The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by teachinee.phi, 2021-11-08 17:00:04

โครงการสอน โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ

ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564

โครงการสอน เง่อื นไขและขอ ตกลงเบื้องตน

รายวชิ า โลก ดาราศาสตร และอวกาศ (ว30268)

ภาคเรียนท่ี 2 ปก ารศกึ ษา 2564

ช้ันมัธยมศกึ ษาปท ี่ 4 หอง 1

ว30268

นางสาวเตชนิ ี ภิรมย

ตาํ แหนง ครู
โรงเรยี นวงั หนิ วทิ ยาคม

สํานกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา นครศรีธรรมราช
สาํ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

คำอธิบายรายวิชา (เพมิ่ เตมิ )

รหสั วชิ า ว30268 รายวิชา โลก ดาราศาสตร และอวกาศ
กลมุ สาระการเรยี นรู วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

ชน้ั มัธยมศึกษาปที่ 4 เวลา 40 ช่ัวโมง/ภาคเรยี น จำนวน 1.0 หนวยกิต

ศึกษาเก่ียวกับการตรวจสอบ การระบุชนิดของแรและสมบตั ิของแร การใชประโยชนจากทรัพยากรแร
อยางเหมาะสม การตรวจสอบและจำแนกประเภทของหิน การระบุชื่อหิน วิเคราะหสมบัติของหิน การใช
ประโยชนจากทรัพยากรหินอยางเหมาะสม กระบวนการเกิดและการสำรวจแหลงปโตรเลียมและถานหิน
ผลิตภัณฑที่ไดจากปโตรเลียมและถานหิน การอานและแปลความหมายจากแผนที่ภูมิประเทศและแผนท่ี
ธรณีวิทยา การประยกุ ตความรูเ กี่ยวกบั แผนที่ในชีวติ ประจำวัน

โดยใชกระบวนการทางวิทยาศาสตร กระบวนการสืบเสาะหาความรู การสืบคนขอมูล การสังเกต
การวิเคราะห การอภิปราย การอธิบาย และการสรุปผลเพื่อใหเกิดความรู ความคิด และความเขาใจ
มีความสามารถในการตัดสินใจ สื่อสารสิ่งทเ่ี รยี นรู นำความรูไปใชในชวี ิตประจำวัน ตลอดจนมีจิตวิทยาศาสตร
จริยธรรม คุณธรรม และคา นยิ มทถี่ กู ตอ งเหมาะสม

ผลการเรยี นรู
1. ตรวจสอบ และระบุชนิดแร รวมทัง้ วิเคราะหสมบัติและนำเสนอการใชประโยชนจากทรัพยากรแรท่ี
เหมาะสม
2. ตรวจสอบ จำแนกประเภท และระบุชื่อหนิ รวมทั้งวิเคราะหสมบัติและนาเสนอการใชประโยชนจ าก
ทรัพยากรหินทีเ่ หมาะสม
3. อธบิ ายกระบวนการเกดิ และการสำรวจแหลง ปโตรเลียมและถานหิน โดยใชขอมูลทางธรณีวทิ ยา
4. อธิบายสมบัติของผลิตภัณฑที่ไดจากปโตรเลียมและถานหิน พรอมนำเสนอการใชประโยชนอยาง
เหมาะสม
5. อานและแปลความหมายจากแผนที่ภูมิประเทศและแผนที่ธรณีวิทยาของพื้นที่ที่กำหนด พรอมท้ัง
อธบิ ายและยกตวั อยา งการนำไปใชประโยชน

รวมทง้ั หมด 5 ผลการเรียนรู

วสิ ัยทัศนโ รงเรียน (Vision)

โรงเรยี นวังหินวิทยาคม มีความพรอมในการพัฒนาผูเรียนใหมคี ุณภาพ ตามมาตรฐานการศึกษา และ
บุคลากรเปนครูมืออาชพี ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เคียงคูภูมปิ ญ ญาทองถิ่น อาศัยการมีสวนรวม
จากทุกภาคสวน

พันธกิจ (Mission)

1. พฒั นานกั เรยี นใหมีความรูตามมาตรฐานการเรยี นรูในทกั ษะการเรยี นรใู นศตวรรษที่ 21 (3Rs8Cs)
2. สง เสรมิ นักเรยี นใหมีคณุ ธรรม จริยธรรม คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค ยึดหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจ

