนแกตนเองและสงั คมมากท่สี ุด

สุวิทย มูลคำ (2547 : 19 – 24) กลาววา กระบวนการคิดวิเคราะห ประกอบดวย 5
ขนั้ ตอนดงั นี้

ขัน้ ท่ี 1 กำหนดส่ิงทีต่ องการวิเคราะห เปน การกำหนดวัตถุสิ่งของ เรื่องราว หรือ
เหตุการณตาง ๆ ขึ้นมา เพื่อเปนตนเรื่องที่จะใชวิเคราะห เชน พืช สัตว หิน ดิน รูปภาพ บทความ
เร่อื งราว เหตกุ ารณ หรอื สถานการณจากขาว ของจริงหรอื สอ่ื เทคโนโลยตี า ง ๆ เปนตน

ขั้นที่ 2 กำหนดปญหาหรือวัตถุประสงค เปนการกำหนดประเด็นขอสงสัยจาก
ปญ หาของสง่ิ ท่ี ตอ งการวิเคราะห ซึง่ อาจจะกำหนดเปน คำถามหรือเปน การกำหนดวัตถุประสงค ของ
การวิเคราะหเพื่อ คนหาความจริง สาเหตุ หรือความสำคัญ เชนภาพนี้ บทความนี้ตองการสื่อ หรือ
บอกอะไรทส่ี ำคญั ที่สุด

ขั้นที่ 3 กำหนดหลักการหรือกฎเกณฑ เปนการกำหนดขอกำหนดสำหรับใชแยก
สว นประกอบของ สง่ิ ทกี่ ำหนดให เชน เกณฑท ใ่ี ชในการจำแนกสิ่งที่มีความเหมือนกันหรือแตกตางกัน
หลกั เกณฑในการหาลักษณะความสัมพันธเชิงเหตผุ ลอาจเปนลักษณะความสัมพันธที่มคี วามคลายคลึง
กันหรอื ขัดแยงกนั

ขั้นท่ี 4 พจิ ารณาแยกแยะ เปนการพินิจ พเิ คราะห ทำการแยกแยะ กระจายสิ่งท่ี
กำหนดใหออกเปนสวนยอย ๆ โดยอาจใชคำถาม 5W 1H ประกอบดวย What (อะไร) Where
(ทไ่ี หน) When (เมื่อไร) Why (ทำไม) Who (ใคร) และHow (อยางไร)

ขั้นที่ 5 สรุปคำตอบ เปนการรวบรวมประเด็นที่สำคัญเพื่อหาขอสรุปเปนคำตอบ
หรอื ตอบปญ หาของสิ่งที่กำหนดให

การคดิ วิเคราะห เปน การคิดโดยใชสมองซกี ซายเปนหลกั เปน การคิดเชงิ ลึก คิดอยางละเอียด
จากเหตไุ ปสูผล ตลอดจนการเช่อื มโยงความสัมพนั ธใ นเชงิ เหตุและผลความแตกตาง ระหวางขอ โตแยง
ท่ีเกย่ี วของและไมเกยี่ วขอ ง เทคนคิ การคิดวเิ คราะหอยา งงา ยที่นยิ มใช คือ 5W 1H

What (อะไร) ปญ หาหรอื สาเหตุทเี่ กิดข้ึน
- เกดิ อะไรข้นึ บา ง
- มีอะไรเก่ยี วของกบั เหตุการณน ี้
- หลกั ฐานท่สี ำคญั ทสี่ ุด คอื อะไร
- สาเหตุทที่ ำใหเ กิดเหตกุ ารณนี้ คืออะไร

Where (ทไ่ี หน) สถานทห่ี รอื ตำแหนง ท่เี กดิ เหตุ
- เร่อื งนี้เกิดท่ีไหน
- เหตุการณนน้ี าจะเกิดข้ึนท่ีใดมากทสี่ ดุ

When (เม่อื ไร) เวลาท่ีเหตุการณน้ันไดเ กิดขึน้ หรอื จะเกดิ ขนึ้
- เหตุการณน ้ันนาจะเกดิ ขน้ึ เมื่อไร

11

- เวลาใดบางทส่ี ถานการณเชนนีจ้ ะเกดิ ขึน้ ได
Why (ทำไม) สาเหตุหรอื มลู เหตุทที่ ำใหเกิดขึน้ ได

- เหตใุ ดตองเปน คนน้ี เปนเวลานี้ เปน สถานทน่ี ้ี
- เพราะเหตุใดเหตกุ ารณจ งึ เกดิ ขึน้
- ทำไมจึงเกดิ เรือ่ งนี้
Who (ใคร) บุคคลสำคัญเปนตัวประกอบหรือเปนผูที่เกี่ยวของที่จะไดรับผลกระทบทั้งดาน
บวกและดา นลบ
- ใครอยใู นเหตุการณบา ง
- ใครนา จะเปนคนทที่ ำใหสถานการณน ี้เกดิ มากที่สดุ
- เหตกุ ารณท ี่เกดิ ข้นึ ใครไดป ระโยชน ใครเสยี ประโยชน
How (อยางไร) รายละเอียดของสิ่งที่เกิดขึ้นแลวหรือกำลังจะเกิดขึ้นวามีความเปนไปไดใน
ลักษณะใด
- เขาทำสิ่งนี้ไดอยา งไร
- ลำดับเหตกุ ารณน ้ดี ูวาเกดิ ข้ึนไดอ ยา งไรบา ง
- เหตุการณนเี้ กดิ ข้ึนไดอยางไร
- มีหลักในการพจิ ารณาคนดอี ยางไรบาง
การคิดวิเคราะหดวยเทคนิค 5W 1H จะสามารถชวยไลเรียงความชัดเจนในแตละเรือ่ งที่เรา
กำลังคิดเปนอยางดี ทำใหเกิดความครบถวนสมบูรณ ดังนั้น ในบางครั้งการเริ่มคิดวิเคราะห ถาคิด
อะไรไมออกใหเริ่มตนถามตัวเอง โดยใชคำถาม 5W 1H ถามตัวเอง นอกจากการใชเทคนคิ 5W 1H
แลวอาจจะใชเทคนิค การต้ังคำถามในลกั ษณะอื่นได เชน
1. คำถามเกี่ยวกับจำนวน เชน เหตกุ ารณท เี่ กิดข้ึนมผี ูเกย่ี วของจำนวนก่คี น
2. คำถามเชิงเง่อื นไข เชน ถา ...จะเกดิ ...
ถาเหตุการณนี้เกิดขึ้นเมื่อ 5 ปที่แลวใครจะเปนผูไดประโยชนแ ละใครจะเปนผูเสีย
ประโยชน
3. เกี่ยวกับการจดั ลำดับความสำคัญ เชน ใครเปนสำคัญที่สุดของเรื่อง ประเด็นใด
เปน ประเดน็ หลัก และประเดน็ ใดเปน ประเด็นรอง
4. คำถามเชงิ เปรียบเทยี บ เชน ระหวา ง...กับ...สง่ิ ใดสำคญั กวา
ระหวางความตายกับการพรากจากความรกั สิ่งใดสำคัญกวา
เชดิ ศกั ดิ์ โฆวาสินธุ (2530 : 39) กลาววา แนวทางทน่ี ักการศึกษาใชใ นการวิจัย และทดลอง
เพอ่ื พฒั นาการคดิ นน้ั สามารถสรปุ ได 3 แนว คอื
1. การสอนเพื่อใหคิด (Teaching for thinking) เปนการสอนที่เนนในดานเนือ้ หา วิชาการ
โดยมกี ารปรับเปลย่ี นเพ่อื เพม่ิ ความสามารถในดานการคดิ ของผูเรียน
2. การสอนคดิ (Teaching of thinking) เปนการสอนท่ีเนน เก่ียวกบั กระบวนการทางสมองท่ี
นำมาใช ในการคดิ โดยเฉพาะ เปนการปลูกฝงทกษั ะการคดิ โดยตรง ลักษณะของงานทนี่ ำมาใชสอนจะ
ไมเกี่ยวของกับเนื้อหาวิชาที่เรียนในโรงเรียน แนวทางการสอนจะแตกตางกันออกไปตามทฤษฎีและ
ความเชอ่ื พนื้ ฐานของแตละคนท่ีนำมาพัฒนาเปน โปรแกรมการสอน

