The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by teachinee.phi, 2021-10-19 09:07:16

รายงานวิจัยในชั้นเรียน ภาคเรียน 2 ปี 2561

ภาคเรียน 2 ปีการศึกษา 2561

วจิ ยั ในช้ันเรียน

การพฒั นาผลสัมฤทธท์ิ างการเรียน
วชิ าการเขยี นเวบ็ เพจดว ยภาษา HTML
โดยการเรียนรรู ว มกนั แบบเพอ่ื นชวยเพ่ือน (Peer Tutoring Method)
ของนกั เรียนระดบั ช้นั มธั ยมศึกษาปที่ 5 หอง 1

ภาคเรยี นที่ 2 ปก ารศึกษา 2561
โรงเรยี นปลายพระยาวทิ ยาคม จงั หวัดกระบ่ี

โรงเรียนปลายพระยาวิทยาคม จงั หวัดกระบ่ี

งานวจิ ัยในชั้นเรยี นของกลมุ สาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี (สาระคอมพวิ เตอร)

ภาคเรียนท่ี 2 ปก ารศกึ ษา 2561
นางสาวเตชินี ภิรมย





ชื่อเร่ือง การศึกษางานวิจัย เร่ือง การพัฒนาผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี น
วิชาการเขยี นเวบ็ เพจดว ยภาษา HTML โดยการเรียนรูรว มกัน
ช่ือผวู ิจยั /ตาํ แหนง แบบเพ่ือนชวยเพ่อื น (Peer Tutoring Method) ของนกั เรียนระดบั ชน้ั
วุฒิการศึกษา มัธยมศกึ ษาปท ่ี 5 หอง 1 ภาคเรยี นท่ี 2 ปก ารศึกษา 2561
สถานศกึ ษาที่สงั กดั
การติดตอผวู จิ ยั โรงเรียนปลายพระยาวิทยาคม จังหวัดกระบ่ี
ปทท่ี ําวิจัยเสรจ็ นางสาวเตชนิ ี ภริ มย ครูกลมุ สาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี
ลักษณะกลุมงานวจิ ัย วทิ ยาศาสตรมหาบณั ฑิต (วท.ม)
โรงเรยี นปลายพระยาวิทยาคม
075 687 020

มนี าคม 2562
กลุมการเรยี นการสอน

บทคดั ยอ
การวิจัยชั้นเรียน เรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน วิชาการเขียนเว็บเพจดวยภาษา
HTML โดยการเรียนรูรวมกันแบบเพ่ือนชวยเพ่ือน (Peer Tutoring Method) ของนักเรียนระดับชั้น
มัธยมศึกษาปที่ 5 หอง 1 ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2561 โรงเรียนปลายพระยาวิทยาคม จังหวัด
กระบี่ จํานวน 2 หอง รวมนักเรียน 55 คน โดยเลือกกลุมตัวอยางเปนนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5
หอ ง 1 แบบเจาะจง จํานวน 17 คน เครื่องมือท่ีใชในการวิจัย แบบบันทึกการเขาพบปรึกษาอาจารย

ผูสอน แบบทดสอบยอย จาํ นวน 2 ชุด และแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีตอการเรียน
ในรูปแบบการเรยี นรรู ว มกนั แบบเพอื่ นชวยเพ่ือน (Peer Tutoring Method)

ผลการวิจัย พบวา กลวิธีการเรียนรูแบบเพื่อนชวยเพ่ือน “การสอนโดยการจับคู (One-to-
One Tutoring)” โดยใหนกั เรยี นที่มคี ะแนนสอบยอยครั้งที่ 1 มากกวา 5 คะแนน (ผูท ี่มีความสามารถ
ทางการเรียนสูงกวา) จับคูกับนักเรียนกลุมตัวอยาง ทําหนาที่ชวยสอน และเขาพบปรึกษาอาจารย
ผูสอนรวมกัน สงผลใหนักเรียนกลุมตัวอยางที่มีความสามารถทางการเรียนต่ํา เขาใจเน้ือหา และ
สามารถทําขอสอบไดดีข้ึน ดานผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนกอนและหลังการเรียนรูแบบเพื่อนชวยเพื่อน
พบวา รอ ยละ 100 ของกลุมตัวอยางมีผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนแบบเพื่อนชวยเพ่ือนสูงกวา
กอ นการเรยี นแบบเพอื่ นชวยเพื่อน (เปรยี บเทียบจากคะแนนสอบยอยคร้ังท่ี 1 กับคะแนนสอบยอย
คร้งั ที่ 2) พบวา คาเฉล่ียมีคาเพ่มิ ขึ้นจากคะแนนสอบยอยครั้งที่ 1 เทากับ 1.82 ของกลุมตัวอยางมี

ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังการเรียนแบบเพ่ือนชวยเพื่อนสูงกวากอนการเรียน และนักเรียนมีความ
พึงพอใจตอการเรียนแบบเพอื่ นชว ยเพ่ือนอยูในระดับมาก และเมื่อแยกเปนรายขอพบวา นักเรียนมี
ความพึงพอใจจากมากไปนอย คือ เกิดความชวยเหลือซึ่งกันและกัน สงชิ้นงานไดอยางมีคุณภาพ
สงเสรมิ การคดิ วิเคราะห และการตัดสินใจ อีกท้ังทําใหนักเรียนเขาใจเนื้อหาและฝกปฏิบัติไดมากข้ึน
และสงเสรมิ ใหน กั เรยี นไดแ ลกเปลย่ี นความรู ความคิด การเรียนรรู วมกนั ตามลาํ ดบั



คาํ นาํ

รายงานการวิจัยฉบับนี้เปนการวิจัยในช้ันเรียน เกี่ยวกับการพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการ
เรียน วิชาการเขียนเว็บเพจดวยภาษา HTML โดยการเรียนรูรวมกันแบบเพ่ือนชวยเพื่อน (Peer
Tutoring Method) ของนกั เรยี นระดับชน้ั มธั ยมศกึ ษาปท่ี 5 หอง 1 ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2561
โรงเรยี นปลายพระยาวิทยาคม จังหวัดกระบ่ี ซง่ึ การวิจัยในคร้ังน้ีไดใ ชก ิจกรรมคุณภาพดวยการเรียนรู
รวมกันแบบเพ่ือนชวยเพื่อน และนําขอมูลจากการเรียนกอนเรียนเปรียบเทียบกับหลังเรียน เพื่อหา
ผลสัมฤทธิท์ างการเรยี น เพอื่ แกป ญหาการเรยี นการสอนและเพิม่ ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนของนกั เรยี น

ผูวิจัยหวังวาการวิจัยคร้ังน้ี มีประโยชนส ําหรับผูอานทุกทาน หากมขี อผิดพลาด ผูวิจัย
ยนิ ดีรบั ฟงขอ เสนอแนะ เพอ่ื พฒั นา ปรบั ปรุงการวจิ ัยในโอกาสตอ ไป

เตชินี ภริ มย
ผวู ิจัย

สารบญั ค

บทคดั ยอ หนา
คํานํา
สารบัญ ก
สารบัญภาพ ข
สารบญั ตาราง ค
บทท่ี 1 บทนาํ จ

1.1 ความสําคัญและทีม่ าของปญหาท่ที าํ การวิจัย
1.2 วตั ถุประสงคของการวจิ ัย 1
1.3 ขอบเขตของการวจิ ยั 2
1.4 ระยะเวลาทําการวิจัย และแผนการดําเนนิ งานตลอดการวิจัย 2
1.5 สมมตุ ฐิ านของโครงการวิจยั 3
1.6 นิยามศพั ท 3
บทที่ 2 เอกสารและทฤษฎที ่ีเกีย่ วของ 3
2.1 ภาษา HTML
2.2 แนวคิดและทฤษฎที เี่ กยี่ วขอ งกบั Peer-Assisted Learning 4
2.3 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น 6
2.4 งานวิจยั ที่เกีย่ วของ 11
บทที่ 3 ระเบยี บวธิ ีวจิ ัย 12
3.1 ประชากรและกลุมตวั อยาง
3.2 กรอบแนวคิดการวจิ ัย 10
3.3 การสรา งเคร่ืองมือ 10
3.4 เครอ่ื งมอื ที่ใชใ นการวิจยั 11
3.5 การรวบรวมขอมูล 11
3.6 การวิเคราะหขอ มลู 11
บทที่ 4 ผลการวเิ คราะหข อ มูล 12
ตอนท่ี 1 ขอมูลของกลุมตวั อยาง
ตอนที่ 2 ขอมลู ของเพ่ือนชวยเพ่ือน 14
ตอนท่ี 3 ผลการเรยี นหลงั ใชการเรยี นแบบเพ่ือนชว ยเพอ่ื น 15
ตอนท่ี 4 ความพึงพอใจของนักเรยี นที่มีตอการเรยี นแบบเพ่ือนชว ยเพอ่ื น 15
17
ในรายวชิ าการเขียนเว็บเพจดว ยภาษา HTML

สารบัญ (ตอ ) ง

บทที่ 5 สรปุ ผลการวิจยั อภิปรายผล และขอเสนอแนะ หนา
5.1 สรปุ ผลการวิจัย
5.2 อภิปรายผล 18
5.3 ขอเสนอแนะ 18
19
บรรณานกุ รม
ภาคผนวก 23
ภาคผนวก ก แบบบันทึกการเขาพบปรึกษาอาจารยผ ูสอน 25
ภาคผนวก ข แบบทดสอบ 30
ภาคผนวก ค แบบสอบถามความพงึ พอใจของนักเรียนท่ีมตี อการเรียนในรูปแบบ

การเรยี นรูรวมกนั แบบเพ่ือนชว ยเพ่อื น (Peer Tutoring Method)

สารบัญภาพ จ

ภาพประกอบท่ี หนา
ภาพท่ี 2.1 การตดิ ตอสอ่ื สารผาน เวิลดไวดเวบ็
ภาพท่ี 2.2 ตัวอยา งการเขียนภาษา HTML ดว ยโปรแกรม Notepad 4
ภาพท่ี 2.3 ตวั อยางการเปดดูเอกสาร HTML ดวยโปรแกรม Internet Explorer 5
ภาพท่ี 3.1 กรอบแนวคิดการวิจัย 6
11

สารบัญตาราง ฉ

ตารางที่ หนา
4.1 รายชื่อนักเรยี นท่สี อบยอย คร้ังที่ 1 ไมผา น
4.2 การจับคขู องกลมุ ตวั อยางและเพือ่ น 14
4.3 เปรียบเทยี บคะแนนสอบยอ ยคร้งั ท่ี 1 กบั คร้ังท่ี 2 15
4.4 แสดงความพึงพอใจของนักเรยี นทม่ี ตี อการเรยี นแบบเพื่อนชวยเพ่อื น 16
ในรายวิชาการเขยี นเวบ็ เพจดวยภาษา HTML 17

บทที่ 1
บทนาํ

1.1 ความสาํ คญั และทม่ี าของปญ หาท่ที ําการวจิ ัย
กระแสการเปล่ียนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจ การเมือง ประเทศชาติ และโลกไมวาจะเปน