พอเพยี ง และสง เสริมภูมปิ ญญาทองถน่ิ
3. สงเสรมิ และพัฒนาศักยภาพของบุคลากรครทู กุ สาขาวิชา
4. พัฒนาระบบบริหารจดั การศกึ ษาแบบมสี วนรว ม
5. สงเสริมและสรา งโอกาสทางการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐานอยางท่ัวถึง

เปา หมาย (Goal)
1. นักเรยี นมีโอกาสไดรับการศึกษาขั้นพ้ืนฐานอยางท่วั ถงึ
2. นกั เรยี นมคี วามรตู ามมาตรฐานการเรยี นรใู นทกั ษะการเรียนรใู นศตวรรษที่ 21 (3Rs8Cs)
3. นกั เรยี นมคี ณุ ธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะอนั พึงประสงค ยึดหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
4. บคุ ลากรครูมีความสามารถในการจัดการเรยี นการสอนอยา งมคี ุณภาพ
5. ชุมชนและองคก รอืน่ ในทองถิน่ มสี ว นรว มในการจดั การศึกษา

ตัวชีว้ ัดความสำเรจ็ (Key performance indicator : KPI)
1. รอ ยละของนักเรยี นมโี อกาสไดรบั การศึกษาข้ันพนื้ ฐานอยางทัว่ ถงึ
2. รอยละของนักเรยี นมคี วามรูตามมาตรฐานการเรยี นรใู นทักษะการเรยี นรูใ นศตวรรษท่ี 21 (3Rs8Cs)
3. รอยละของนักเรียนมีคุณธรรม จรยิ ธรรม และคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค ยึดหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ
พอเพียง
4. รอ ยละของบุคลากรครูมีความสามารถในการจัดการเรียนการสอนอยางมีคณุ ภาพ
5. ชมุ ชนและองคก รอื่นในทองถ่ินมีสวนรวมในการจดั การศึกษาอยา งมีคณุ ภาพในระดับดีข้ึนไป

กลยุทธ (Strategies)
1. ใหนักเรยี นในการไดรบั โอกาสในการศึกษาขัน้ พืน้ ฐานอยางทั่วถึง
2. ยกระดบั คณุ ภาพนักเรียนใหมคี วามรูตามมาตรฐานการเรียนรใู นทักษะการเรยี นรใู นศตวรรษที่ 21
(3Rs8Cs)
3. พัฒนาคุณภาพนักเรยี นใหมีคณุ ธรรม จริยธรรม และคณุ ลักษณะอันพึง่ ประสงคย ึดหลักปรัชญา
ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
4. ยกระดบั คณุ ภาพของบุคลากรใหเ ปนครมู อื อาชพี
5. ระดมทรพั ยากรจากชมุ ชนและองคก รอื่นในทอ งถ่นิ ใหมสี วนรว มในการจัดการศึกษา

อตั ลกั ษณข องโรงเรียน
“ลกู วงั หินวิทยาคมทุกคน แตงกายดี และมนี ิสยั รักการออม”

จุดเนน (Focus)

1. ดานผูเ รยี น
1.1 นกั เรียนเปนคนดี เกง กลา มที กั ษะการแกป ญ หา มีจิตสาธารณะ และอยูอยา งพอเพียง
1.2 นักเรียนมคี วามมงุ มน่ั ในการศึกษาและการทำงาน สามารถปรบั ตวั เขากับชุมชน และสงั คม

2. ดานครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา
2.1 ครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษามวี นิ ยั คณุ ธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณของวิชาชพี

3. ดานการบริหารจดั การ
3.1 สถานศึกษามีความเขมแข็งและมีคณุ ภาพเปนทย่ี อมรบั ของชุมชน

โครงสรางรายวิชา โลก ดาราศาสตร และอวกาศ ม.4 เลม 2

ช่ือหนว ย ผลการเรยี นรู สาระสำคญั เวลา
ลำดับ การ (ชม.)