12

3. การสอนเกี่ยวกับการคิด (Teaching about thinking) เปนการสอนที่เนนการใชทักษะ
การคิดเปนเนื้อหาสาระของการสอน โดยการชวยเหลือใหผูเ รียนไดรูและเขาใจกระบวนการคิดของ
ตนเองเพื่อใหเกิดการคิดที่เรยี กวา Metacognition คือรูวาตนเองรูอะไร ตองการอะไร ยังไมร ูอะไร
ตลอดจนสามารถ ควบคมุ และตรวจสอบการคิดของตนเองได

เบเยอร (Beger. 1985 : 279 – 303 ; อางถึงใน มาลินี ศิริจารี. 2545 : 40) ทางการ
พฒั นาการคดิ วิเคราะหวิจารณในการเรยี นการสอน ไดด ังน้ี

1. แนะนำทักษะที่ฝก
2. ผเู รยี นทบทวนกระบวนการคน ทักษะ กฎ และความรทู ่ีเกีย่ วของกบั ทักษะท่ีจะฝก
3. ผูเ รยี นใชทักษะเพื่อใหบ รรลจุ ุดมุง หมายที่กำหนด
4. ผูเรยี นทบทวนสิง่ ทีค่ ดิ หรือสงิ่ ทเ่ี กิดข้นึ ในสมองขณะที่ทำกิจกรรม
สรปุ ไดว า แนวการสอนเพ่ือพัฒนาการคิดวิเคราะหวจิ ารณกระทำไดด ังน้ี
1. เสนอสถานการณทีก่ ระตุนใหคิด
2. คิดอยา งเปน ระบบใชเหตผุ ล
3. นำขอ มูลตา ง ๆ มาใชในกระบวนการคดิ บนพ้ืนฐานของความจริง ความดีงาม ความถกู ตอ ง
4. คดิ และตัดสนิ ใจลงมอื ปฏิบัติ
5. ตรวจสอบ วัดและประเมนิ ผลการปฏบิ ตั ิ รวมทัง้ การประเมนิ ผลของตนเอง
อาจกลาวโดยสรุปไดวา แนวทางการสอนใหนักเรียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะหให
บรรลุตามวัตถุประสงคน้ัน จะตองฝกทักษะกระบวนการคิดวิเคราะหใหก ับนักเรยี น เปนกระบวนการ
คิดและตัดสนิ ใจอยางรอบคอบและตองฝกฝนอยูเสมอ โดยใหนกั เรียนไดฝกคิดและลงมือปฏิบัติ สืบ
เสาะหาความรูดวยตนเอง สงผลใหมคี วามสามารถดา นกระบวนการคิดวิเคราะห วิจารณ เพราะการ
คิดเปนกระบวนการเรียนรูถาผูเรียนไดวิธีคิดอยางเปนระบบ ที่มีความใครค รวญ ไตรตรอง แยกแยะ
แจกแจง เชน กระบวนการคิดโดยใชคำถาม 5W 1H ดังนี้ คือ ขาวที่นกั เรียนหญิงทะเลาะวิวาทกันมี
การเผยแพรคลิป วีดโี อ นกั เรยี นหญิงชั้นมธั ยมศกึ ษาปที่ 3 จำนวน 2 คู ทั้งหมดอยสู ถาบันเดียวกัน ใช
กำลังตบตที ำรายรา งกายกันภายในบริเวณโรงเรยี น โดยมสี าเหตุเพราะรกั ผชู ายคนเดียวกัน และอีกคูที่
นัดตบกันกระจายสาเหตุแคอีกฝายเดินสวนกันแลวมองหนา จากขาว สามารถฝกกระบวนการคิด
วิเคราะหใ หก ับนักเรยี นไดโ ดยใชคำถาม 5W 1H ดังน้ี คือ
Who (ใคร) : นักเรียนหญงิ ช้นั ม.3 ใน อ.กงไกรลาศ จ.สุโขทัย
What (ทำอะไร) : ตบตที ำรา ยรา งกายกนั
Where (ทไ่ี หน) : ในบรเิ วณโรงเรยี น
When (เมอ่ื ไร) : ตัง้ แต 1 ก.พ.
Why (เพราะเหตุใด) : เพราะสาเหตุแคอีกฝายเดินสวนกันแลวมองหนา เพราะชอบเด็ก
นกั เรยี นชายช้ัน ม.2 โรงเรยี นเดยี วกัน
How (อยางไร) : ปฏบิ ัติใน 3 แนวทาง คอื

- เรียกนกั เรยี นคกู รณีและนกั เรยี นท่ยี ืนเชยี รมาตักเตือน
- ลงโทษสถานเบาดว ยการใหทำกิจกรรมบำเพ็ญประโยชนรว มกัน
- แจงใหผูปกครองทราบ