ดา นใดมีผลใหเ กิดเหตกุ ารณตา ง ๆ มากมายตามมาทั้งดานดแี ละไมดี โดยเฉพาะกระแสของเทคโนโลยี
วิทยาการตาง ๆ กาวหนาอยางรวดเร็ว ทุกยางกาวรุดหนาจนตามไมทันชนิดที่เรียกวา “กะพริบตา
ไมไ ด” คํากลาวท่ีวา “นาฬกิ าเดินไปวินาทีเดยี วคุณกล็ าสมัยแลว” เห็นจะเปนความจริง ในยุคขอมลู
ขาวสารไรพรมแดน ขาวเหตุการณความรูตาง ๆ สามารถกดดูไดที่หนาจอคอมพิวเตอร แมแตขาว
เหตกุ ารณท่เี กิดขึ้นประจําวัน หนังสือพิมพยังไมไ ดออกจําหนาย แตก็สามารถกดดูทางอินเทอรเนต็ ได
น่คี ือความเจริญ ความเปลยี่ นแปลงท่ีเราไมอ าจปฏิเสธได (สําลี รกั สทุ ธ์ิ, 2544 : 5-6)

ความเปลยี่ นแปลงดงั กลา วทําใหเ กิดกระแสเรียกรองใหเกิดการปฏิรูปการศกึ ษาข้ึน เนื่องจาก
การศึกษาเปน หัวใจของการพัฒนาประเทศและเปนปจจัยท่สี าํ คัญในการพัฒนาทรัพยากรมนุษยอยาง
แทจริง เพราะผูคนตางเช่ือวาการศึกษา คือ พลังขับเคลื่อนและสรางสรรคสังคม ประเทศชาติให
เปลี่ยนแปลงไปตามความตองการของสังคม น่ันคอื ผูเรียนซึ่งเปน ผลิตผลโดยตรงของการศึกษาใหมี
คุณลักษณะ มีศักยภาพ และความสามารถที่จะพัฒนาตนเอง และสังคมไปสูความสําเร็จไดตาม
เปาหมาย

จากกระแสของการปฏิรปู การศึกษา การจัดการศกึ ษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ
พ.ศ.2542 และท่ีแกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 มาตรา 15 มีจุดเนนที่แตกตางกันไปตาม
หลักสูตรของระดับการศึกษา และในมาตรา 23 ยังไดระบุวา การจัดการศึกษาทุกรูปแบบตองเนน
ความสาํ คัญ ท้งั ความรู คุณธรรม จรยิ ธรรม กระบวนการเรียนรแู ละบูรณาการตามความเหมาะสมของ
แตละระดับ สวนการจัดการศึกษาตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2544 น้ันมุงเนน
ความสําคัญทั้งดานความรู ความคิด ความสามารถ คุณธรรม จริยธรรม กระบวนการเรียนรู และ
ความรบั ผิดชอบตอสังคม โดยยึดหลักผูเรียนสําคญั ที่สุด ทุกคนสามารถเรียนรู และพัฒนาตนเองได
ตามธรรมชาติ และเตม็ ศักยภาพ เนนการเรียนรูจากประสบการณจรงิ การฝกทักษะการคิด การเผชิญ
สถานการณแ ละการประยุกตความรูม าใช ( กรมวชิ าการ , 2544)

การจัดการเรยี นการสอน ครูจะตอ งใหความสาํ คญั กบั ผูเรยี นคํานงึ ถึงความตอ งการของผูเรียน
และพยายามสอนโดยใหนักเรียนมีสวนรวมในการแกปญหาตาง ๆ และไดทํากิจกรรมรวมกัน การ
เรียนการสอน จึงมีความจําเปนอยางยิ่งที่ครูจะตองมีการจัดการเรียนการสอนเพื่อใหนักเรียนมีสวน
รว มในการเรียนมากท่ีสดุ และมีการสนับสนนุ ใหมีการชว ยเหลือกันในดานการเรยี นในชนั้ เรียน โดยท่ี
เด็กเกงสามารถชวยเหลือเด็กออน มีความสามัคคีกัน รักกัน และเห็นอกเห็นใจกัน (สุรางค
โควตระกูล, 2547) การเรียนการสอนที่ใหนักเรยี นท่ีมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงสอนเพ่ือนนกั เรียนที่
มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นตา่ํ เรียกวา “การสอนโดยเพ่ือนชวยเพ่ือน” (Peer Tutoring)

รายวิชาการสรางเวบ็ เพจดวยภาษา HTML เปนภาษาคอมพิวเตอรรูปแบบหนึ่งท่ีมีโครงสราง
การเขียนโดยอาศัยปายระบุ (tag) หรือคําส่ังสําหรับการควบคุมการแสดงผลขอความ รูปภาพ หรือ
วัตถุ ผานโปรแกรมเว็บบราวเซอร ซึ่งจะประกอบไปดวยทฤษฎีและหลักการออกแบบ ขั้นตอน

2

กระบวนการสรา งเว็บเพจต้ังแตเร่ิมตน โดยใชในการเขียน Code ในการสรางเว็บเพจ ผูสอนมักจะ
ประสบปญหาตาง ๆ เชน นักเรียนไมเขาหองเรียนสมํ่าเสมอ เน้ือหามากและยาก การสอนจะตองใช
เวลามาก ซ่ึงเวลาไมเพียงพอตอการเรียนในแตละชั่วโมง จึงทําใหผเู รียนมีผลสัมฤทธิท์ างการเรียนใน
รายวชิ าดงั กลา วไมด เี ทาทีค่ วร นอกจากนี้แลวผูเรยี นแตล ะกลมุ มีคุณสมบัติที่แตกตางกัน เชน การรบั รู
และเขา ใจในรายวิชาชาเรว็ ไมเทา กัน ดงั นัน้ การจดั เตรยี มสือ่ การสอน การเลอื กวิธีการจัดกิจกรรมการ
เรยี นรูจึงเปนสงิ่ สาํ คัญตอ คุณภาพของการจัดการเรยี นรูวชิ าการเขยี นเวบ็ เพจดวยภาษา HTML

จากปญหาดงั กลา ว ผูวิจัยในฐานะครูผสู อนจงึ มีความสนใจและเห็นความสาํ คัญในการจัดการ
เรยี นการสอน แนวทางหนง่ึ ท่ีทําใหผ ูเรยี นสามารถเรียนสมั ฤทธิ์ผลและประสบความสําเร็จวธิ หี นึ่ง คือ
วิธีการเรยี นที่เรยี กวา การเรียนรูรวมกันแบบเพื่อนชวยเพ่ือน (Peer Tutoring Method หรือ Peer
Education in Cooperative Learning Workgroups) (Haller, Cynthia R. and others 2000)
ซึ่งเปนวิธีการเรียนแบบชวยเหลือกัน โดยใชกระบวนการทํางานรวมกัน ทําใหผูเรียนไดแลกเปลี่ยน
เรยี นรู ความเขาใจ เน้อื หาวิชาทดี่ ี สามารถนําความรู ไปอธบิ าย แลกเปลี่ยนชวยเพือ่ นท่ีมีผลการเรียน
ออ น ใหม ีผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นทด่ี ีขึน้

1.2 วตั ถุประสงคข องการวิจัย
1) เพือ่ พฒั นารปู แบบการเรยี นเพื่อเออ้ื ตอการเรยี นรู ความเขาใจของนักเรยี น
2) เพ่ือเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนเรียนและหลังเรียนในรูปแบบการเรียนรู

รว มกนั แบบเพอื่ นชวยเพอ่ื น (Peer Tutoring Method)
3) เพ่ือศกึ ษาความพึงพอใจของนักเรียนทม่ี ีตอรูปแบบการเรยี นรูรว มกันแบบเพ่ือนชวยเพ่ือน

(Peer Tutoring Method)

1.3 ขอบเขตของการวจิ ยั
1) กลุมเปาหมายท่ีใชในการวิจัย ไดแก นักเรียนโรงเรียนปลายพระยาวิทยาคม

ชั้นมัธยมศกึ ษาปท่ี 5 ทีล่ งทะเบยี นเรยี นในภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2561 รายวิชาการเขียนเว็บเพจ
ดวยภาษา HTML จํานวน 1 หอ งเรยี น โดยเปน กลมุ ท่ผี วู จิ ัยเปนผสู อน

2) ตวั แปรท่ศี ึกษา
2.1) ตัวแปรตน ไดแก รปู แบบการเรียนรูรวมกันแบบเพ่ือนชวยเพื่อน (Peer Tutoring

Method) รายวิชา การเขียนเวบ็ เพจดวยภาษา HTML
2.2) ตัวแปรตามไดแ ก
2.2.1) ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน
2.2.2) ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีตอรูปแบบการเรียนรูรวมกันแบบเพ่ือนชวย

เพื่อน (Peer Tutoring Method)

3

1.4 ระยะเวลาทาํ การวิจัย และแผนการดาํ เนินงานตลอดการวิจัย

แผนการดาํ เนินงานวจิ ัย เดือนท่ี 1 2 3 4 5

ศกึ ษาเอกสาร ตาํ รา วารสาร และงานวจิ ยั

ศกึ ษาและรวบรวมขอ มลู

การจดั ทําระบบการจัดการเรยี นการสอน

ศึกษาปญหาการเรียนในชัน้ เรียนปกติ

นักเรยี นเรียนรูรวมกนั แบบเพื่อนชว ยเพื่อน

ประเมินผล

สรปุ ผลการวจิ ัย

1.5 สมมุติฐานของโครงการวจิ ัย

การวิจัยคร้ังน้ี ผูวิจัยไดกําหนดสมมติฐานไวดังนี้

1) ผูเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกวากอนเรียนจากการเรียนรูรวมกันแบบเพื่อนชว ย
เพอ่ื น (Peer Tutoring Method)

2) ผูเรียนมีความพึงพอใจตอรปู แบบการเรยี นรรู ว มกนั แบบเพอ่ื นชว ยเพ่อื น (Peer Tutoring
Method) ในระดบั มาก

1.6 นิยามศัพท
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง ความสามารถในการเรียนของนกั เรียนในวิชาการเขียนเว็บเพจดวย

ภาษา HTML ซ่ึงวดั ไดจากคะแนนจากการทําแบบทดสอบกอนและหลังเรียน แบบทดสอบยอยในแตละหัวขอ
แบบประเมนิ การปฏบิ ัตกิ ารทดลอง และแบบประเมินการนาํ เสนอผลงานหนา ชั้นเรียน

ความสามารถในการทํางานรวมกับผูอื่นได หมายถึง พฤติกรรมการเรียนในการทํางานกลุม
ไดแก การชว ยเหลอื กลุม มีความรับผิดชอบ การแสดงความคิดเห็น รับฟงความคิดเห็น และสามารถ
ระบุบทบาทหนาที่ของตนเองในการทํางานรวมกับเพื่อนในกลุมได ต้ังแตวางแผนการทํางาน การ
ดําเนินตามแผนท่วี างไว ตลอดจนการนําเสนอผลงาน ซึง่ สามารถตรวจสอบได โดยการสัมภาษณ แบบ
ประเมนิ ตนเองและเพ่อื นในกลุม ในการทาํ งานเปนกลุม และแผนภาพสังคมมติ ิ