เรียนรู

1. ทรัพยากร 1. ตรวจสอบ และระบุชนิดของแร แร คือ ธาตุหรือสารประกอบอนินท 25

ธรณี รวมทง้ั วิเคราะหสมบัติ และนำเสนอ รียที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ มี

การใชประโยชนจากทรัพยากรแรที่ โครงสรา งภายในท่เี ปน ระเบยี บ มีสมบตั ิ

เหมาะสม ที่แนนอน หรืออาจเปลี่ยนแปลงไปได

2. ตรวจสอบ จำแนกประเภท และระบุ บางในขอบเขตจำกัด จึงสามารถ

ชื่อหิน รวมทั้งวิเคราะหสมบัติและ นำมาใชตรวจสอบชนดิ ของแรได

นำเสนอการใชประโ ยช นจาก หิน เปน มวลของแขง็ ที่ประกอบดวย

ทรัพยากรหนิ ทเี่ หมาะสม แรต้ังแต 1 ชนิดขึ้นไป สามารถจำแนก

3. อธิบายกระบวนการเกิด และการ ตามลักษณะการเกิดและเนื้อหินได 3

สำรวจแหลงปโตรเลียมและถานหิน ประเภท ไดแก หินอัคนี หินตะกอน

โดยใชข อมูลทางธรณวี ิทยา และหนิ แปร

4. อธิบายสมบัติของผลิตภณั ฑท่ีไดจาก ทรัพยากรปโตรเลยี มและถา นหินเปน

ปโตรเลียมและถานหิน พรอม ทรัพยากรสิ้นเปลือง ที่มีอยูอยางจำกัด

นำเสนอการใชประโยชนอยาง ใชแลวหมดไปไมสามารถเกิดข้ึน

เหมาะสม ทดแทนไดในเวลาอนั รวดเรว็ ทรัพยากร

ปโตรเลียมและถานหินถูกนำมาใชใน

อุตสาหกรรมที่สำคัญของประเทศ เชน

การคมนาคม การผลิตไฟฟา เชื้อเพลิง

ในอตุ สาหกรรม

2. แผนท่ี 5. อานและแปลความหมายจากแผนท่ี แผนที่ภูมิประเทศ เปนแผนท่ีท่ีสราง 15
ภูมปิ ระเทศและแผนทธี่ รณวี ิทยาของ เพื่อจำลองลักษณะของผิวโลกหรือ
พื้นที่ทีก่ ำหนด พรอมทั้งอธิบายและ บางสวนของพื้นที่บนผิวโลกโดยมี
ยกตัวอยาง การนำไปใชป ระโยชน ทิศทางที่ชัดเจน และมาตราสว นขนาด
ตาง ๆ ตามความเหมาะสมกับการใช
แผนที่ภมู ิประเทศมักแสดงเสน ชั้นความ
สูงและคำอธิบายสัญลักษณตางๆ ท่ี
ปรากฏในแผนท่ี
แผนที่ธรณีวิทยา เปนแผนที่แสดง
การกระจายตัวของหินกลุม ตางๆ ที่โผล
ใหเห็นบนพื้นผิวโลก ทำใหทราบถึง
ขอบเขตของหินในพื้นที่ นอกจากนี้ ยัง

แสดงลักษณะการวางตัวของชั้นหิน
ซากดึกดำบรรพ และธรณีโครงสรา ง

Pedagogy

ส่ือการเรียนรรู ายวิชาเพมิ่ เตมิ ชวี วิทยา ม.4 ผูจดั ทำไดออกแบบการสอน (Instructional Design) อัน
เปนวิธีการจัดการเรียนรูและเทคนิคการสอนที่เปยมดวยประสิทธิภาพและมีความหลากหลายใหกับผูเรียน
เพื่อใหผูเ รียนสามารถบรรลุผลสัมฤทธิ์ตามมาตรฐานการเรียนรูและตัวชีว้ ัด รวมถึงสมรรถนะและคุณลักษณะ
อันพึงประสงคของผูเรียนที่หลักสูตรกำหนดไว โดยครูสามารถนำไปใชจัดการเรียนรูในชั้นเรียนไดอยางมี
ประสิทธิภาพ ซึ่งในรายวิชานี้ ไดนำรูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู (5Es Instructional Model)
มาใชใ นการออกแบบการสอน ดังน้ี

รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู (5Es Instructional Model)

ดวยจุดประสงคของการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร
เพือ่ ชวยใหผ ูเ รียนไดพ ฒั นาวิธคี ดิ ทง้ั ความคิดเปน เหตุเปน ผล คิด
สรางสรรค คดิ วิเคราะห วิจารณ มที กั ษะสำคัญในการคนควาหา
ความรู และมีความสามารถในการแกปญหาอยางเปนระบบ
ผูจัดทำจึงไดเลือกใชรูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู
(5Es Instructional Model) ซึ่งเปนขั้นตอนการเรียนรูที่มุงให
ผูเรยี นไดมโี อกาสสรางองคความรูดวยตนเองผานกระบวนการ
คิดและการลงมือทำ โดยใชกระบวนการทางวิทยาศาสตรเปน
เครื่องมือสำคัญเพื่อการพัฒนาทักษะกระบวนการทาง
วิทยาศาสตร และทักษะการเรยี นรแู หงศตวรรษท่ี 21

วธิ ีสอน (Teaching Method)

ผูจัดทำเลือกใชวิธีสอนที่หลากหลาย เชน การทดลอง การสาธิต การอภิปรายกลุมยอย เปนตน
เพื่อสงเสริมการเรียนรูรูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู (5Es Instructional Model) ใหเกิด
ประสิทธภิ าพมากที่สุด ซึ่งจะเนนใชวิธสี อนโดยใชการทดลองมากเปนพิเศษ เนื่องจากเปนวิธีสอนที่มุง
พฒั นาใหผูเรียนเกิดองคความรูจากประสบการณต รงโดย การคดิ และการลงมอื ทำดวยตนเอง อันจะชวย
ใหผูเ รยี นมีความรูและเกิดทกั ษะทางวิทยาศาสตรท ่คี งทน

เทคนิคการสอน (Teaching Technique)

ผูจัดทำเลือกใชเทคนคิ การสอนทีห่ ลากหลายและเหมาะสมกับเร่ืองทเ่ี รียน เพื่อสงเสริมวธิ ีสอนใหม ี
ประสทิ ธิภาพมากขึ้น เชน การใชคำถาม การเลนเกม เพื่อนชวยเพื่อน เปน ตน ซึ่งเทคนคิ การสอนตางๆ
จะชวยใหผูเรียนเกิดการเรียนรูอยางมีความสุขในขณะที่เรียนและสามารถปฏิบัติกิจกรรมไดอยางมี
ประสทิ ธิภาพ รวมทัง้ ไดพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21 อีกดวย

โครงสรางการจดั การเรียนรู โลก ด

หนว ยการเรยี นรู แผนการจดั การเรียนรู แนวคดิ /รปู แบบการสอน/
1. ทรพั ยากรธรณี แผนฯ ที่ 1 แร วธิ กี ารสอน/เทคนิค

แบบสบื เสาะหาความรู
(5Es Instructional Model)

แผนฯ ที่ 2 หิน แบบสืบเสาะหาความรู
(5Es Instructional Model)

ดาราศาสตร และอวกาศ ม.4 เลม 2

เวลา 40 ชัว่ โมง

ทกั ษะทไ่ี ด การประเมิน เวลา
(ชั่วโมง)

- ทกั ษะการสงั เกต - ตรวจแบบทดสอบกอ นเรียน 8
- ทกั ษะการสำรวจคนหา - ตรวจแบบฝก หัด
- ทกั ษะการนำความรไู ปใช - ตรวจใบงานที่ 5.1 เร่อื ง พจนานกุ รม
- ทกั ษะการสรปุ ลงความเหน็ แรฉบับยอ
- ตรวจใบงานที่ 5.2 เร่อื ง วงศแ ร

- สังเกตพฤติกรรมการทำงาน
รายบุคคล
- สงั เกตพฤติกรรมการทำงานกลุม
- สงั เกตความมวี นิ ยั ใฝเ รยี นรู
และมุงมน่ั ในการทำงาน

- ทกั ษะการสังเกต - ตรวจแบบฝก หัด 8
- ทกั ษะการสำรวจคน หา - ตรวจใบงานที่ 5.3 เรื่อง
- ทกั ษะการนำความรไู ปใช การใชป ระโยชนจากหิน
- ทักษะการสรุปลงความเหน็ - สังเกตพฤตกิ รรมการทำงาน
รายบคุ คล
- สังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุม
- สังเกตความมีวนิ ยั ใฝเรยี นรู
และมงุ ม่ันในการทำงาน

หนว ยการเรยี นรู แผนการจัดการเรยี นรู แนวคดิ /รปู แบบการสอน/
แผนฯ ท่ี 3 ปโ ตรเลยี ม วธิ ีการสอน/เทคนิค