13

ผลการปฏิบัติ นักเรียนไมมีปญหานกั เรียนทะเลาะววิ าทกนั อีก
ผลกระทบ ผลเสียจะเกดิ กับตัวนกั เรยี นและในสงั คมของนักเรยี น เกดิ ความอับอาย เสื่อม
เสียชอ่ื เสียงของสถาบัน
ทั้งนีเ้ พื่อเปน แนวทางในการฝก ทกั ษะใหน กั เรยี นมกี ระบวนการคดิ วิเคราะห อยางเปนขั้นตอน
สามารถนำผลที่ไดจากกระบวนการคิดวิเคราะหไปประเมินคาและตัดสินใจแกปญหาไดอยางถูกตอง
เหมาะสมตอไป
งานวจิ ยั ทเี่ ก่ียวของกับการคิดวเิ คราะห
พิชญะ กันธิยะ (2559) ไดศึกษาการพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะหโดยใชการจัดการเรียนรู
แบบบันได 5 ขั้น วิชาวิทยาศาสตร ของนักเรียนช้ันมัธยมศกึ ษาตอนตน มวี ัตถุประสงคเ พื่อ 1) ศึกษา
เปรยี บเทียบทักษะการคิดวิเคราะหข องนักเรียนกอนและหลังไดรับการจดั การเรียนรูแบบบันได 5 ข้ัน
2) เพื่อศึกษาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนกอนและหลังไดรับการจัดการเรยี นรูแบบบันได 5 ข้ัน และ 3)
เพือ่ ศกึ ษาความพึงพอใจของนักเรยี นชั้นมัธยมศึกษาตอนตนที่มีตอการเรียนรูดวยการจดัการเรียนรู
แบบบันได 5 ขั้นของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาป ที่ 2 กลุมตัวอยางเปนนักเรยี นชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2
โรงเรียนหองสอนศึกษาในพระอุปถัมภฯ อำเภอเมือง จังหวัดแมฮองสอน ไดมาจากการสุมกลุม
ตัวอยางแบบกลุม (Cluster Random Sampling) จำนวน 37 คน จากนักเรยี น 5 หองเรียน เคร่อื งมือ
ที่ใชในการวิจัย ประกอบดวย 1) แผนการจัดการเรียนรูแบบบันได 5 ขั้น ทั้งหมด 6 แผนการเรียนรู
ประกอบดวยแผนการเรียนรูที่ 1 เรือ่ ง อาหารและสารอาหารจำนวน 3 ชั่วโมง 2) แบบวดั ทักษะการ
คดิ วิเคราะห และ 3) แบบสอบถามความพึงพอใจ สถิติท่ใี ชใ นการวิเคราะหขอมลู คอื คารอยละ ฐาน
นิยม คาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน คาเฉลี่ยกลุมตัวอยางสัมพันธกัน ( t – test Dependent
Samples) และทดสอบคา เฉลีย่ กลมุ ตัวอยา ง 1กลมุ ทดสอบคา t – test
ผลการวิจัยพบวา
1. ทักษะการคิดวิเคราะหของนักเรียนหลังไดรับการเรียนรูแบบบันได 5 ขั้น นักเรียนมีทักษะ
การการคิดวิเคราะหส งู กวา กอนไดร บั การจัดการเรียนรอู ยางมนี ัยสำคญั ทางสถติ ิที่ระดับ.01 ซึ่งนักเรียน
มีทักษะการคดิ วิเคราะหภาพรวมอยูในระดับ ดี โดยนักเรยี นมีการพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะหดานการ
วิเคราะหเนอื้ หา ดา นการวเิ คราะหค วามสมั พันธ ดานการวเิ คราะหห ลกั การเพิ่มมากข้ึน
2. ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นหลังไดรับการเรียนรูแบบบันได 5 ขัน้ สูงกวาคาเฉลี่ยของคะแนน
กอ นเรยี นอยา งมีนัยสำคญั ทางสถิตทิ รี่ ะดับ .01
3. ความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนตนที่มีตอการเรียนรูดวยการเรียนรูแบบ
บันได 5 ขั้น สวนใหญม ีความพึงพอใจอยูในระดับมาก โดยความพึงพอใจมากอันดับแรกท่ีมีคาเฉลี่ย
เทากัน คือ 4.57 จำนวน 3 รายการไดแก นักเรียนสรางความรูความเขาใจดวยตนเองไดนักเรียน
สามารถตัดสินใจโดยใชเ หตุผล และนักเรียนกลาแสดงความคดิ เห็น รองลงมาไดคาเฉลี่ยเทากัน คือ
4.54 จำนวน 2 รายการ ไดแกบรรยากาศของการเรียนเปดโอกาสใหนักเรียนมีสวนรวมในการทำ
กิจกรรม และกิจกรรมการเรยี นรูทำใหนักเรียนกลาคดิ กลาตอบในการแสดงความคิดเห็นและอันดับ
สดุ ทา ย คอื กิจกรรมการเรยี นรูม คี วามเหมาะสมกับเนื้อหาไดค า เฉล่ียเทากับ 4.35
อัธยา เมิดไธสง (ม.ม.ป.) ไดศึกษากระบวนการคิดวิเคราะหของนักศึกษาในรายวิชาระเบียบ
วิธีวิจัยทางสังคมศาสตรเบ้ืองตน มีวัตถุประสงคเพ่ือศึกษากระบวนการคิดวิเคราะหของนักศึกษาใน

14

รายวิชาระเบียบวิธวี ิจัยทางสังคมศาสตรเ บื้องตนของนกั ศึกษาโดยใชโ มเดลองคประกอบทางความคดิ
ทัง้ 8 ดานของ Richard Paul กลุม เปา หมาย คอื นักศึกษาสาขาสังคมศึกษา ชนั้ ปท ่ี 3 คณะครศุ าสตร
มหาวิทยาลยั ราชภัฏรอยเอ็ดที่เรียนในรายวิชา SOC3301 รายวิชา ระเบยี บวิธีวิจัยทางสังคมศาสตร
เบื้องตน จำนวน 117 คน ใชรูปแบบการวิจัยแบบ One-Shot Case Study เครื่องมือที่ใชใน
การศึกษาประกอบดวย แบบวดั การคิดวิเคราะหและแบบสัมภาษณเกยี่ วกบั กระบวนการคิดวิเคราะห
ของนักศกึ ษาโดยใชสถิติเบื้องตนในการวิเคราะหประกอบดวย คา เฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

และมีการวเิ คราะหเ ชงิ เน้อื หาสำหรับขอมูล เชงิ คณุ ภาพ ผลการวจิ ยั พบวา นกั ศึกษามีกระบวนการคิด
วิเคราะหโดยรวมรายดานอยูในระดับมากทุกดาน โดยเรียงลำดับดังนี้ ดานมุมมองหาปญหา/ตั้งชื่อ
เรื่อง ดานการตั้งจุดประสงคและดานแนวคิดทฤษฎี ตามลำดับ จากการสัมภาษณกระบวนการคิด
วิเคราะหของนักศึกษา พบวาการทำงานวิจัยเปนกลุมขณะอยูในชั้นเรียนทำใหเกิดกระบวนการคิด
วิเคราะหและเขาใจตีความปรากฏการณตา ง ๆ ไดชัดเจนขึ้น เนื่องจากมีผูสอนใหคำปรึกษารายกลุม
ซึ่งชวยกระตุนการคดิ วิเคราะหส ังเคราะหไดดกี วาการอธิบายหลักการภาพรวมหนาชนั้ เรียน อีกทั้งยัง
เปดโอกาสใหนกั ศึกษาอภปิ รายรว มกันในทกุ ชวั่ โมง เกิดทักษะการคิดอยางตอเน่ืองและเชอื่ มโยง