การเรียนแบบรวมมือ หมายถงึ วธิ ีการเรียนท่ีสงเสริมนักเรียนไดรวมมือกันในการเรียนเพื่อ
ชว ยใหเ กดิ การเรียนรูและสามารถทํางานรว มกับผูอ่ืนอยางมีความสุข โดยเนนรูปแบบการตอบทเรยี น
(Jigsaw) และการศึกษาคนควาเปนกลุม (Group Investigation) ท่ีมีการประเมินท้ังดานปรมิ าณและ
คุณภาพ โดยใหผ ูเรยี นมสี ว นรว มในการประเมนิ ดวย

บทที่ 2
เอกสารและทฤษฎีที่เกยี่ วขอ ง

การศึกษางานวิจัย เรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน วิชาการเขียนเว็บเพจดวยภาษา
HTML โดยการเรียนรูรว มกันแบบเพ่ือนชวยเพ่ือน (Peer Tutoring Method) ของนกั เรียนระดับช้ัน
มัธยมศึกษาปที่ 5 หอง 1 ภาคเรยี นที่ 2 ปการศึกษา 2561 มแี นวคิด ทฤษฎี ตลอดจนวรรณกรรมที่
เกีย่ วของซ่งึ เปน แนวทางในการศึกษาอันประกอบดว ย

1. ภาษา HTML
2. แนวคดิ และทฤษฎีที่เกี่ยวของกับ Peer-Assisted Learning
3. ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียน
4. งานวจิ ัยทเี่ ก่ียวขอ ง

2.1 ภาษา HTML

WWW

Client Server
- HTML - PHP
- Style Sheet - ASP
- JavaScript - JSP
- VB Script - PERL
- Java Applet - CGI

ภาพที่ 2.1 การติดตอสอื่ สารผาน เวิลดไวดเว็บ

ภาษา HTML (HyperText Markup Language) เปนภาษาหลักท่ีใชในการสรา งเวบเพจ
(Web Page) เปนภาษาประเภท Markup Language เกิดข้ึนจากการพัฒนาระบบ World Wide
Web ในเดือนมนี าคม 1989 โดยนักวิจัยจากสถาบัน CERN (Conseil European Pour La
Recherche Nucleaire) ซ่ึงเปน หองทดลองในเมืองเจนีวา ประเทศสวิสเซอรแ ลนด ช่อื ทิม เบอร
เนอร - ลี (Tim Berners - Lee) ซึง่ ทิม เบอรเนอร - ลี ไดนําแนวความคดิ ในเร่อื ง Hypertext ของ
Vannevar Bush และ Ted Nelson มาใชเพ่ือกระจายขอมลู ในองค ตอมามีการพัฒนาและกําหนด
มาตรฐานโดยองคกรที่ชอ่ื วา W3C (World Wide Web Consortium)

ภาษา HTML เปนภาษาที่มีลักษณะของขอมูลที่เปนตัวอักษรในมาตรฐานของรหัสแอสกี
(ASCII Code) โดยเขียนอยูใ นรปู ของเอกสารขอความ (Text Document) จึงกําหนดรูปแบบและ

5
โครงสรา งไดงาย ภาษา HTML ไดถ ูกพัฒนาขึ้นอยางตอเนอื่ งต้ังแต HTML Level 1 (รุนด้ังเดิม),
HTML 2.0, HTML 3.0, HTML 3.2 และ HTML 4.0 ซึ่งเปนรุนท่ีนิยมเขียนกันในปจจุบัน (ขณะน้ี
W3C ไดพ ัฒนา HTML 4.01 ออกมาแลว เพื่อลองรบั มาตรฐานภาษา XML) จึงทําใหภาษา HTML ใน
ปจ จุบันสามารถแสดงภาพทางกราฟฟก และระบบเสยี งได เพอื่ ตอบสนองในการทํางานในปจ จุบัน

ภาษา HTML สามารถสรางข้ึนไดจากโปรแกรมสรางไฟลขอความ (Text Editor) ท่ัว ๆ ไป
เชน Notepad หรือ Word Processing ได อีกท้ังงายตอการเรียนรเู พราะภาษา HTML ไมมี
โครงสรา งความเปน Programming เลยแมแตน อย และไฟลท่ีไดจากการสรา งเอกสาร HTML ยังมี
ขนาดเล็กอีกดว ย

นามสกลุ ของไฟล HTML จะเปนไฟลนามสกุล .htm หรอื .html ซ่งึ ใชในทั้งระบบปฏิบัติการ
ยูนิกซ (UNIX) และระบบปฏิบัติการ Windows และเรียกใชง านไดจากเว็บบราวเซอร (Web
Browser)

ภาพท่ี 2.2 ตวั อยางการเขยี นภาษา HTML ดว ยโปรแกรม Notepad

6

ภาพท่ี 2.3 ตวั อยา งการเปด ดูเอกสาร HTML ดวยโปรแกรม Internet Explorer

2.2 แนวคิดและทฤษฎที เี่ ก่ยี วของกบั Peer-Assisted Learning
2.2.1 ความเปน มา
“เพื่อนชวยเพื่อน” (Peer Assist) เปนเคร่ืองมอื ท่ีไดรับการพัฒนาข้นึ ใชคร้ังแรกทบ่ี ริษัท

BP-Amoco ซึง่ เปนบริษัทนํ้ามันยักษใหญของประเทศอังกฤษ โดยการสรางใหเกิดกลไกการเรียนรู
ประสบการณผ อู ื่น ซ่ึงเปนเพื่อนรวมอุดมการณหรือรวมวิชาชีพ (peers) กอนที่จะเริ่มดาํ เนินกิจกรรม
หรอื โครงการใด ๆ ท้ังน้คี วามหมายของ “เพอ่ื นชว ยเพอ่ื น” จะเกีย่ วขอ งกบั

- การประชมุ หรอื การปฏิบัตกิ ารรว มกนั โดยมีผูท่ีไดร ับเชิญจากทีมภายนอก หรือทีมอ่ืน (ทีม
เยอื น) เพอื่ มาแบง ปนประสบการณ ความรู กับทีมเจาบา น (ทีมเหยา) ท่เี ปนผรู องขอความชวยเหลือ-
เครอ่ื งมอื สําหรับแบง ปนประสบการณ ความเขา ใจ ความรู ในเรือ่ งตา ง ๆ

- กลไกสาํ หรับแลกเปล่ยี นความรผู านการเช่ือมโยงติดตอระหวางบุคคลสําหรับขอ ดีของการ
ทํา Peer Assist นน้ั ไดแ ก

-- เปนกลไกการเรียนรูกอนลงมอื ทํากิจกรรม (Learning Before Doing) ผาน
ประสบการณผูอ่ืน เพื่อใหรูวาใครรูอะไร และไมทําผิดพลาดซ้ําในส่ิงทเ่ี คยมีผูทําผิดพลาด ตลอดจน
เรยี นลัดวธิ ีการทาํ งานตา ง ๆ ทีเ่ ราอาจไมเคยรมู ากอ นจากประสบการณข องทมี ผชู ว ยภายนอก

-- ชวยใหท ีมเจาบานไดความชวยเหลือ ความคิดเห็น และมุมมองจากทีมผูชวย
ภายนอก ซึ่งอาจนําไปสูแนวทางในการแกปญ หาหรือการทํางานใหม ๆ

2.2.2 แนวคิดทฤษฎี
เม่ือจะเร่ิม "ลงมือทํา" เร่ืองใดเร่ืองหนึ่งที่เราไมเคยทํา หรอื ไมสันทัด หรือยังไดผลไมเปนท่ี
พอใจ ขั้นตอนแรกของการจัดการความรูคือหาขอมูล (ความรู) วาเร่ืองน้ันๆ มีบุคคลหรือกลุมคน ท่ี
ไหน หนวยงานใด ท่ีทําไดผ ลดีมาก (best practice) และถือเปนกัลยาณมิตร (peers) ท่ีอาจชวย

7

แนะนําหรือใหความรูเราได กัลยาณมิตรนี้อาจเปนเพื่อนรวมงานในหนวยงานเดียวกัน อาจเปน
หนวยงานอ่ืนในองคกรเดยี วกัน หรอื เปนคนที่อยูในองคกรอื่นก็ได แลวติดตอขอเรียนรูวิธีทาํ งานจาก
เขา ไปเรยี นรูจ ากหนว ยงาน จะโดยวิธีไปดูงาน โทรศพั ทห รือ e-mail ไปถาม เชญิ มาบรรยาย หรือวิธี
อื่น ๆ ก็ได หลักคดิ ในเร่ืองนีก้ ็คือ มคี นอ่ืนท่ีเขาทาํ ไดดีอยแู ลว ในเรื่องท่ีเราอยากพัฒนาหรือปรับปรุง
ไมค วรเสียเวลาคิดขึ้นใหมดว ยตนเอง ควร "เรียนลดั " โดยเอาอยางจากผทู ่ที ําไดดีอยูแลว เอามาปรับ
ใชกับงานของเรา แลวพัฒนาใหดีย่ิงข้ึน ยํ้าวา การเรยี นรูจากกัลยาณมิตรนี้จะตองไมใชไปลอกวิธีการ
ของเขามาทั้งหมด แตไปเรียนรูแนวคิดและแนวปฏิบัติของเขาแลวเอามาปรับปรุงใชง านใหเหมาะสม
ตอ สภาพการทํางานของเรา

2.2.3 วธิ ีการแบบ “เพ่อื นชวยเพอ่ื น”
วธิ กี ารแบบ “เพอื่ นชว ยเพ่อื น” สามารถทาํ ได ดังนี้
1. กําหนดวัตถุประสงคใหชัดเจนวาทํา “เพื่อนชวยเพ่ือน” ทําไปเพื่ออะไร อะไรคอื ตนตอ
ของปญ หาทตี่ องการขอความชวยเหลือ
2. ตรวจสอบวาใครที่เคยแกปญหาท่ีเราพบมากอนบางหรือไม โดยทําแจงแผนการทํา
“เพ่อื นชว ยเพอ่ื น” ของทีมใหหนว ยงานอื่นๆ ไดร บั รู เพือ่ หาผทู ่รี ใู นปญ หาดงั กลา ว
3. กําหนด Facilitator (คุณอํานวย) หรือผูสนับสนุน และอํานวยความสะดวกใน
กระบวนการแลกเปลี่ยนเรยี นรรู ะหวางทมี เพ่อื ใหไดผลลพั ธต ามตอ งการ
4. คํานึงถึงการวางตารางเวลาใหเหมาะสมและทันตอการนําไปใชงาน หรือการปฏิบัติจริง
โดยอาจเผ่อื เวลาสําหรบั ปญหาท่ีไมคาดคดิ ทอี่ าจจะเกดิ ขนึ้
5. ควรเลือกผูเขารวมแลกเปล่ียนเรียนรูใหมคี วามหลากหลาย (Diverse) ทั้งดานทักษะ
(Skill) ความสามารถ/ความเชี่ยวชาญ (Competencies) และประสบการณ (Experience) สําหรับ
จาํ นวนผูเขารว มแลกเปล่ียนอยูทป่ี ระมาณ 6-8 คนกเ็ พยี งพอ
6. มุงหาผลลัพธหรือส่ิงท่ีตองการไดรับจริง ๆ กลาวคือ การทํา “เพื่อนชวยเพ่ือน” นั้นจะตองมองให
ทะลถุ ึงปญ หา สรางทางเลอื กหลาย ๆ ทาง มากกวา ท่จี ะใชค ําตอบสาํ เรจ็ รปู ทางใดทางหนึ่ง
7. วางแผนเวลาสําหรบั การพบปะสังสรรคทางสังคม หรือการพดู คยุ แบบไมเ ปน ทางการ (นอกรอบ)
8. กาํ หนดบทบาทของแตละฝายใหชดั เจน ตลอดจนสรางบรรยากาศ เพื่อใหเอ้ืออํานวยตอ
การแลกเปลี่ยนเรยี นรรู ะหวา งกนั
9. แบง เวลาทม่ี ีอยูออกเปน 4 สวน คือ