แบบสบื เสาะหาความรู
(5Es Instructional Model)

แผนฯ ท่ี 4 ถานหนิ แบบสืบเสาะหาความรู
(5Es Instructional Model)

ทักษะทไ่ี ด การประเมิน เวลา
- ทกั ษะการสังเกต (ชว่ั โมง)
- ทักษะการสำรวจคน หา - ตรวจแบบฝกหัด
- ทกั ษะการทดลอง - ตรวจใบงานที่ 5.4 เรื่อง 5
- ทกั ษะการนำความรไู ปใช การใชประโยชนจาก
- ทกั ษะการสรุปลงความเห็น ผลิตภัณฑป โ ตรเลยี ม 4
- ตรวจผงั มโนทัศน เรอ่ื ง ปโ ตรเลยี ม
- ทักษะการสงั เกต - ประเมินการปฏบิ ัติการ
- ทกั ษะการสำรวจคน หา - ประเมนิ การนำเสนอผลงาน
- ทักษะการนำความรูไปใช - สังเกตพฤติกรรมการทำงาน
- ทกั ษะการสรปุ ลงความเหน็ รายบุคคล
- สังเกตพฤติกรรมการทำงานกลมุ
- สงั เกตความมวี ินยั ใฝเรยี นรู

- ตรวจแบบทดสอบหลงั เรยี น
- ตรวจแบบฝกหัด
- ตรวจผังมโนทัศน เรื่อง
ทรพั ยากรธรณี
- ตรวจรายงาน เรื่อง
ถา นหนิ กบั การผลติ กระแสไฟฟา
- ประเมนิ การนำเสนอผลงาน
- สงั เกตพฤติกรรมการทำงาน
รายบุคคล
- สงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานกลมุ
- สังเกตความมวี ินยั ใฝเรยี นรู

หนว ยการเรียนรู แผนการจดั การเรียนรู แนวคดิ /รปู แบบการสอน/
2. แผนท่ี แผนฯ ท่ี 1 แผนทภ่ี ูมิประเทศ วธิ กี ารสอน/เทคนิค

แบบสบื เสาะหาความรู
(5Es Instructional Model)

แผนฯ ท่ี 2 แผนทธ่ี รณวี ทิ ยา แบบสืบเสาะหาความรู
(5Es Instructional Model)

ทักษะทไ่ี ด การประเมนิ เวลา
- ทกั ษะการสังเกต (ช่ัวโมง)
- ทักษะการสำรวจคน หา - ตรวจแบบทดสอบกอนเรยี น
- ทกั ษะการทดลอง - ตรวจแบบฝกหัด 8
- ทกั ษะการนำความรไู ปใช - ตรวจใบงานท่ี 6.1 เรื่อง
- ทกั ษะการสรปุ ลงความเหน็ การสรา งแผนทภ่ี ูมปิ ระเทศ 7
- ประเมนิ การปฏบิ ตั กิ าร
- ทกั ษะการสงั เกต - ประเมินการนำเสนอผลงาน
- ทกั ษะการสำรวจคนหา - สงั เกตพฤติกรรมการทำงาน
- ทกั ษะการนำความรไู ปใช รายบคุ คล
- ทักษะการสรุปลงความเหน็ - สังเกตพฤติกรรมการทำงานกลมุ
- สงั เกตความมวี นิ ยั ใฝเรียนรู

- ตรวจแบบทดสอบหลงั เรยี น
- ตรวจแบบฝก หัด
- ตรวจใบงานที่ 6.2 เรอื่ ง
การอานแผนท่ธี รณีวิทยา
- ประเมินการนำเสนอผลงาน
- สังเกตพฤตกิ รรมการทำงาน
รายบุคคล
- สังเกตพฤตกิ รรมการทำงานกลมุ
- สงั เกตความมีวินยั ใฝเรียนรู
และมงุ ม่นั ในการทำงาน

สดั สวนคะแนนการวัดผลประเมินผล

กำหนดมาตรฐานการเรียนรู หนวยการเรยี นรู
ผลการเรียนรูตามตัวชี้วดั /จุดประสงค

คะแนนท่ีประเมนิ

ชอื่ หนวย ชัว่ โมง จุดประสงคก ารเรียนรู ความ ูร
ทักษะกระบวนการ
คุณธรรมจริยธรรม
รวมคะแนนเ ็กบ
คะแนนกลางภาค
คะแนนปลายภาค
รวมคะแนน ั้ทงหมด