กรอบแนวคดิ การวจิ ยั

ตวั แปรตน ตัวแปรตาม

กระบวนการคดิ วิเคราะห 5W 1H 1) ทกั ษะกระบวนการคิดวเิ คราะห
2) ผลการสะทอ นการเรยี นรู

โดยกระบวนการคิดวเิ คราะห
5W 1H

วัตถุประสงคการวิจยั

1) เพื่อพัฒนาการคดิ วิเคราะหโดยกระบวนการคิดวิเคราะห 5W 1H รายวิชาวิชาเทคโนโลยี
(การออกแบบและเทคโนโลยี) สำหรบั นักเรยี นชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5

2) เพื่อศึกษาผลการสะทอนการเรียนรูโดยกระบวนการคิดวิเคราะห 5W 1H รายวิชาวิชา
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี สำหรับนกั เรยี นชัน้ มธั ยมศึกษาปที่ 5

สมมติฐานการวิจยั

1) กระบวนการคิดวิเคราะห 5W 1H สามารถชวยพฒั นากระบวนการคิดวิเคราะหไ ด
2) ผลการสะทอนการเรียนรูโดยกระบวนการคิดวิเคราะห 5W 1H รายวิชาวิชาเทคโนโลยี
(การออกแบบและเทคโนโลยี) สำหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปที่ 5 มีผลสะทอนกลบั ในทางบวก

15

ตวั แปรและนิยามตัวแปร

กระบวนการคิดวิเคราะห หมายถึง การคิดโดยพิจารณา แยกแยะขอมูลจากสถานการณ
ตา ง ๆ ทเ่ี กดิ ขึน้ โดยอาศยั หลักเหตุและผลเพื่อใชใ นการแกปญ หาและการตัดสนิ ใจที่ถกู ตอง

ประชากร

นักเรียนระดบั ชนั้ มัธยมศึกษาปที่ 5 ที่ลงทะเบียนเรียนรายวิชาเทคโนโลยี (การออกแบบและ
เทคโนโลยี) ภาคเรยี นที่ 2 ปก ารศกึ ษา 2562 โรงเรยี นปลายพระยาวิทยาคม จังหวัดกระบ่ี

กลมุ ตัวอยาง/กรณีศกึ ษา

นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 หอง 2 จำนวน 30 คน ที่ลงทะเบียนเรียนรายวิชา
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2562 โรงเรียนปลายพระยา
วทิ ยาคม จังหวดั กระบ่ี ไดม าจากการสุมแบบกลมุ (Cluster Random Sampling)

เคร่อื งมือวิจัย

เครื่องมอื วิจัยทีใ่ ชในการเกบ็ ขอ มลู คร้งั น้ี ประกอบดว ย
1) แผนการจัดการเรียนรู หนวยการเรียนรทู ี่ 1 ความรูกับกระบวนการคิดเพื่อแกปญหา โดย
ใชกระบวนการคดิ วิเคราะห 5W 1H เพ่ือใชสอนเปนเวลา 2 คาบ คาบละ 50 นาที ภายในหองเรยี น
2) แบบประเมินการคิดวิเคราะห 5W 1H โดยใชเกณฑการประเมิน 3 ระดับ คือ 3 มาก 2
ปาน กลาง 1 ปรบั ปรงุ
3) แบบสะทอ นการเรยี นรขู องนักเรียนเปน แบบประเมนิ ตนเองหลงั การเรยี น แบงออกเปน 3
ดา น ดงั นี้

3.1) สิ่งท่ีนกั เรยี นไดเ รียนรู
3.2) ความรสู กึ ท่มี ตี อการเรียนรู
3.3) ความคดิ เหน็ ที่มีตอ การจัดกิจกรรมการเรียนรู

การเกบ็ รวบรวมขอมลู

การเกบ็ รวบรวมขอ มูลผูว ิจยั ไดด ำเนนิ การเก็บขอมลู ดังนี้
1. ผูวิจัยดำเนินการสอนโดยใชแผนการจัดการเรียนรูตามกระบวนการคิดวิเคราะห 5W 1H
หนวยการเรยี นรทู ่ี 1 ความรกู บั กระบวนการคิดเพื่อแกป ญหา
2. ผูวิจัยใหนักเรียนทำกิจกรรม “วิเคราะห สถานการณหรือความตองการที่คำนึงถึงผูใช
ดว ยการคิดเชิงออกแบบ และความรจู ากศาสตรต า ง ๆ ตามกระบวนการคดิ วิเคราะห 5W 1H”
3. ผวู ิจัยประเมนิ ผลงานโดยใชแบบประเมินการคิดวเิ คราะห 5W 1H
4. ผวู ิจัยใหนักเรยี นเขียนแบบสะทอนการเรยี นรูที่ไดจากการะบวนการคิดวิเคราะห 5W 1H
ในการคดิ แกป ญหา
5. ผูวิจยั นำผลจากการเกบ็ ขอ มูลทไี่ ด ไปทำการวิเคราะหขอ มลู ทางสถติ ิตอ ไป

16

การวเิ คราะหขอ มลู

1. นำขอ มลู ท่ีไดจากแบบประเมินการคิดวิเคราะห 5W 1H มาวเิ คราะหโดยใชก ารหาคารอย

ละ (Percentage) และคาเฉลีย่ ( )̅
2. นำขอมูลทไี่ ดจ ากแบบสะทอนการเรยี นรูม าเขียนสรปุ
ผลการวเิ คราะหแ บบประเมินผลงานการคิดวิเคราะห 5W 1H
ผวู จิ ยั ไดแ บง กลุมนักเรียนออกเปน 10 กลุม เพอ่ื ทำการประเมนิ ผลงาน โดยการหาคา รอยละ

(Percentage) และคา เฉล่ีย ( )̅ จากแบบประเมินผลงานของนักเรียนที่ประเมนิ การคดิ วเิ คราะห

ตารางที่ 4.1 ผลการวิเคราะหแบบประเมนิ ผลงานการคิดวิเคราะห 5W 1H

ระดบั คะแนน ระดบั
คณุ ภาพ
หวั ขอ การประเมนิ 3 21 ̅
ดี
กลุมเปาหมาย/ใชก บั ใคร (Who) รอยละ รอยละ รอ ยละ 3 ดี
นวัตกรรม/ช้นิ งานคืออะไร (What) 2.67 ดี
เวลา/ใชเมือ่ ใด (When) 100 - - 2.67 ดี
สถานท/่ี ใชท ไี่ หน (Where) 2.67 ดี
เพราะเหตุใด/ทำไมตองใช (Why) 90 10 - 2.67 ดี
อยางไร (How) 2.50 ดี
90 10 - 2.70
รวม
90 10 -