- สวนแรกใชสําหรับทีมเจาบานแบงปนขอมูล (Information) บริบท (Context)
รวมท้งั แผนงานในอนาคต

- สวนท่สี องใชสนับสนุน หรอื กระตุนใหทีมผูชวยซึ่งเปนทีมเยือนไดซักถามในส่ิงที่
เขาจาํ เปนตอ งรู

- สวนท่สี าม ใชเพื่อใหทีมผูชวยซงึ่ เปน ทมี เยอื นไดนําเสนอมุมมองความคิด เพื่อให
ทมี เจา บา นนําส่ิงทไ่ี ดฟ งไปวิเคราะห

- สว นทีส่ ่ี ใชสาํ หรบั การพูดคุยโตตอบ พจิ ารณาไตรต รองสิ่งทไ่ี ดแลกเปลีย่ นเรยี นรรู วมกัน
จากความเปนมา แนวคิดทฤษฎี และวิธีการแบบ “เพื่อนชวยเพื่อน” เราสามารถแบง
ประเภทของ “เพอื่ นชวยเพ่อื น” ได 3 ประเภท ดงั น้ี

8

1. การสอนแบบ “เพอื่ นชว ยเพ่อื น”
กิจกรรมอยางหนึ่งท่ีจัดใหผูเรียนไดชวยเหลือเกื้อกูลกันอยูเสมอ คือ เพื่อนชวยเพ่ือนใน
ลักษณะ เกงชวยออน ซ่ึงเปนวิธีการที่ผูเรียนใหความสนใจมาก คนเกงจะจัดกระบวนการเรียนการ
สอน เพ่ือสงเสริมความสามารถของผูเรียน โดยเฉพาะวิชาการดานคอมพิวเตอร เพื่อใหผูเรียนมีสวน
รว มในการคิด วางแผน ปฏิบัติ และประเมนิ ผล ใหผูเรียนมีโอกาสไดเรียนรู ไดพิจารณา และคนพบ
ความรูความสามารถของตนเองใหผูเรียนมองเห็นภาพลักษณแหงตน ตัวตนในอุดมคติ และการเห็น
คณุ คาตนเอง ตอความสําเร็จในการเรียนการสรางเว็บไซต ภาษา HTML สิ่งเหลานีจ้ ะชวยหลอ หลอม
ใหผเู รียน รักและมีความพรอมที่จะเรียน มีความสุขในการเรียนรู และรวมกิจกรรมการเรียนการสอน
อยางตอ เน่ือง
การสอนดวยวิธีการ “เพื่อนชวยเพ่ือน”
การสอนดวยวิธีการใหเพ่ือนชวยเพื่อนเปนวิธีการที่มุงใหนกั เรียนเกิดแรงจูงใจตอการเรียน
มากขึ้น เนื่องจากนักเรียนทุกคนเปนผูที่มีบทบาทในกิจกรรมการเรียนการสอน การนําวิธีการสอน
แบบเพื่อนชวยเพื่อนมาชวยแกปญหาการจัดการเรียนการสอน ควรจะตองสรางแรงจูงใจแกเพื่อน
นักเรียนที่ชวยสอน ใหไ ดรับผลประโยชนตอบแทนทั้งรูปธรรมและนามธรรม ซ่ึงเปนบันไดข้ันแรกแหง
ความสําเร็จ ดวยการหากิจกรรมท่ีกระตุนใหนักเรียนพรอมท่ีจะใหความรวมมือ ชวยเหลือครูและ
เพอื่ นนักเรยี นอยา งเตม็ ใจและพึงพอใจ
ผูสอนจะมีบทบาทสําคัญในการสงเสริมพัฒนาทักษะความสามารถของผูเรียนใหเต็ม
ศักยภาพ ดวยการออกแบบกิจกรรมที่เปดโอกาสใหผูเรียนใชความรูความสามารถอยางเต็มที่ มี
ความสุข การจัดการเรียนการสอนเพ่ือใหผูเรียนมีความสุข ท้ังกายและใจนั้น จะเริ่มจากการสราง
ความศรัทธาทั้งตอตวั ผูสอน และตอวิชาท่ีเรียน ใหเกิดในตัวผูเรยี น ใหผูเรียนมองเห็นถึงความจริงใจ
ของผสู อน
การจดั กิจกรรมการเรียนการสอนแบบ “เพื่อนชว ยเพ่ือน”
ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ยอมรับวาผูเรียนเปนมนุษยที่มีศักยภาพ ปฏิบัติตอ
ผูเรียนในลักษณะกัลยาณมิตร และเขาใจในความเปนตัวเขา นอกจากน้ัน การสอนแบบเพื่อนชวย
เพ่ือนหรือการใหผูเรียนชวยสอนกันเองน้ี เปนวิธีการที่จะชวยใหผูเรียนไดรับประโยชนทางดาน
วิชาการดวยกันทั้ง 2 ฝาย การเรียนการสอนแบบน้ีไดมีการพัฒนาและนํามาใชในรูปแบบที่แตกตาง
กันออกไปตามจุดมุงหมายและวิธีการไดรับการตอบสนองความตองการในระดับแรก ๆ กอนเทาน้ัน
เมื่อกาวผา นขัน้ หนึง่ ไป มนษุ ยเ ราจะมีความตอ งการสูงขึ้นไปทีละขั้นเพิ่มข้ึนไปเร่ือยๆ ผูศึกษาไดคดิ คน
นวัตกรรมการจัดการเรียนการสอน การสรางเว็บไซต ภาษา HTML ดวยการดัดแปลงกระบวนการ
สอนซอมเสริมแบบเพื่อนชวยเพื่อน มาบูรณาการเขากบั วิธีการดาํ เนินธุรกิจเครือขาย Direct Sales
(ขายตรง) ดวยการสรางกิจกรรมการเรียนการสอน เพื่อใหผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนโดย
สวนรวมสูงข้ึน และเพื่อชวยเหลือนักเรียนทม่ี ีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ํา รวมถึงนักเรียนที่ไมบรรลุ
จุดประสงคการเรียนรู ใหส ามารถเรยี นรผู านตามเกณฑก ารประเมินจดุ ประสงค

9

2. การใหคําปรึกษาแบบ “เพื่อนชว ยเพื่อน”
การใหค ําปรกึ ษาแบบ “เพอ่ื นชว ยเพ่อื น” หมายถึง การใหความชวยเหลือทางดานจิตใจ และ
เปน รากฐานสําคญั ในการสนับสนนุ ผูรบั คาํ ปรกึ ษาใหด ําเนินชีวิตอยางอิสระ โดยปฏิสัมพันธทีจ่ ะ “ให”
และ “รับ” ความชวยเหลือเทาเทียมกันอยางเพื่อน ไดมาฟงความรูสึกและเลาเรื่องราวของตนเอง
เพอ่ื สนับสนุนซ่ึงกันและกัน เพ่ือเสรมิ สรา งความเช่อื ม่ันในตนเอง มีความเขม แข็ง สามารถดํารงชีวิตได
อยางอสิ ระ
การใหคําปรกึ ษาแบบ “เพื่อนชว ยเพ่ือน” แตกตา งจากการใหค าํ ปรกึ ษาอยา งอืน่ อยางไร ?
ในกระบวนการใหคําปรึกษาฉันเพื่อน มีผูรับฟงเรียกวา “ผูใหคําปรึกษาแบบเพ่ือน” (Peer
Counselor) กับผูเลาเร่ือง เรียกวา “ผูรับคําปรึกษาแบบเพื่อน” (Client) โดยแบงเวลาฝายละเทา ๆ
กัน และสลับบทบาทระหวางผูเลาเร่ืองกับผูรับฟงตามเวลาท่ีกําหนด เพ่ือแลกเปลี่ยนประสบการณ
และสนบั สนุนซึ่งกันและกัน จะสงผลท่ีพึงพอใจแกผูรับคําปรึกษาฉันเพื่อน ไดรับรูและเขาใจเร่ืองราว
ของตนอยางแทจ ริง ทําใหยอมรับและรักตนเอง นํามาซ่งึ ความเช่ือม่ันในตนเอง กลาท่ีจะเผชิญความ
เปลี่ยนแปลงตาง ๆ และสามารถดํารงชีวิตอยูในสังคมไดอยางมีความสุข แตการปรึกษาของผูเชียว
ชาญ หรือหมอผูรบั คําปรึกษาจะเปนฝายที่จะน่ังรบั ฟงเร่ืองราวตาง ๆ เพียงฝา ยเดยี ว และผูเชียวชาญ
หรือหมอจะเปนคนใหคําแนะนําเพื่อใหปฏิบัติตามเทานั้น ดังนั้นการใหคําปรึกษาแบบ “เพ่ือนชวย
เพื่อน” จะสรางความเขาใจ ทศั นคติตางๆและกอใหเกิดการปฏสิ ัมพันธท่ีดีตอ กันระหวางผูรับและผูให
มากกวาการใหค าํ ปรกึ ษาแบบเปน ผูร บั คาํ ปรกึ ษาเพยี งอยา งเดยี ว
ขอตกลง หรอื ขอสัญญาในการใหค าํ ปรกึ ษาแบบ “เพ่อื นชวยเพอื่ น”
ขอตกลงหรอื ขอสัญญาในการใหคาํ ปรกึ ษามขี อทคี่ วรปฏิบตั ิท้งั หมด 4 ขอ ดงั นี้
1. แบง เวลาโดยเทาเทียมกัน การใหคําปรึกษาแบบเพื่อนชวยเพ่ือนใหความสําคัญกับการแบงเวลา
อยางเทาเทยี มกนั เพ่อื จะไดมีการแลกเปลี่ยนประสบการณกนั ไดอยางเต็มท่ี สิ่งหนงึ่ ท่ีตอ งเสมอภาคกันไมว า
จะเปนใครก็ตาม ทั้งสองฝายมีเวลาเทาเทียมกัน โดยการที่ใหผูขอรับคําปรึกษาเปน ผูกําหนดวาตองการเวลา
เทาไหร แตตองไมนานเกินไป ท้ังสองฝายจะตองเปนผูตกลงกันอยางเทาเทียมเสมอ ท่ีตองมีกฎขอนี้ก็เพ่ือ
ปองกันไมใหคนที่พูดเกง แยงเวลาไปหมด จนคนท่ีพูดไมเกงไมไดพ ูดอะไรเลย
2. รักษาความลับเปนสวนตัว การใหคําปรึกษาตองรับประกันไดวาผูใหคําปรึกษาจะไม
เปดเผยหรือพูดเรื่องของผูมารับคําปรึกษา ผูใหคําปรึกษาจะตองเก็บเปนความลับและตองเคารพ
ความเปนสวนตัวของผูที่รับคําปรึกษาเสมอ เพราะเปนการทําใหเกิดการไววางใจและรูสึกปลอดภัย
ทางดานจิตใจแกผูมารบั คําปรึกษา ที่ตอ งมีกฎขอน้ีเพราะวา จะทําใหผูรับคําปรึกษากลาทีจ่ ะพูดเรอ่ื ง
สว นตวั และสามารถปลดปลอ ยไดอยางเตม็ ท่ี ไมเกิดความกงั วล
3. ไมปฏิเสธ ไมตําหนิ เมื่อมีผูมาขอรับคําปรึกษา ผูใหคําปรึกษาตองแสดงใหผูมารับคํา
ปรึกษารับรวู า เรายินดีทจ่ี ะรับฟงปญหาของเขาและเช่ือในสิง่ ท่ีเขาพูดอยางตั้งใจ เมื่อฟงแลวตองไม
ตําหนิหรือวิจารณ และไมปฏิเสธในส่ิงท่ีเขาเลามา ท่ีตองมีกฎขอนี้เพราะวา หากผูรับคําปรึกษาถูก
ปฏเิ สธ หรือถกู ตําหนเิ ขาจะรูสกึ วาตัวเองไมม คี วามสําคญั ทําใหข าดความม่ันใจในตวั เอง
4. ไมใหคาํ แนะนํา ไมชี้ทางแกไข ผูใหคาํ ปรึกษาเม่ือไดรับฟงปญหาจากผูมาขอคําปรึกษา
แลว จะตองไมแสดงความคิดเห็นหรอื แนะนําวิธีการแกปญหา เพราะการแนะนําอาจจะไมเหมาะสม
และไมถูกตองสาํ หรับคนทมี่ าขอคําปรึกษาเสมอไป เพราะผูที่จะเขาใจปญหาน้ันไดดีและจะแกปญหา