1. ทรัพยากรธรณี 8 1.1 แร K P A 30 20 20 100
8 1.2 หิน 3 5 2 10 8 - 18
1. ทรพั ยากรธรณี 4 1.3 ปโ ตรเลยี ม 3 5 2 10 8 - 18
2. แผนที่ คะแนนรวมหนวยท่ี 1 (กอ นกลางภาค) 3 5 2 10 4 - 14
คะแนนเกบ็ และคะแนนกลางภาค 9 15 6 20 20 - 50
1 1.3 ปโตรเลยี ม 9 15 6 30 20 - 50
4 1.4 ถานหิน 1 - 12- - 2
คะแนนรวมหนว ยท่ี 1 (หลังกลางภาค) 8 - 2 10 - 8 18
8 2.1 แผนทภี่ มู ปิ ระเทศ 9 - 3 12 - 5 20
7 2.2 แผนท่ีธรณวี ิทยา 3 4 1 8 - 7 15
5 5 - 10 - 5 15
คะแนนรวมหนว ยที่ 2 8 - 1 18 - 20 30
คะแนนเกบ็ และคะแนนปลายภาค 17 9 4 30 - 20 50

อัตราสว นระหวา งภาค : ปลายภาค 60 : 40 คะแนน
คะแนนระหวา งภาค 60 คะแนน
คะแนนสอบกลางภาค 20 คะแนน
คะแนนสอบปลายภาค 20 คะแนน
รวมคะแนนทัง้ สน้ิ 100 คะแนน

ขอ ตกลงในการวัด – ประเมินผล
รายวชิ า โลก ดาราศาสตร และอวกาศ รหัสวชิ า ว30268

รายละเอียดในการวัด – ประเมนิ ผล
คะแนนเก็บระหวา งภาค : คะแนนปลายภาค = 80 : 20
อตั ราสว น คะแนน K : P : A = 40 : 50 : 10

โดยมรี ายละเอียด ดังน้ี

การประเมนิ คะแนน วิธวี ดั เครอ่ื งมอื วัด ผลการเรียนรู เวลาท่ใี ช
กอ นกลางภาค 25 ขอ 1 - 4 ตลอดภาคเรยี น
คณุ ลักษณะฯ 5 ชิ้นงาน แบบประเมิน
กลางภาค 20 และทดสอบ ช้ินงาน คุณลกั ษณะฯ ตลอดภาคเรยี น
หลังกลางภาค 25 ทั้ง ๘ ขอ 30 นาที
คณุ ลกั ษณะฯ 5 สังเกต แบบประเมิน
ปลายภาค 20 พฤติกรรม พฤติกรรม ขอ 1 - 4

รวม ทดสอบ แบบทดสอบ ขอ 4 - 5 ตลอดภาคเรยี น
จำนวน 20 ขอ
คณุ ลกั ษณะฯ ตลอดภาคเรียน
ชน้ิ งาน แบบประเมนิ ทัง้ ๘ ขอ 30 นาที
และทดสอบ ช้ินงาน
สังเกต แบบประเมิน ขอ 4 - 5
พฤติกรรม พฤติกรรม

ทดสอบ แบบทดสอบ
จำนวน 20 ขอ

100 คะแนน

กำหนดภาระงาน
รายวิชา โลก ดาราศาสตร และอวกาศ รหัสวิชา ว30268 ไดกำหนดใหนักเรียนทำกิจกรรม/

ปฏบิ ัติงาน (ภาระงาน) ดงั น้ี

ท่ี ชือ่ งาน ผลการ ประเภทงาน กำหนดสง
เรยี นรู กลมุ เด่ียว
1 ใบกิจกรรม พจนานุกรมแรฉบับยอ
2 ใบกจิ กรรม วงศแ ร ขอ 1 / ตน เดือนพฤศจิกายน
3 ใบกิจกรรม การใชป ระโยชนจ ากหนิ
4 ใบกิจกรรม การใชป ระโยชนจ ากผลติ ภณั ฑ ขอ 1 / ปลายเดอื นพฤศจกิ ายน