90 10 -

80 20 -

90 10 -

จากตารางท่ี 4.1 ผูวิจัยพบวา ผลการวเิ คราะหแบบประเมินผลงานการคิดวิเคราะห 5W 1H
โดยภาพรวม ระดับคุณภาพ 2.70 อยูในระดับ ดี เมื่อพิจารณาแยกหัวขอการประเมิน มีผลการ

พิจารณาดังนี้ หัวขอการประเมินกลุมเปาหมาย/ใชกับใคร (Who) พบวา นักเรียนรอยละ 100 ไมมี
ปญ หาในการเลือกกลุมเปาหมาย/หรือกลุมผูใช สามารถใหเหตผุ ลประกอบไดอยา งชัดเจนอยูในระดับ
คา เฉลยี่ 3 ระดับคุณภาพ ดี หวั ขอ การประเมนิ นวตั กรรม/ช้นิ งานคอื อะไร (What) พบวา นกั เรียนรอย
ละ 90 มีการเลือกประเภทนวัตกรรม/ชิ้นงาน ไดเหมาะสมกับกลุมเปาหมายและมีความคิดเชิง
สรางสรรคในการเลือกนวัตกรรม/ชิ้นงานและนักเรียนรอยละ 10 มีการเลือกประเภทนวัตกรรม/
ชิ้นงานได มีความคิดสรางสรรค แตยังไมตรงกับกลุมเปาหมายอยูในระดับคาเฉลี่ย 2.67 ระดับ
คณุ ภาพ ดี หัวขอการประเมินเวลา/ใชเม่อื ใด (When) พบวา นักเรยี นรอยละ 90 มกี ารเลือกชวงเวลา
ในการพัฒนานวัตกรรม/ชิ้นงาน และเวลาสำหรับการใชนวัตกรรม/ชิน้ งานไดเหมาะสม และมีความ
ตรงตอยุคสมัย และรอยละ 10 พบวานักเรียนมีการเลือกชวงเวลาในการพัฒนานวัตกรรม/ชิ้นงาน

เหมาะสม แตยังไมตรงตอยุคสมัย อยูในระดับคาเฉลี่ย 2.67 ระดับคุณภาพ ดี หัวขอการประเมิน
สถานที่/ใชทีไ่ หน (Where) พบวา นักเรียนรอยละ 90 เลือกสถานท่ใี นการพัฒนาชิ้นงาน/นวัตกรรมได
เหมาะสม และตรงกับกลุมเปา หมาย และรอยละ 10 พบวานักเรียนเลือกสถานที่ไดเหมาะสมกับการ
พฒั นานวตั กรรม แตไ มย ังตรงกับกลมุ เปา หมาย อยูใ นระดบั คาเฉล่ยี 2.67 ระดับคุณภาพ ดี หวั ขอการ
ประเมิน เพราะเหตใุ ด/ทำไมตองใช (Why) พบวานกั เรียนรอยละ 80 บอกเหตุผลประกอบการเลือก

17

และออกแบบไดอยา งครบถว น ชัดเจน และรอยละ 10 พบวา นกั เรียนบอกหตผุ ลประกอบการเลือกได
แตการออกแบบยังไมคอยชัดเจน อยูใ น ระดับคาเฉลี่ย 2.67 ระดับคุณภาพ ดี หัวขอการประเมิน
อยา งไร (How) พบวานักเรียนรอ ยละ 80 มีความคิด สรางสรรคในการออกแบบสามารถบอกเหตุผล
การออกแบบไดชัดเจนและสามารถนำไปประยุกตใชไดจ รงิ และรอยละ 20 พบวานักเรียนมีความคดิ
สรางสรรคใ นการออกแบบ บอกเหตุผลประกอบแตย งั ไมคอยชัดเจน สามารถนำไปประยุกตใชไ ดอยู
ในระดับคาเฉลี่ย 2.67 ระดับคุณภาพ ดี

ผลการสะทอนการเรียนรู
ผลการสะทอนความรูของผูเรียนเปนแบบประเมินตนเองหลังการเรียน ผูวิจัยไดทำการ
สรปุ ผล แบง ออกเปน 3 ดา น ดังน้ี
1. สิง่ ท่นี กั เรยี นไดเรียนรู ผูวิจัยพบวา สง่ิ ทผ่ี ูเรยี นไดเ รยี นรูสรปุ ไดดงั น้ี

- ผูเรียน รคู วามหมาย ความสำคัญและเทคนิคการออกแบบนวัตกรรมหรือชนิ้ งาน
- ผูเรียนมีความเขาใจถึงความสำคัญของนวัตกรรมหรือชิ้นงาน และมีแนวทางในการ
ออกแบบ มีการคดิ วิเคราะหทใี่ ชหลกั 5W 1H มาชว ยในการออกแบบ
- ผเู รียนไดแ นวทาง และหาเหตผุ ลประกอบกับการออกแบบได
- ผเู รียนเหน็ ความสำคญั ของนวัตกรรมหรอื ชน้ิ งานท่มี ตี อกิจกรรมทางดานการคดิ
วิเคราะห สรา งสรรคน วัตกรรมหรือชนิ้ งานใหม ๆ
2. ความรูสกึ ทมี่ ตี อ การเรยี นรู ผวู ิจัยพบวา ผเู รียนมคี วามรูสกึ สรุปไดด ังน้ี
- ผูเ รยี นมีความพึงพอใจกบั ผลงานของตนเอง
- ผูเรยี นมีความสนุกนาน และมสี ว นรวมในการทำงานทกุ ขั้นตอน
- ผเู รยี นมแี นวคิด ความคดิ สรางสรรคใ นการออกแบบ
3. ความคดิ เหน็ ที่มีตอ การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู ผวู จิ ยั พบวา ผูเ รียนมคี วามคดิ เหน็ สรปุ ไดดังนี้
- ไดฝก ทักษะการคดิ วเิ คราะห โดยมกี ระบวนการคิดวิเคราะหก อ นจะเรมิ่ ลงมอื ปฏิบตั ิ
- ผเู รยี นสามารถเห็นแนวทางในการออกแบบไดช ัดเจนข้นึ
- ผูเรยี นมีเหตุผลในการท่จี ะปฏิบัติงานมากขนึ้ มีกระบวนการคิดท่ีเปน ขั้น เปน ตอน
สามารถหา เหตผุ ลมาประกอบการทำงานได
- ผเู รยี นมกี ารคิดวเิ คราะหกอ นเรม่ิ ลงมอื ปฏบิ ัติ กลาคิดและกลา ตัดสินใจ
- มีความสนกุ สนานทไี่ ดท ำกิจกรรมรว มกับเพือ่ น ๆ

ผลการวจิ ยั

จากการศึกษากระบวนการคิดวิเคราะห 5W 1H เพื่อพัฒนาการคดิ วิเคราะหของนักเรียนชัน้
มัธยมศึกษาปที่ 5 รายวิชา เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) โรงเรยี นปลายพระยาวิทยาคม
ผูวิจัยสรุปผลการวิจัยท่สี ำคญั ไดด งั นี้