10

นั้นไดกต็ องเปนตัวของผูรบั คําปรึกษาเอง โดยเราจะตองเชื่อม่นั วามนษุ ยทุกคนมีพลัง มีความสามรถที่
จะแกป ญ หาของตนเอง อยางนอ ยการท่ีเขาไดมีโอกาสระบายความรสู ึกทเ่ี ก็บกดออกมา ก็จะสามารถ
ทําใหเขาไดเรียบเรียงปญหาและเห็นปญหาของเขาเอง และในเมื่อเขาเห็นชัดวา ปญหาของเขาคือ
อะไร ในท่ีสดุ เขาก็จะสามารถแกไขปญหานั้นได และจะเปนการเรียกความเช่อื มั่นของตัวเองกลับคืน
มาดวย

3. กลวธิ ีการเรียนรูแ บบ “เพ่อื นชว ยเพือ่ น”
กลวิธีการเรียนรูแบบเพื่อนชวยเพื่อน หมายถึง การจัดกิจกรรมการเรียนรูเปนคูหรือกลุมยอย ให
ผูเรียนมีสวนรวมในการทํากิจกรรม คอยชวยเหลือซ่ึงกันและกัน มีการผลัดเปลย่ี นกันเปนผูสอนและ
ผูเรียน เพ่ือใหไดมาซ่ึงความรูความเขาใจเก่ียวกับบทเรียน ครูผูสอนมีบทบาทหนาที่เปนพียงผูให
คาํ แนะนําและจดั กจิ กรรมการเรยี นรใู หเ หมาะสมกับผเู รยี น

รปู แบบกลวิธกี ารเรียนรูแบบเพือ่ นชวยเพอ่ื น
นักการศึกษาหลายทานไดประมวลการสอนท่ีมีแนวคิดจากกลวิธีการเรียนรูแบบเพ่ือนชวย
เพอ่ื นไวมากมาย มีรายละเอยี ดดังน้ี
1. การสอนโดยเพื่อนรว มช้นั (Classwide-Peer Tutoring) เปนการสอนท่ีเปดโอกาสให
ผูเรยี นทั้งสองคนที่จับคูกันมีสวนรวมในการเรียนการสอน โดยใหผูเรียนท้ังสองสลับบทบาทเปนทั้ง
นกั เรียนผูส อนทีค่ อยถา ยทอดความรใู หแ กน ักเรียนผูเรียน และนกั เรยี นผูเรียนซง่ึ เปน ผทู ่ไี ดรับการสอน
2. การสอนโดยเพอ่ื นตา งระดับชัน้ (Cross-Age Peer Tutoring) เปนการสอนทีม่ ีการจับคู
ระหวางผูเรียนท่ีมีระดับอายุแตกตางกัน โดยใหผูเรียนทม่ี ีระดับอายุสงู กวาทําหนาท่ีเปนผูสอนและให
ความรู ซง่ึ ผเู รยี นทั้งสองคนไมจาํ เปนตองมคี วามสามารถทางการเรียนที่แตกตา งกนั มาก
3. การสอนโดยการจับคู (One-to-One Tutoring) เปนการสอนที่ใหผูเรียนที่มี
ความสามารถทางการเรียนสงู กวาเลือกจบั คูก บั ผูเรยี นท่ีมีความสามารถทางการเรียนตํ่ากวาดวยความ
สมัครใจของตนเอง แลวทาํ หนา ท่ีสอนในเรื่องท่ตี นมคี วามสนใจ มคี วามถนดั และมีทกั ษะทดี่ ี
4. การสอนโดยบุคคลทางบา น (Home-Based Tutoring) เปน การสอนที่ใหบคุ คลท่ีบาน
ของผเู รียนมีสวนรวมในการสอน ใหความชวยเหลือในการพัฒนาความรูความสามารถแกบตุ รหลาน
ของตนระหวา งท่บี ตุ รหลานอยทู ี่บา น
2.2.4 หลักการใชกลวิธีการเรยี นรแู บบ “เพ่ือนชว ยเพือ่ น”
การใหเพอ่ื นชว ยเพือ่ นจะมปี ระสทิ ธิภาพสงู สุดนนั้ ควรดาํ เนนิ ไปตามหลกั เกณฑ ดงั น้ี
1. เพื่อนผูสอนจะตองมีทักษะท่ีจําเปน เชน ความเขาใจในจุดประสงคของการสอนจาํ แนก
ไดวา คําตอบที่ผดิ และคาํ ตอบที่ถูกตางกันอยางไร รูจักการใหแรงเสริมแกเพ่ือนผูเรียน รูจักบันทึก
ความกา วหนาในการเรยี นของเพ่ือนผูเรียน และมนษุ ยสมั พันธทดี่ กี บั เพอ่ื นผูเ รียน
2. กําหนดจุดประสงคเชิงพฤติกรรมใหชัดเจน ทั้งนี้เพื่อใหบุคคลทั้งสองชวยกันบรรลุ
เปาหมายในการเรียน
3. ครูเปน ผกู าํ หนดขน้ั ตอนในการสอนใหชดั เจนและใหเพ่อื นผเู รยี นดําเนินการตามข้ันตอนเหลานั้น
4. สอนทลี ะขั้นหรอื ทลี ะแนวคิดจนกวา เพอ่ื นผเู รียนเขา ใจดแี ลว จึงสอนขน้ั ตอ ไป
5. ฝก ใหเพ่อื นผูสอนเขาใจพฤติกรรมการแสดงออกของเพื่อนผูเรียนดวยวา พฤติกรรมใด
แสดงวา เพอ่ื นผูเรยี นไมเขา ใจ ทัง้ นจ้ี ะไดแ กไ ขใหถ กู ตอง

11

6. เพ่ือนผูสอนควรบันทึกความกาวหนาในการเรยี นของเพื่อนผูเรียนตามจุดประสงคเชิง
พฤติกรรมท่กี ําหนดไว

7. ครูผูดูแลรับผิดชอบจะตองติดตามผลการสอนของเพ่ือนผูสอนและการเรียนของเพื่อน
ผูเรยี นดว ยวาดาํ เนนิ การไปในลักษณะใด มีปญหาหรือไม

8. ครใู หแรงเสริมแกท ้ัง 2 คนอยา งสมํ่าเสมอ
9. ชวงเวลาในการใหเพอื่ นชว ยเพ่อื นไมควรใชเวลานานเกินไป งานวิจัยระบุวาระยะเวลาที่มี
ประสิทธภิ าพในการใหเพอื่ นชว ยเพ่อื นในระดับชนั้ ประถมศกึ ษาอยูระหวาง 15-30 นาที
10. เพ่ือนผูสอนมีการยกตัวอยางประกอบการสอน จึงจะชวยใหเพ่ือนผูเรียนเรยี นเขาใจ
เน้ือหาไดดียิง่ ขนึ้
2.2.5 ประโยชนข อง “เพอื่ นชวยเพอ่ื น”
1. เปนการเรยี นลดั วิธกี ารเรียน การทํางานตางๆท่ีเราอาจจะเคยทราบมากอน ส่ิงเหลาน้จี ะ
มาจากประสบการณ เทคนิควธิ ีตา งๆของคเู พอ่ื นชวยเพือ่ นหรอื ทมี เพื่อนชว ยเพ่อื น
2. เปนการแลกเปล่ียนความรู ประสบการณ มมุ มองความคิดตางๆรวมกันเพ่ือชวยกัน
พฒั นาความรูเดมิ ที่มีอยูใหมกี ารพฒั นาอยา งตอ เน่ือง
3. สรางความสัมพนั ธและความสามัคคี เพราะกระบวนการเพื่อนชวยเพ่ือนตองเกิดจากการ
ทาํ งานเปน คหู รือเปนทีม ดังนัน้ การมปี ฏิสมั พนั ธอนั ดตี อ กนั ยอมทาํ ใหเ กิดผลการเรยี นรูที่ดตี ามมา

2.3 ผลสัมฤทธิท์ างการเรยี น
ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนเปน ความสามารถของนักเรียนในดานตา งๆ ซ่ึงเกิดจากนักเรียนไดรับ

ประสบการณจากกระบวนการเรียนการสอนของครู โดยครูตองศึกษาแนวทางในการวัดและ
ประเมินผล การสรางเคร่ืองมือวัดใหมคี ุณภาพน้ัน ไดมีผูใหความหมายของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนไว
ดังนี้

สมพร เชื้อพันธ (2547, หนา 53) สรุปวา ผลสัมฤทธิท์ างการเรียนวิชาคณติ ศาสตร หมายถึง
ความสามารถ ความสําเร็จและสมรรถภาพดานตางๆของผเู รียนที่ไดจากการเรยี นรูอันเปนผลมาจาก
การเรียนการสอน การฝกฝนหรือประสบการณของแตละบุคคลซึ่งสามารถวัดไดจากการทดสอบดวย
วธิ ีการตา งๆ

พิมพันธ เดชะคุปต และพเยาว ยินดีสุข (2548, หนา 125) กลาววา ผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรยี นหมายถงึ ขนาดของความสาํ เรจ็ ท่ไี ดจ ากกระบวนการเรียนการสอน