ปโ ตรเลยี ม ขอ 2 / ตนเดอื นธันวาคม
5 ใบกิจกรรม ผงั มโนทศั น เรอ่ื ง ปโตรเลยี ม
6 ใบกิจกรรม ผงั มโนทศั น เรอื่ ง ทรัพยากรธรณี ขอ 3 / กลางเดอื นธนั วาคม
7 ใบกิจกรรม การสรา งแผนทภ่ี ูมิประเทศ
8 ใบกจิ กรรม การอา นแผนท่ีธรณวี ทิ ยา ขอ 3 / ปลายเดือนธนั วาคม

ขอ 5 / ตน เดอื นมกราคม

ขอ 5 / กลางเดอื นมกราคม

ขอ 5 / ปลายเดือนมกราคม

หากนกั เรยี นขาดสง งาน จำนวน 4 ชิน้ ขึ้นไป และมีคะแนนตลอดภาคเรียนไมถงึ 50 คะแนน จะ
ไดรับผลการเรยี น “ ร ” ในรายวิชานี้

ลงช่ือ ครปู ระจำวชิ า ลงชื่อ หัวหนากลมุ สาระฯ

(นางสาวเตชนิ ี ภริ มย) (นางสาวจรยิ า ยงกำลงั )

ลงชือ่ หัวหนา กลมุ งานวิชาการ ลงชือ่ ผอู ำนวยการสถานศึกษา

(นางสาวรจุ ิรา บวั ลอย) (นางจิราพร อนิ ทรทัศน)

เงอื่ นไขและขอตกลงเบ้ืองตน
วิชา โลก ดาราศาสตร และอวกาศ ระดบั ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปท ี่ 4

ครเู ตชินี ภิรมย

1. การเขาชั้นเรียน นักเรียนทุกคนจะตองเขาชั้นเรียนอยางนอยรอยละ 80 ของเวลาเรียนทั้งหมด
นั่นหมายถงึ มเี วลาเรยี น 40 ชัว่ โมงหรอื 40 คร้ัง นกั เรยี นขาดเรยี นไดไ มเกนิ 8 ชวั่ โมงหรือ 8 คร้งั

2. การเขาหอ งเรียนสาย นกั เรียนท่ีเขา หอ งเรยี นสาย 2 ครั้ง (โดยไมม เี หตผุ ลสมควร) จะปรับเปนขาดเรียน
๑ ครั้ง หากเขาหองสายติดตอกัน 4 ครั้งโดยไมมีเหตุผลสมควร ครูผูสอนจะรายงานครูที่ปรึกษา
และฝา ยกจิ การนกั เรยี นตอ ไป การสาย หมายถงึ เขา หองเรียนหลงั ครผู สู อน

3. การหนเี รียน นกั เรยี นท่หี นีเรียน จะมบี ทลงโทษดงั นี้

จำนวนคร้งั ทห่ี นี บทลงโทษ หมายเหตุ
บันทกึ ในสญั ญาพฤตกิ รรม
1 วา กลาวตกั เตือน บันทกึ ในสัญญาพฤตกิ รรม
บันทึกในสัญญาพฤตกิ รรม
2 วา กลาวตักเตอื นและรายงานครูท่ปี รึกษา บันทกึ ในสัญญาพฤติกรรม

3 รายงานฝา ยกิจการนกั เรียนและแจง ผปู กครอง

4 รายงานฝายกจิ การนกั เรียนและผอู ำนวยการ

4. การรายงานผลการเรียนระหวางภาคเรียน กรณีนักเรียนขาดความตั้งใจเรียน เหมอลอย ไมสนใจ
และมีแนวโนมผลการเรียนไมดีหรือออน ครูผูสอนจะรายงานใหผูปกครองรับทราบเปนรายกรณี ๆ
แลวแตส ภาพของนกั เรยี นแตล ะคน

5. หนังสือเรียนและสมุดในรายวิชาโลก ดาราศาสตร และอวกาศ ที่ครูเตชินี ภิรมย เปนผูสอน

นักเรียนตองมีและตองนำมาในชั่วโมงเรยี นทุกครั้งที่มีการเรียนการสอน หากนกั เรียนไมนำมาอยางใด