ผลการวิเคราะหแบบประเมินผลงานการคิดวิเคราะห 5W 1H พบวา ผูเรียนสวนใหญมีการ
พัฒนากระบวนการคิดวิเคราะหที่ดีขึ้น รูหลักการคิดวิเคราะห และสามารถปฏิบัติงานและความ
ถูกตองของงานอยู ในระดับดี และกลาทีจ่ ะคิดอยางเต็มที่ ซึ่งผูเรยี นไดใหเหตุผลประกอบในทกุ หัวขอ
ไดอยางชัดเจนอยูใน ระดับทีด่ ี หัวขอการประเมินกลุมเปาหมาย (Who) พบวา ผูเรียนไมมีปญหาใน

18

การเลือกกลุมเปาหมาย สามารถใหเหตุผลประกอบไดอยางชัดเจน หัวขอการประเมินประเภท
นวัตกรรมหรือชิ้นงาน (What) ผูเรียนมีการเลือกประเภทนวัตกรรมหรือชิ้นงานไดเหมาะสมกับ
กลมุ เปาหมายและมีความคิดเชิงสรางสรรคใ นการเลือกนวัตกรรมหรือชนิ้ งาน หัวขอ การประเมินเวลา
(When) ผูเรียนมีการเลือกชวงเวลาในการพัฒนานวัตกรรมหรือชิ้นงานไดเ หมาะสม และมีความตรง
ตอยคุ สมยั หวั ขอการประเมนิ สถานที่ (Where) ผูเรียนเลอื กสถานทใี่ นการนำเสนอเผยแพรนวัตกรรม
หรือชิ้นงานไดเหมาะสม และตรงกับกลุมเปาหมาย หัวขอการประเมนิ เพราะเหตุใด (Why) ผูเรียน
บอกเหตุผลประกอบการเลือกและออกแบบไดอยางครบถวนชัดเจน หวั ขอการประเมนิ อยางไร(How)
ผูเรียนมีความคิดสรางสรรคใ นการออกแบบ สามารถบอกเหตุผลการออกแบบไดชัดเจนและสามารถ
นำไปประยุกตใ ชไดจรงิ ซึ่งสรุปไดวา วิธีการพัฒนาการคิดวิเคราะหโดยกระบวนการคิดวเิ คราะห 5W
1H เปนทักษะที่ใชไ ดผลดีในระดับที่นาพอใจ สามารถชว ยพัฒนากระบวนการคิดวิเคราะหของผูเรียน
ไดดีข้ึนตามจดุ ประสงคท ่กี ำหนดไว

ผลแบบสะทอนการเรียนรู พบวา ผูเรียนไดเรยี นรูกระบวนการออกแบบทีใ่ ชกระบวนการคิด
วิเคราะห 5W 1H นั้น ทำใหผูเ รียนเกดิ การคิดที่เปนกระบวนการ มีขั้นตอนในการคิดท่เี ปนระบบ มี
กระบวนการเรียนรูที่เปนขั้นตอน มีแนวทางดานความคิดที่เปนระบบ มีเหตุผลในการตัดสินใจ
ออกแบบ ผลงานไดถูกตองตรงตามจุดประสงคที่ไดตั้งไว ผูเรียนมีความสนุก สนานที่ไดทำกจิ กรรม
รวมกบั เพ่อื น ๆ

ดังนั้นสรุปไดวา วิธีการพัฒนาการคิดวิเคราะหโดยกระบวนการคิดวิเคราะห 5W 1H เปน
ทักษะที่ใชไ ดผลดีในระดับทีน่ าพอใจ สามารถชว ยพัฒนากระบวนการคิดวิเคราะหของผูเรียนไดดีขึ้น
ตามจดุ ประสงคท กี่ ำหนดไว

การอภปิ รายผล

จากผลการวิเคราะหแบบประเมินผลงานการคิดวิเคราะห 5W 1H พบวาผูเรียนสวนใหญมี
การพัฒนากระบวนการคิดวิเคราะหท่ีดีขึ้น รูหลักการคิดวิเคราะห และสามารถปฏิบัติงานและความ
ถูกตองของงานอยูในระดับดี และกลาที่จะคดิ อยางเต็มที่ ซ่ึงผูเ รียนไดใหเหตุผลประกอบในทุกหัวขอ
ไดอ ยา งชัดเจนอยูใน ระดับที่ดี หวั ขอการประเมินกลุม เปาหมาย (Who) พบวา ผูเรียนไมมีปญหาใน
การเลือกกลุมเปาหมาย สามารถใหเหตุผลประกอบไดอยางชัดเจน หัวขอการประเมินประเภท
นวัตกรรมหรือชิ้นงาน (What) ผูเรียนมีการเลือกประเภทนวัตกรรมหรือชิ้นงานได เหมาะสมกับ
กลมุ เปาหมายและมีความคิดเชิงสรางสรรคใ นการเลอื กนวัตกรรมหรือชิน้ งาน หัวขอ การประเมินเวลา
(When) ผเู รียนมกี ารเลือกชว งเวลาในพฒั นานวัตกรรมหรือช้ินงานไดเ หมาะสม และมีความตรงตอยุค
สมัย หวั ขอการประเมิน สถานที่ (Where) ผูเ รียนเลอื กสถานทีใ่ นการเผยแพรน วตั กรรมหรือช้ินงานได
เหมาะสม และตรงกับกลุมเปาหมาย หัวขอการประเมินเพราะเหตุใด (Why) ผูเรียนบอกเหตุผล
ประกอบการเลือกและออกแบบไดอยางครบถวนชัดเจน หัวขอการประเมินอยางไร (How) ผูเ รียนมี
ความคิดสรางสรรคในการออกแบบสามารถบอกเหตุผลการออกแบบไดชัดเจนและสามารถนำไป
ประยุกตใชไดจริง ซึ่งสรุปไดวาวิธีการพัฒนาการคิดวิเคราะหโดยกระบวนการคิดวิเคราะห 5W 1H
เปนทักษะที่ใชไดผลดใี นระดับทน่ี าพอใจ สามารถชวยพัฒนากระบวนการคิดวิเคราะหของผูเรียนไดด ี
ข้ึนตามจุดประสงคท่กี ำหนดไว

19

ในการจัดการทำแบบสะทอนการเรียนรู พบวา ผูเรียนไดเรียนรูกระบวนการออกแบบ ที่ใช
กระบวนการคดิ วิเคราะห 5W 1H นัน้ ทำใหผเู รียนเกิดการคิดทีเ่ ปน กระบวนการ มีข้ันตอนในการคดิ
ที่เปนระบบ มกี ระบวนการเรียนรูที่เปนขั้นตอน มีแนวทางดานความคิดที่เปนระบบ มีเหตผุ ลในการ
ตัดสินใจ ออกแบบผลงานไดถูกตองตรงตามจุดประสงคที่ไดตัง้ ไว ผูเรียนมีความสนุก สนานที่ไดทำ
กิจกรรมรว มกับเพอ่ื นๆ