ปราณี กองจนิ ดา (2549,หนา 42) กลาวา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง ความสามารถ
หรอื ผลสาํ เรจ็ ที่ไดรบั จากกจิ กรรมการเรียนการสอนเปนการเปลยี่ นแปลงพฤตกิ รรมและประสบการณ
เรียนรูทางดานพุทธิพิสัย จิตพิสัย และทักษะพิสัย และยังไดจําแนกผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนไวตาม
ลักษณะของวัตถุประสงคของการเรยี นการสอนท่แี ตกตา งกัน

ดงั น้ันจึงสรปุ ไดวา ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี น หมายถึง ผลทีเ่ กดิ จากกระบวนการเรียนการสอนที่
จะทําใหนักเรียนเกิดการเปลีย่ นแปลงพฤตกิ รรม และสามารถวัดไดโดยการแสดงออกมาทั้ง 3 ดาน
คือ ดา นพทุ ธิพิสยั ดา นจติ พิสยั และดานทักษะพสิ ยั

12

2.4 งานวจิ ยั ทเ่ี กีย่ วของ
สมพิศ แซเฮง (2559) ไดศึกษาการใชวิธีสอนแบบเพ่ือนชวยเพ่ือน เพ่ือพัฒนาผลสัมฤทธ์ิ

ทางการเรียน วิชาคณิตศาสตรประยุกต 2 ของนักเรียนระดับ ประกาศนียบตัรวชิาชีพชั้น ปที่1
โรงเรียนกรุงเทพการบัญชีวิทยาลัย พบวา คะแนนมาตรฐานเฉล่ีย เรื่อง คามาตรฐาน ซึ่งใชวิธีสอน
แบบเพ่ือนชว ยเพ่ือน มคี ะแนนมาตรฐานสงู กวาคะแนนมาตรฐานเฉล่ีย เร่ืองการวัดคา กลางของขอมลู
อยางมนี ัยสําคัญทางสถติ ิท่ีระดบั .04

อนุสรา พงคจันตา (2558) ไดศึกษางานวิจัยเกี่ยวกับ การเพ่ิมผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน
รายวิชาเคมีท่ัวไป โดยการเรียนการสอนแบบเพ่ือนชวยเพ่ือนของนักศึกษาสาขาวิชาสาธารณสุข-
ศาสตร มวี ัตถุประสงคเพื่อศึกษาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนรายวิชาเคมีทั่วไปในนักศึกษาสาขาวิชา
สาธารณสขุ ศาสตร โดยวิธีการเรียนการสอนแบบเพื่อนชวยเพ่ือน และเพ่ือศึกษาสภาพในการให และ
รับคําปรึกษาของนักศึกษาท่ีผานการเรียนการสอนแบบเพื่อนชวยเพื่อน โดยกลุมตัวอยางท่ีใชเปน
นกั ศกึ ษาสาขาวชิ าสาธารณสขุ ศาสตร ชั้นปท่ี 1 ทีล่ งทะเบียนเรียนในรายวิชาเคมีท่ัวไป ในภาคเรียนที่
1 ปการศึกษา 2556 จํานวน 14 คน เคร่ืองมือท่ีใชในการเก็บรวบรวมขอมูล คือ แบบประเมิน
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิเคราะหขอมูลโดยการหาคาเฉล่ียสวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน และคาสถิติ
Pearson correlation ผลการศึกษาพบวา นักศกึ ษากลุม เปา หมายท่ผี านการเรยี นการสอนแบบเพ่ือน
ชวยเพื่อน มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชาเคมที ่ัวไป คดิ เปนรอยละ 85.71 และจากการศึกษา
ครั้งน้ี พบวา เนื้อหาสวนใหญที่นักศึกษาขอรับคําปรึกษาจะเปนหัวขอท่ีมีเนื้อหาคอนขางยาก และ
เน้ือหาเยอะ และจากการศึกษาคร้งั น้ี พบวา จํานวนคร้ังของการขอรับคําปรึกษามีความสัมพันธกับ
ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นในรายวชิ าเคมีทวั่ ไป

สันติ วงษพันธุ (2557) ไดศึกษาเก่ยี วกับการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยใชวิธกี าร
เรยี นการสอนแบบเพื่อนชว ยเพ่อื นของนักเรยี นช้นั มัธยมศึกษาปท ี่ 2/1 โรงเรียนอสั สัมชัญธนบุริ พบวา
นกั เรยี นมีผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนผานเกณฑท่ีกําหนดทุกคน และกจิ กรรมกลุมทําใหเกิดบรรยากาศท่ี
ดี ชวยใหนกั เรยี นมีความกระตอื รือรนสนใจ ต้ังใจ และมีความรับผิดชอบมากขึ้น อีกทั้งชวยกระตุนให
นักเรยี นมีความกระตือรอื รน อยตู ลอดเวลา ชวยสรา งความสามคั คี รจู ักแกป ญหารวมกนั

งานวิจัยการพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนและความสามารถในการทํางานรวมกับผูอื่นของ
นักศึกษา สาขาวิชาอุตสาหกรรมทองเท่ียว รายวิชาการตลาดเพื่ออุตสาหกรรมทองเท่ียว สาขาวิชา
อุตสาหกรรมทองเที่ยวคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏลําปาง มีวัตถุประสงคเพ่ือพัฒนา
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นและความสามารถในการทํางานรว มกับผูอื่นของนักศึกษา ชั้นปที่ 3 โดยใช
การเรยี นแบบรวมมือ ในวิชาการตลาดเพื่ออุตสาหกรรมทองเที่ยว ระหวางเรยี นผูวิจัยใหนกั ศึกษาทํา
แบบทดสอบกอนและหลงั เรียน ประเมินการปฏิบัติการทดลองและการนําเสนอผลงานหนาช้ันเรียน
ทาํ แบบทดสอบยอ ยในแตละหัวขอ สัมภาษณอยางไมเ ปนทางการ นักศึกษาประเมนิ ตนเองและเพื่อน
ในการทํางานเปนกลุม และทําสังคมมิติเกี่ยวกับการทํางานกลุมกอนและหลังการเรียนแบบรวมมอื
ผลการวจิ ัยพบวา นักศกึ ษาที่มีคะแนนหลังเรียนผานเกณฑรอยละ 50 มีจํานวนเพ่ิมข้ึนจาก 8 คนเปน
43 คน แตกตางจากคะแนนกอนเรียนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 นักเรียนมีทักษะ
ปฏิบัติการ ทักษะการนําเสนอผลงานหนาช้ันเรียน และมีคะแนนทดสอบทายคาบเรียนท่ีเพ่ิมมากข้ึน
อยางตอ เนอื่ ง นักศึกษาสวนใหญพ อใจกับการสอนรูปแบบนี้ มีการชวยเหลือกลมุ ความรบั ผิดชอบ

13

การแสดงความคดิ เห็น การรับฟงความคิดเหน็ หลังการเรยี นแบบรวมมอื โดยเฉลี่ยสูงขึ้นและนักศึกษามี
ความสมั พันธภ ายในหองเรยี นเพ่ิมขน้ึ

บทที่ 3
ระเบียบวิธวี ิจัย

การวิจัย เร่ือง การศึกษางานวิจัย เรอ่ื ง การพัฒนาผลสมั ฤทธิท์ างการเรียน วิชาการเขียน
เว็บเพจดวยภาษา HTML โดยการเรียนรูรวมกันแบบเพือ่ นชวยเพื่อน (Peer Tutoring Method)
ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 5 หอง 1 ภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 2561 โรงเรียน
ปลายพระยาวิทยาคม จังหวัดกระบี่ มีแนวคิด ทฤษฎี ตลอดจนวรรณกรรมท่ีเกี่ยวของเพ่ือเปน
แนวทางในการศกึ ษา ผวู ิจัยไดด าํ เนนิ การวิจัยตามข้นั ตอนดงั น้ี

1.ประชากรและกลมุ ตัวอยาง
2. กรอบแนวคดิ การวจิ ัย
3. การสรา งเครอ่ื งมือ
4. เครอ่ื งมือทีใ่ ชใ นงานวจิ ยั
5. การเก็บรวบรวมขอ มูล
6. การวิเคราะหขอมูล

3.1 ประชากรและกลมุ ตัวอยาง
ประชากรท่ีใชใ นการวิจยั ไดแ ก นกั เรยี นโรงเรียนปลายพระยาวิทยาคม ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5

ที่ลงทะเบียนเรียนในภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 2561 รายวิชาการเขียนเว็บเพจดวยภาษา
HTML จาํ นวน 2 หองเรยี น โดยเปน กลุมทผ่ี ูวิจยั เปนผสู อน

กลมุ ตัวอยางท่ีใชใ นการวิจัยไดแกนกั เรียนโรงเรียนปลายพระยาวิทยาคม ช้ันมธั ยมศกึ ษาปท่ี
5 หองเรียนที่ 1 ที่ลงทะเบยี นเรียนในภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 2561 รายวิชาการเขยี นเว็บเพจดวย
ภาษา HTML จํานวน 1 หองเรียน มีนักเรยี นจํานวน 17 คน เลือกแบบเจาะจง โดยเปนกลุมที่ผูวิจยั
เปนผสู อน

3.2 กรอบแนวคดิ การวจิ ยั
1) ตัวแปรตน ไดแ ก การเรียนการสอนรูปแบบการเรียนรูรว มกันแบบเพ่ือนชวยเพื่อนใน

รายวิชาการเขยี นเวบ็ เพจดว ยภาษา HTML และเนือ้ หารายวิชาการเขยี นเว็บเพจดว ยภาษา HTML
2) ตวั แปรตามไดแ ก
2.1) ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียน
2.2) ความพงึ พอใจของนักเรยี นทมี่ ตี อรูปแบบการเรยี นรรู ว มกันแบบเพอ่ื นชวยเพื่อน

11

ตัวแปรตน ตวั แปรตาม

- รปู แบบการเรยี นรูรวมกัน - ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น
แบบเพอื่ นชวยเพ่ือน - ความพงึ พอใจตอรปู แบบการเรียนรูรวมกนั
(Peer Tutoring Method) แบบเพือ่ นชวยเพื่อน
- เนอ้ื หารายวิชา การเขยี นเวบ็ เพจ (Peer Tutoring Method)
ดวยภาษา HTML

ภาพท่ี 3.1 กรอบแนวคิดการวิจยั

3.3 การสรางเครือ่ งมือ
กรอบแนวคิดการวิจัยกําหนดใหการเรียนแบบเพ่ือนชวยเพื่อนเปนตัวแปรตนท่ีสงผลตอ

ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นวิชาการเขียนเวบ็ เพจดวยภาษา HTML ที่เปนตัวแปรตามจากการศึกษา
คนควาวรรณกรรมทีเ่ กี่ยวของในการศึกษาคร้ังนี้ กลวิธีการเรียนรูแบบเพ่ือนชวยเพื่อนที่ผูวิจัยเลือก
นาํ มาใช คอื การสอนโดยการจับคู (One-to-One Tutoring) โดยใหนกั เรียนท่ีมีคะแนนสอบยอ ยครั้ง
ที่ 1 มากกวา 5 คะแนน (ผูที่มีความสามารถทางการเรียนสูงกวา) จับคูกับนักเรียนกลุมตัวอยางทํา
หนา ทีช่ วยสอน และเขา พบปรกึ ษาอาจารยผสู อนรว มกนั