อยา งหน่ึง จะมีบทลงโทษดงั น้ี

จำนวนครัง้ ทไ่ี มนำหนังสือเรยี น บทลงโทษ หมายเหตุ

หรือสมดุ มาในช่ัวโมงเรยี น

1 - 2 วากลา วตักเตอื น

3 - 4 วากลา วตกั เตอื นและลงโทษลุกน่ัง 10 คร้ัง

5 - 6 วากลาวตักเตือนและลงโทษลุกนงั่ 20 ครง้ั บันทกึ ในสัญญาพฤติกรรม

7 - 8 วากลา วตกั เตอื นและลงโทษลุกนัง่ 40 ครง้ั บันทึกในสัญญาพฤติกรรม

9 - 10 วากลาวตกั เตอื นและลงโทษลุกน่ัง 80 ครง้ั บนั ทกึ ในสญั ญาพฤติกรรม

มากกวา 10 ครั้ง ดำเนนิ การแจงผปู กครอง บันทึกในสัญญาพฤติกรรม

หมายเหตุ กรณีมกี ารจัดการเรยี นการสอนในรปู แบบออนไลน นักเรยี นสามารถดูส่อื การเรียนท่ีครสู อนแทนและทำกิจกรรมบนระบบเครอื ขา ยอนิ เทอรเ นต็ แทนสมุดได

6. อปุ กรณเ สริมทน่ี กั เรียนทุกคนควรมี
6.1 ปากกาน้ำเงิน ,แดง , ดินสอ , สี , ไมบรรทดั และยางลบ เพ่ือใชในการทำกิจกรรมในการเรียน
แตล ะคาบ
6.2 แฟม สำหรบั เกบ็ ช้นิ งานและจัดทำเปนแฟมสะสมงานตอไป

7. สมุดบันทึกการสั่งงาน นักเรียนทุกคนที่เรียนวิชาโลก ดาราศาสตร และอวกาศ จะตองมีสมุดบันทึก
การสั่งงาน โดยนักเรยี นสามารถบันทกึ การส่ังงานไดทุกรายวชิ าท่ีเรยี น (กรณีมกี ารจัดการเรียนการสอน

ในรปู แบบออนไลน นักเรยี นตอ งเขา รว มชั้นเรียนผา น Google Classroom ทุกคน)

8. ระดับผลการเรยี น นักเรยี นทุกคนท่ีเรียน ครผู ูสอนจะมีสดั สวนการใหผลการเรยี น ดงั น้ี
ระดบั 1 นักเรียนสงงาน 50 % - 59% มีเวลาเรียนครบตามเกณฑที่กำหนด คือ รอยละ 80

ไมห นหี ายไปโดยไมมเี หตุผลสมควร และทำงานแบบไมตัง้ ใจ ชิ้นงานอาจไมดีหรือมสี วนท่ีตองปรับปรุงเยอะ
ระดบั 2 นักเรียนสงงาน 60% - 69 % มีเวลาเรียนครบตามเกณฑที่กำหนด คือ รอยละ 80

และไมหนีหายไปโดยไมมีเหตุผลสมควร และทำงานดวยความตั้งใจ แตชิ้นงานอาจไมดีหรือมีสวนที่ตอง
ปรบั ปรงุ เยอะ

ระดับ 3 และ ระดบั 4 นักเรยี นสงงาน 70% - 100% และมผี ลงานดี มคี ณุ ภาพ

9. สัดสว นคะแนนและเกณฑการประเมนิ

คะแนนระหวา งภาค : ปลายภาค 80 : 20

เกณฑการประเมินผลสมั ฤทธิ์

คะแนน 0 – 49 ไดผ ลการเรียน 0
1
50 – 54 ไดผลการเรยี น 1.5

55 – 59 ไดผลการเรียน 2
2.5
60 – 64 ไดผลการเรียน 3
3.5
65 – 69 ไดผลการเรยี น 4

70 – 74 ไดผลการเรยี น

75 – 79 ไดผลการเรียน

80 ข้ึนไป ไดผ ลการเรยี น

(นางสาวเตชินี ภิรมย)
ครผู ูสอน

ผปู กครองรบั ทราบและแสดงความคิดเหน็

........................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................

(....................................................)

ผปู กครอง............................................................

กาํ หนดการสอน

รายวชิ า โลก ดาราศาสตร และอวกาศ (ว30268)
ภาคเรียนท่ี 2 ปก ารศกึ ษา 2564

โรงเรยี นวงั หนิ วทิ ยาคม

สํานกั งานเขตพื้นท่ีการศกึ ษามัธยมศกึ ษา นครศรธี รรมราช
สํานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร


Click to View FlipBook Version