ซึ่งผลจากการวิจัยมีความสอดคลองผลการวิจัยของพิชญะ กันธิยะ (2559) ไดศึกษาการพัฒนา
ทักษะการคิดวิเคราะหโดยใชการจัดการเรียนรู แบบบันได 5 ขั้น วิชาวิทยาศาสตร ของนกั เรียนช้ัน
มัธยมศึกษาตอนตน ผลการวิจัยพบวา ทักษะการคิดวิเคราะหของนักเรียนหลังไดรับการเรียนรูแบบ
บันได 5 ขัน้ นักเรียนมีทักษะการการคิดวิเคราะหสูงกวากอนไดรับการจัดการเรียนรูอยางมีนัยสำคัญ
ทางสถิติที่ระดับ.01 ผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นหลังไดรับการเรียนรูแบบบันได 5 ขัน้ สูงกวา คา เฉลี่ยของ
คะแนนกอนเรียนอยา งมีนัยสำคัญทางสถิติท่ีระดบั .01 และงานวิจัยของ อัธยา เมิดไธสง (ม.ม.ป.) ได
ศึกษากระบวนการคิดวิเคราะหของนักศึกษาในรายวิชาระเบียบวิธีวิจัยทางสังคมศาสตรเบื้องตน มี
วัตถุประสงคเพื่อศึกษากระบวนการคิดวิเคราะหของนักศึกษาในรายวิชาระเบียบวิธีวิจัยทาง
สังคมศาสตรเบื้องตนของนักศึกษาโดยใชโมเดลองคประกอบทางความคิดทั้ง 8 ดานของ Richard
Paul พบวา นกั ศกึ ษามกี ระบวนการคิดวิเคราะหโดยรวมรายดานอยูในระดับมากทุกดา น

ขอเสนอแนะ

ขอเสนอแนะในการนำผลการวิจัยไปใช
จากการพัฒนาการคิดวิเคราะหโดยกระบวนการคิดวิเคราะห 5W 1H เปนทักษะที่

ใชไดผ ลดใี นระดบั ที่นาพอใจ สามารถชว ยพัฒนากระบวนการคิดวเิ คราะหของผูเรียนไดดีขึ้น ทั้งนี้เพื่อ
สงเสริมใหนกั เรียนเกิดทักษะกระบวนการคดิ วิเคราะหอยางมีเหตุ มีผล ประยุกตหรือนำไปฝกคิดใน
การดำรงชีวิตประจำวันไดเปนอยางดี เพื่อไมเปนการสูญเปลาทางการศึกษานักเรียนสามารถฝก
กระบวนการคิดวเิ คราะห 5W 1H และพยายามใหนักเรยี นไดฝก กระบวนการคิดบอย ๆ จนกวา จะเกิด
ทักษะกระบวนการคิดวิเคราะห และนำไปเปนพื้นฐานของการดำรงชีวิตประจำวันดานตาง ๆ
ประยุกตใชใ หเ กดิ ประโยชนสงู สดุ ตอ ไปในอนาคต

ขอเสนอแนะ/ขอคิดเหน็ ในการศึกษาคนควา ตอไป
1. ผูสอนควรฝกหรือปฏิบัติใหผูเรียนไดคิดวิเคราะหบอยครั้ง หรือควรจะมีส่ือ

ประกอบให มากขึ้น
2. สามารถนำกระบวนการคิดวิเคราะห 5W 1H ไปประยุกตใชกับทุกรายวิชา

อาจจะปรับโดยทำเพียงขัน้ ตอนใดขั้นตอนหน่ึงกไ็ ด

การนำผลการวจิ ยั ไปใช

ฝกกระบวนการคิดวิเคราะห 5W 1H และพยายามใหนักเรียนไดฝกกระบวนการคิดบอย ๆ
จนกวา จะเกิดทักษะกระบวนการคิดวิเคราะห และนำไปเปนพื้นฐานของการดำรงชีวิตประจำวันดาน
ตา ง ๆประยกุ ตใ ชใ หเกดิ ประโยชนส ูงสดุ ตอ ไปในอนาคต

20

บรรณานกุ รม/เอกสารอางองิ

เกรยี งศักดิ์ เจริญวงศศ กั ด.์ิ (2553). การคิดเชิงวเิ คราะห (Analytical Thinking). พมิ พค รง้ั ที่ 6.
กรงุ เทพฯ: ซคั เซสมเี ดีย.

กระทรวงศกึ ษาธิการ.(2555). พระราชบัญญัติสงเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อัธยาศยั พ.ศ.2551.พมิ พค รง้ั ที่ 1 กรงุ เทพฯ : สำนกั งานสงเสรมิ การศกึ ษานอกระบบ
และการศกึ ษาตามอธั ยาศัย.

เชิดศกั ด์ิ โฆวาสินธ์ิ. (2530). การฝก สภาพสมองเพอื่ พัฒนาคุณภาพการคดิ .ปรญิ ญานพิ นธิ์ กศ.ด.,
กรงุ เทพฯ: มหาวิทยาลยั ศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร.

ทัศนา เขมมณี. (2548). รปู แบบการเรียนการสอนทางเลอื กทีห่ ลากหลาย.
กรุงเทพฯ: จฬุ าลงกรณมหาวิทยาลัย.

พชิ ญะ กนั ธิยะ. (2559). การพฒั นาทักษะการคิดวิเคราะหโดยใชก ารจัดการเรยี นรู แบบบนั ได 5
ข้ัน วชิ าวิทยาศาสตร ของนักเรยี นชั้นมัธยมศึกษาตอนตน. วิทยานพิ นธ
หลกั สตู รครศุ าสตรมหาบณั ฑิต, สาขาวิชาหลักสตู รและการสอน
บณั ฑิตวทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เชียงใหม.

ราชบัณฑติ ยสถาน. (2546). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. กรงุ เทพฯ: นานมี
บคุ สพ บั ลเิ คชนั่ ส.

ลักขณา สริวัฒน. (2549). การคดิ . กรงุ เทพฯ : โอเดียนสโตร.
วรรณา โรจนะบรุ านนท. (2557) การพฒั นาแบบวดั ความสามารถในการคดิ วิเคราะห สำหรับ

นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1-3 ของโรงเรียนสาธิตแหงมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร
ศูนยวิจยั และพัฒนาการศึกษา. มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร/ กรงุ เทพฯ.
ดร.สุวิทย มูลคำ.(2550). กลยุทธก ารสอนคดิ วิเคราะห.,พมิ พค ร้งั ท่ี 4.
กรุงเทพฯ: หา งหนุ สวนจำกดั ภาพพิมพ.
อัธยา เมิดไธสง (ม.ม.ป.). กระบวนการคดิ วเิ คราะหของนักศึกษาในรายวิชาระเบยี บวิธวี ิจัย
ทางสงั คมศาสตรเ บือ้ งตน .
Bloom, B.S. (1956). Taxonomy of Educational Objectives, The Classification of
Educational Goals – Handbook I: Cognitive Domain New York: McKay.
Cheng, C. F. (1993). Competency assessment in sport management for the
republic of Chaina (Taiwan), Dissertation Abstract International, 4, 151.
Dewey J. (1993). How We Think: A Restatement of the Relation of Reflective
Thinking to the Education Process. Boston: Houghton Mifflin Company.
Marzano, Robert J. (2001). Designing a New Taxonomy of Educational Objective.
Thousand Oaks, California : Corwin Press, Inc.
Watson, G. And Glaser,E.M. (1964). Watson-Glaser Critical Thinking Appraisal
Manual. New York: Harcourt Brace and Word Inc.