3.4 เครือ่ งมือทใ่ี ชในการวจิ ัย
ผูวิจัยพัฒนาเคร่ืองมือจากการศึกษาขอมูลเอกสารท่ีเกี่ยวกับการเรียนรูแบบเพื่อนชวยเพ่ือน

และเอกสารเกีย่ วกับรายวิชาการเขยี นเว็บเพจดว ยภาษา HTML ไดเ คร่อื งมอื วิจยั แตละชนดิ ดังนี้
1. แบบบันทกึ การเขาพบปรึกษาอาจารยผูสอน เปนการบันทกึ การเขาพบปรึกษา ซักถามขอ

สงสัย สอบถาม ติดตามการเรยี นการสอนแบบเพือ่ นชวยเพ่อื นของกลุมตัวอยา ง
2. แบบทดสอบยอ ย คร้ังที่ 1 จาํ นวน 10 ขอ คะแนนเตม็ 10 คะแนน เพื่อทดสอบผลสัมฤทธ์ิ

ทางการเรยี นหนวยท่ี 1-3 ใชอธบิ ายผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนกอ นการเรียนรแู บบเพอื่ นชวยเพื่อน
3. แบบทดสอบยอยคร้งั ท่ี 2 จํานวน 10 ขอ คะแนนเตม็ 10 คะแนน เพื่อทดสอบผลสัมฤทธ์ิ

ทางการเรยี นหนวยที่ 4-6 ใชอธบิ าย ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นกอนการเรียนรแู บบเพอ่ื นชวยเพื่อน
4. แบบสอบถามความพึงพอใจของนกั เรียนท่ีมีตอการเรียนในรูปแบบการเรียนรรู ว มกันแบบ

เพื่อนชว ยเพื่อน (Peer Tutoring Method)

3.5 การรวบรวมขอ มลู
ระยะเวลาของการทาํ วิจยั 5 สัปดาห โดยดําเนินการดงั นี้

1) คัดเลอื กกลุมเปา หมาย นกั เรียนระดับมัธยมศึกษาปท่ี 5 หอ ง 1 จํานวน 17 คน
2) สรางแบบทดสอบ 2 ชุด ชดุ ท่ี 1 จํานวน 10 ขอ ชุดท่ี 2 จํานวน 10 ขอ

12

3) ครใู หนักเรยี นทาํ ขอสอบ ชดุ ที่ 1 เพ่อื เกบ็ คะแนนสอบไวใชในการเปรียบเทยี บ
4) ครใู หน ักเรียนทําแบบขอสอบชุดที่ 2 เพ่ือเก็บคะแนนสอบไวใชใ นการเปรียบเทยี บ
5) นาํ ผลคะแนนทไ่ี ดมาเปรยี บเทยี บ ถึงความแตกตางของคะแนน
6) ใหนักเรียนทําแบบประเมินผล ความพึงพอใจของนกั เรียนที่มีตอการเรยี นในรูปแบบการ

เรยี นรรู ว มกนั แบบเพอื่ นชวยเพือ่ น (Peer Tutoring Method)

3.6 การวเิ คราะหข อมูล
ผูวจิ ยั วิเคราะหข อ มลู ใชค า สถติ ริ อ ยละ คา เฉล่ีย และความเบีย่ งเบนมาตรฐาน
1. หาคาเฉลย่ี ไดแ ก คาเฉลยี่ และคาสวนเบยี่ งเบนมาตรฐานคาคะแนนเฉลี่ย (Mean)

(บุญชม, 2541 : 56)

X = x

n

เม่ือ X แทน คา เฉลย่ี

 x แทน ผลรวมทง้ั หมดของความถี่ คูณ คะแนน

n แทน ผลรวมท้ังหมดของความถซี่ ึ่งมีคา เทา กบั จํานวนขอมลู ท้ังหมด

2. หาคารอ ยละ (Percentage) ใชสูตรดังนี้ (บุญชม ศรสี ะอาด, 2545 : 104)

P = F 100

n

เม่ือ P แทน รอ ยละ
F แทน ความถที่ ี่ตอ งการแปลคาใหเ ปนรอ ยละ
n แทน จาํ นวนความถที่ งั้ หมด

3. หาคาสว นเบีย่ งเบนมาตรฐาน (S.D.)

S = n x2   x 2
n(n 1)

เม่อื S แทน สว นเบ่ียงเบนมาตรฐาน
n แทน จาํ นวนคทู ั้งหมด
X แทน คะแนนแตละตวั ในกลุมขอมูล
แทน ผลรวมของความแตกตา งของคะแนนแตละคู
x

บทที่ 4
ผลการวเิ คราะหขอมูล

การศึกษาวิจัย เร่ือง การศึกษางานวิจัย เรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการ
เขียนเว็บเพจดวยภาษา HTML โดยการเรียนรูรวมกันแบบเพื่อนชวยเพ่ือน (Peer Tutoring

Method) ของนักเรยี นระดับชนั้ มธั ยมศึกษาปที่ 5 หอง 1 ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2561 โรงเรียน
ปลายพระยาวิทยาคม จังหวัดกระบี่ ผูว จิ ยั ไดน าํ เสนอผลการวิจยั ออกเปน 4 ตอน ดงั น้ี

ตอนท่ี 1 ขอ มลู ของกลุมตวั อยาง
ตอนท่ี 2 ขอมูลของเพ่อื นชว ยเพ่ือน
ตอนที่ 3 ผลการเรียนหลงั ใชการเรยี นแบบเพื่อนชว ยเพ่อื น

เปรยี บเทียบคะแนนสอบยอยครั้งท่ี 1 กับคะแนนสอบยอยคร้ังท่ี 2
ตอนท่ี 4 ความพึงพอใจของนกั เรยี นท่ีมตี อ การเรยี นแบบเพ่อื นชวยเพ่อื นในรายวชิ าการเขียน

เว็บเพจดว ยภาษา HTML

ตอนที่ 1 ขอมลู ของกลุม ตัวอยาง

ตารางที่ 4.1 รายชื่อนกั เรยี นทส่ี อบยอ ย ครั้งที่ 1 ไมผ าน

ลาํ ดับ ชอ่ื – นามสกุล ผลคะแนนสอบปฏบิ ตั ิยอย คร้งั ท่ี 1
4
1 นาย อภเิ ชษฐ จันสีนาค 3
4
2 นาย รัตนศักดิ์ เสมสุกรี 4
5
3 นาย สาโรจน ขวญั สง 5
4
4 นาย ศุภสนิ จันทรไหม 4
4.13
5 นาย อดิศักด์ิ อทุ ัยแจม 0.64

6 นางสาว สพุ ชิ ญา ขอ ยี่แซ

7 นางสาว ณัฐชา มาลาทอง

8 นางสาว ปานไพลนิ รอดรักษ

คะแนนเฉลย่ี (Mean)

สว นเบ่ียงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)

จากกลุมประชากรเปา หมาย คือ นักเรียนระดบั ช้นั มธั ยมศึกษาปท่ี 5 หอง 1 ท่ีเรียนวิชาการ
เขยี นเวบ็ เพจดว ยภาษา HTML ในภาคเรยี นที่ 2 ปการศกึ ษา 2561 จํานวน 17 คน ผวู ิจยั ไดท าํ การ
สุม ตวั อยางอยางงา ยจากประชากรเปาหมายทัง้ หมดดว ยการเลอื กจากนกั เรียนทมี่ ีคะแนนสอบยอ ย

15

ครั้งท่ี 1 นอยกวา 6 คะแนน (จากคะแนนเตม็ 10 คะแนน) หรอื สอบไมผ า นไดก ลมุ ตวั อยางทงั้ ส้นิ 8
คน ดงั แสดงในตารางท่ี 4.1

ตอนท่ี 2 ขอมลู ของเพ่อื นชว ยเพอื่ น

ในการวิจัยคร้ังน้ี ผูวิจัยใชการเรียนแบบเพื่อนชว ยเพื่อน โดยใหกลุมตัวอยางหาเพ่ือนทมี่ ีผล
คะแนนสอบครงั้ ท่ี 1 มากกวา 6 คะแนน มาจบั คูเพื่อชวยสอน อธิบาย ติว และเขาปรึกษากับอาจารย
ตลอดภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2561 พบวาคะแนนเฉลี่ยของการสอบยอยคร้ังท่ี 1 ของเพื่อนชวย
เพื่อนของกลุมตัวอยางมีคาเฉล่ียเทากับ 7.11 คาเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 0.60 ซ่ึงกลุมตัวอยางมี
ทั้งหมด 17 คน จึงมีจํานวน 1 คู ทตี่ องจับกันในกลุมเพ่ือน 2 คน กลุมตวั อยาง 1 คน ดังแสดงใน

ตารางท่ี 4.2

ตารางที่ 4.2 การจับคูข องกลมุ ตวั อยา งและเพื่อน

ลาํ ดับ กลุม ตวั อยาง ชอ่ื เพื่อน ผลคะแนนสอบยอ ย
(กลมุ คะแนนสูงกวา 5 คแนน) ครง้ั ที่ 1 (ของเพือ่ น)
1 นาย อภิเชษฐ จนั สนี าค นางสาวเบญจมาภรณ ถมทอง
7
2 นาย รตั นศกั ดิ์ เสมสกุ รี นางสาวเกษณี สง ศรี
นายกอบชยั ผานุกลู 7
3 นาย สาโรจน ขวัญสง นางสาวปารชิ าติ มัธยัสถ 6
4 นาย ศภุ สิน จนั ทรไหม 7
5 นาย อดศิ กั ด์ิ อุทัยแจม นางสาวเบญจวรรณ จินพล
6 นางสาว สุพชิ ญา ขอ ย่แี ซ นางสาวอาทติ ยา บัวบรรจง 7
7 นางสาว ณฐั ชา มาลาทอง นางสาวกญั ญารัตน ชว ยหงษ 8
8 นางสาว ปานไพลิน รอดรกั ษ นายสุรเดช บุญคงทอง 8
คะแนนเฉลย่ี (Mean) 7
สว นเบ่ยี งเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) นายชัยนุวัฒน สุขขงั
7
7.11
0.60

ตอนท่ี 3 ผลการเรยี นหลงั ใชการเรียนแบบเพื่อนชว ยเพ่อื น
เปรียบเทียบคะแนนสอบยอยครั้งที่ 1 กับคะแนนสอบยอยคร้ังท่ี 2 ผูวิจัยจะทําการ

เปรียบเทียบผลการเรยี นของกลุมตวั อยางภายหลังการเรยี นแบบเพ่ือนชวยเพ่ือน โดยการเปรียบเทียบ
ผลคะแนนของการสอบยอยครงั้ ท่ี 2 คือ หลงั จากจับคตู วิ กบั เพ่ือน กับผลคะแนนการสอบยอ ยคร้งั ท่ี 1
วาหลังการเรียนแบบเพื่อนชวยเพ่ือนทําใหผลการเรียนของนักเรียนกลุมตัวอยางเปลี่ยนแปลงไปใน
ทิศทางที่ดีขึ้น โดยพบวามีนักเรียนจํานวน 8 คน หรือคิดเปนรอยละ 47.06 ของกลุมตัวอยางได