21

ภาคผนวก

22

ภาคผนวก ก
แบบประเมนิ การคดิ วิเคราะห 5W 1H

23

แบบประเมนิ การคดิ วเิ คราะห 5W 1H

กลุม .....................................................................

คำช้แี จง ผูประเมินทำเคร่อื งหมาย / ลงในชองทีต่ รงกับความเปน จริง

หวั ขอการประเมนิ เกณฑการใหคะแนน 1
32
1. กลุมเปา หมาย (Who)
2. ประเภทนวัตกรรมหรอื ชนิ้ งาน (What)
3. เวลา (When)
4. สถานที่ (Where)
5. เพราะเหตใุ ด (Why)
6. อยา งไร (How)

ระดบั คุณภาพ ดี
คะแนน 18 – 13 ปานกลาง
คะแนน 12 – 7 ปรับปรุง
คะแนน 6 – 1

ลงชื่อ ...............................................................
(....................................................................)

ผูประเมนิ

24

รายละเอยี ดเกณฑก ารใหคะแนนแบบประเมนิ การคดิ วิเคราะห 5W 1H

ประเดน็ 3 เกณฑก ารใหคะแนน 1
การประเมิน 2 - เลือกกลมุ เปา หมายได
1. Who - เลือกกลมุ เปาหมายได
- บอกเหตุผลประกอบ - เลอื กกลมุ เปาหมายได - เลอื กประเภท
2. What ไดอ ยา งชัดเจน - บอกเหตุผลประกอบ นวตั กรรม ช้ินงานได
ได แตไ มช ดั เจน แตไ มสอดคลอ งกับ
- เลือกประเภทนวตั กรรม - เลอื กประเภทนวัตกรรม กลมุ เปาหมาย
ชนิ้ งานได เหมาะสมกบั ช้นิ งานได แตไม
กลุมเปาหมาย สอดคลองกับ - กำหนดระยะเวลาได
- นวัตกรรม ชิน้ งาน ท่เี ลือก กลมุ เปาหมาย เหมาะสมกบั การพฒั นา
มีความคดิ สรา งสรรค - นวัตกรรม ชิ้นงานทเ่ี ลอื ก นวัตกรรม ช้ินงาน
มคี วามคดิ สรางสรรค
3. When - กำหนดระยะเวลาได - กำหนดระยะเวลาได - เลอื กสถานท่ีในพัฒนา
4. Where เหมาะสมกับการพัฒนา เหมาะสมกบั การพฒั นา นวัตกรรม ชิ้นงาน
5. Why นวัตกรรม ชน้ิ งาน นวตั กรรม ชน้ิ งาน ได
- ออกแบบไดเ หมาะสม - ออกแบบไมเหมาะสม
กบั ยุคสมยั - บอกเหตุผล
กับยุคสมัย ประกอบการเลือก
- เลอื กสถานทใ่ี นพัฒนา - เลอื กสถานทใ่ี นพัฒนา พัฒนานวตั กรรม
นวัตกรรม ชน้ิ งาน นวตั กรรม ชิ้นงาน ชิ้นงานและการ
ไดเ หมาะสม ไดเ หมาะสม ออกแบบ ไดไ มช ัดเจน
- เลอื กสถานทีไ่ ดต รง - มคี วามคดิ สรา งสรรค
กบั กลุมเปา หมาย - บอกเหตผุ ลประกอบการ ในการออกแบบ
เลือก พฒั นานวตั กรรม สามารถบอกเหตแุ ละ
- บอกเหตุผลประกอบการ ช้ินงานและการออกแบบ ผลในการออกแบบได
เลือก พัฒนานวัตกรรม ไดไ มช ดั เจน
ชิน้ งาน และการออกแบบ
ไดอ ยา ง ครบถวนชัดเจน - มีความคดิ สรางสรรคใ น
การออกแบบสามารถ
6. How - มคี วามคดิ สรา งสรรคใ น บอกเหตุและผลในการ
การออกแบบสามารถ ออกแบบบรรจุภัณฑ
ไดอยางชัดเจน
บอกเหตุและผลในการ - สามารถนำไปประยุกต
ออกแบบบรรจุภัณฑ ใชง านไดจริง
ไดอ ยา งชัดเจน
- สามารถนำไปประยุกตใ ช
งานไดจ รงิ

25

ภาคผนวก ข
แบบสะทอนการเรยี นรู

26

แบบสะทอนการเรยี นรู

1. สงิ่ ที่นกั เรยี นไดเรยี นรูในวนั นี้
………………………………………………………..................................................................................................
...........................................................................................................………………………………………………
………………………………………………………..................................................................................................
...........................................................................................................………………………………………………
………………………………………………………..................................................................................................
...........................................................................................................………………………………………………

2. ความรสู กึ ท่มี ตี อการเรียนรูในวันนี้

………………………………………………………..................................................................................................
...........................................................................................................………………………………………………
………………………………………………………..................................................................................................
...........................................................................................................………………………………………………
………………………………………………………..................................................................................................
...........................................................................................................………………………………………………

3. ความคดิ เห็นที่มีตอการจัดกจิ กรรมการเรียนรใู นวันนี้
………………………………………………………..................................................................................................
...........................................................................................................………………………………………………
………………………………………………………..................................................................................................
...........................................................................................................………………………………………………
………………………………………………………..................................................................................................
...........................................................................................................………………………………………………

27

ภาคผนวก ค
ภาพประกอบ

28
ภาพ ค.1 แสดงการนำเสนอผลจากการคดิ วเิ คราะหจากกรณตี วั อยางที่ 1
ภาพ ค.2 แสดงการนำเสนอผลจากการคิดวเิ คราะหจากกรณีตัวอยางท่ี 2



รายงานวจิ ยั ในชน้ั เรยี น

เร่ือง การพัฒนาการคดิ วเิ คราะหโ ดยกระบวนการคดิ วิเคราะห 5W 1H
รายวิชาเทคโนโลยี (ออกแบบและเทคโนโลย)ี สาํ หรับนกั เรียนชัน้ มธั ยมศกึ ษาปท ี่ 5
ภาคเรยี นท่ี 2 ปการศกึ ษา 2562


Click to View FlipBook Version