คะแนนสอบสูงข้นึ

16

ตารางท่ี 4.3 เปรียบเทียบคะแนนสอบยอ ยคร้งั ที่ 1 กบั ครั้งที่ 2

ลาํ ดับ ชอื่ – นามสกลุ คะแนน คะแนน การเปลย่ี นแปลง รอ ยละ
คร้งั ท่ี 1 ครั้งที่ 2 การเปลี่ยนแปลง
1 นาย อภิเชษฐ จันสนี าค เพิ่มขึ้น
4 7 เพ่ิมข้ึน ของคะแนน
2 นาย รตั นศกั ด์ิ เสมสุกรี 3 7 เพิม่ ขนึ้ เตม็ 10 คะแนน
7 9 เพิ่มขน้ึ
3 นาย ชัยนุวฒั น สขุ ขัง 4 8 เพ่ิมข้นึ 30
7 8 เพม่ิ ขึ้น 40
4 นาย สาโรจน ขวัญสง 4 6 เพม่ิ ข้นึ
5 7 เพมิ่ ขนึ้ 20
5 นาย สรุ เดช บุญคงทอง 6 8 เพม่ิ ข้ึน 40
8 8 เพิ่มขึ้น
6 นาย ศุภสนิ จันทรไ หม 7 8 เพ่มิ ข้นึ 10
5 7 เพม่ิ ขน้ึ 20
7 นาย อดศิ กั ด์ิ อุทยั แจม 4 6 เพ่ิมข้นึ
7 8 เพม่ิ ข้นึ 20
8 นาย กอบชัย ผานกุ ูล 8 9 เพ่ิมข้ึน 20
4 7 เพมิ่ ข้นึ 0
9 นางสาว อาทติ ยา บัวบรรจง 7 8 เพม่ิ ข้ึน
7 7 เพิ่มขนึ้ 10
10 นางสาว เบญจมาภรณ ถมทอง 5.71 7.53 ลดลง 20
1.65 0.87
11 นางสาว สุพชิ ญา ขอยี่แซ 20
10
12 นางสาว ณัฐชา มาลาทอง 10
30
13 นางสาว เกษณี สง ศรี
10
14 นางสาว กญั ญารตั น ชวยหงษ 0
18.24
15 นางสาว ปานไพลิน รอดรกั ษ
11.85
16 นางสาว เบญจวรรณ จินพล

17 นางสาว ปาริชาติ มธั ยัสถ

คะแนนเฉลี่ย (Mean)

สว นเบ่ียงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)

จากตาราง 4.3 พบวามีนักเรียนจํานวน 17 คน จากกลุมตัวอยาง คิดเปนรอยละ 100 มีผล
คะแนนสอบดขี ึ้น สามารถสอบผา นการสอบยอ ยครัง้ ที่ 2 ไดทุกคน

17

ตอนท่ี 4 ความพึงพอใจของนักเรียนท่ีมตี อ การเรียนแบบเพื่อนชวยเพือ่ น
ในรายวิชาการเขียนเว็บเพจดวยภาษา HTML

ตารางที่ 4.4 แสดงความพงึ พอใจของนกั เรยี นทม่ี ีตอการเรียนแบบเพ่ือนชวยเพอ่ื น
ในรายวิชาการเขยี นเว็บเพจดว ยภาษา HTML

ท่ี รายการ ระดับความพงึ พอใจ ( รอยละ )
คา เฉลี่ย S.D. ระดบั ความพงึ พอใจ

1 เกดิ ความชว ยเหลือซ่งึ กนั และกนั 4.15 0.33 มาก

2 สง ชิ้นงานไดอยา งมคี ุณภาพ 3.85 0.72 มาก

3 ทาํ ใหน ักเรยี นเขาใจเน้ือหา และฝก ปฏบิ ัติไดมากขึ้น 3.55 0.95 มาก

4 สง เสรมิ การคิดวิเคราะห และการตัดสินใจ 3.65 0.77 มาก

5 สงเสรมิ ใหนักเรยี นไดแ ลกเปลี่ยนความรู 3.55 0.81 มาก

ความคดิ การเรยี นรรู วมกัน

รวม 3.75 1.68 มาก

หมายเหตุ
1.00 - 1.49 หมายถึง มคี วามพึงพอใจ อยใู นระดับ นอยทสี่ ุด
1.50 - 2.49 หมายถึง มคี วามพึงพอใจ อยใู นระดบั นอย
2.50 - 3.49 หมายถึง มคี วามพึงพอใจ อยใู นระดบั ปานกลาง
3.50 - 4.49 หมายถึง มคี วามพึงพอใจ อยูในระดบั มาก
4.50 - 5.00 หมายถึง มคี วามพึงพอใจ อยูในระดบั มากทสี่ ุด

จากตารางท่ี 4.4 จะเห็นไดวานักเรียนมีความพึงพอใจตอตอการเรียนในรูปแบบเพื่อนชวย
เพ่ือน รายวิชาการเขียนเวบ็ เพจดว ยภาษา HTML โดยภาพรวมอยูในระดับ มาก และเม่ือแยกเปนราย
ขอ พบวา นักเรียนมีความพึงพอใจจากมากไปนอ ย คือ เกิดความชวยเหลือซึ่งกันและกัน สงชิ้นงานได
อยางมคี ณุ ภาพ สง เสริมการคิด วิเคราะห และการตัดสินใจ อีกท้ังทําใหนักเรียนเขาใจเนื้อหาและฝก
ปฏิบัตไิ ดมากขน้ึ และสง เสรมิ ใหน กั เรียนไดแ ลกเปล่ยี นความรู ความคิด การเรยี นรรู วมกนั ตามลําดับ

บทที่ 5
สรุปผลการวิจัย อภปิ รายผล และขอเสนอแนะ

การวิจัย เรื่อง การศึกษางานวิจัย เรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น วิชาการเขียน
เว็บเพจดวยภาษา HTML โดยการเรียนรูรวมกันแบบเพอ่ื นชวยเพ่ือน (Peer Tutoring Method)
ของนักเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 5 หอง 1 ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2561 โรงเรียน
ปลายพระยาวิทยาคม จังหวัดกระบี่ มีวัตถุประสงคเพื่อพัฒนารูปแบบการเรียนที่เอื้อตอการเรียนรู
ความเขาใจของนักเรียน เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนการเรียนและหลังการเรียนแบบ
เพ่อื นชวยเพอ่ื นของกลุม ตวั อยา ง และศึกษาความพึงพอใจตอ การเรยี นแบบเพื่อนชว ยเพ่อื น

5.1 สรปุ ผลการวิจัย
1. เพอื่ พฒั นารปู แบบการเรียนที่เอื้อตอ การเรียนรู ความเขา ใจของนกั เรียน พบวา กลวิธีการ

เรียนรูแบบเพ่ือนชวยเพื่อน “การสอนโดยการจับคู (One-to-One Tutoring)” โดยใหนักเรียนที่มี
คะแนนสอบยอยคร้ังที่ 1 มากกวา 5 คะแนน (ผูท่ีมีความสามารถทางการเรียนสูงกวา) จับคูกับ
นักเรียนกลุมตัวอยาง ทาํ หนาท่ีชวยสอน และเขาพบปรึกษาอาจารยผูสอนรวมกัน สงผลใหนักเรียน
กลมุ ตัวอยางทมี่ ีความสามารถทางการเรียนต่ํา เขา ใจเน้ือหา และสามารถทําขอสอบไดด ีข้นึ

2. เพ่ือเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนและหลังการเรียนรูแบบเพ่ือนชวยเพื่อน
พบวา รอยละ 100 ของกลุมตัวอยางมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนหลังเรียนแบบเพื่อนชวยเพ่ือนสูงกวา
กอ นการเรียนแบบเพอื่ นชวยเพื่อน (เปรียบเทียบจากคะแนนสอบยอยครั้งที่ 1 กับคะแนนสอบยอย
คร้ังท่ี 2) พบวา คาเฉล่ียมีคาเพมิ่ ข้ึนจากคะแนนสอบยอยคร้ังที่ 1 เทากับ 1.82 ของกลุมตัวอยางมี
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังการเรียนแบบเพอ่ื นชว ยเพอื่ นสูงกวา กอ นการเรยี น

3. เพ่ือศึกษาความพึงพอใจท่ีมีตอการเรียนในรูปแบบการเรียนแบบเพื่อนชวยเพื่อน พบวา
นกั เรียนมีความพึงพอใจตอการเรียนแบบเพื่อนชวยเพ่ือนอยูในระดับมาก และเมื่อแยกเปนรายขอ
พบวา นักเรียนมีความพึงพอใจจากมากไปนอย คือ เกิดความชวยเหลือซ่ึงกันและกัน สงชิ้นงานได
อยางมีคุณภาพ สงเสริมการคดิ วิเคราะห และการตัดสินใจ อีกท้ังทําใหนักเรียนเขาใจเน้ือหาและฝก
ปฏบิ ัตไิ ดมากข้ึนและสง เสรมิ ใหนักเรยี นไดแลกเปลย่ี นความรู ความคิด การเรยี นรูรวมกนั ตามลาํ ดบั

5.2 อภปิ รายผล
จากผลการวิจัย พบวา นักเรียนระดับช้ันมัธยมศกึ ษาปท่ี 5 หอง 1 จํานวน 17 คน สามารถ

สรา งเวบ็ เพจดว ยภาษา HTML ในระดบั ขน้ั พ้นื ฐานได โดยจากเดมิ อาจไมสามารถเขียนหรือจํารูปแบบ
ของคาํ ส่ังไดแ ละเม่ือผานการเรียนรูแบบเพื่อนชวยเพอื่ น การทาํ แบบฝกปฏิบัติ นักเรียนสามารถสราง
เว็บเพจดวยภาษา HTML ได ซ่ึงสอดคลองกับสมมติฐานท่ีตั้งไว และยังสอดคลองกับงานวิจัยของ
อนสุ รา พงคจนั ตา (2558) ซ่งึ ไดศึกษาเกี่ยวกับการเพ่ิมผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนรายวิชาเคมีท่ัวไปโดย
การเรียนการสอนแบบเพ่ือนชวยเพ่ือนของนักศึกษาสาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร มีวัตถปุ ระสงคเ พ่ือ
ศึกษาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนรายวิชาเคมีทั่วไปในนักศึกษาสาขาวิชาสาธารณสุขศาสตรโ ดยวิธีการ
เรยี นการสอนแบบเพ่ือนชว ยเพ่ือนและเพื่อศกึ ษาสภาพในการใหและรบั คําปรกึ ษาของนักศึกษาทีผ่ าน

19

การเรียนการสอนแบบเพือ่ นชว ยเพือ่ น โดยกลมุ ตวั อยา งที่ใชเปน นกั ศึกษาสาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร
ช้ันปที่ 1 ที่ลงทะเบียนเรียนในรายวิชาเคมีทั่วไปในภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2556 จํานวน 14 คน
เครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมลู คือแบบประเมินผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน วิเคราะหขอมูลโดย
การหาคาเฉล่ียสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานและคาสถิติ Pearson correlation ผลการศึกษาพบวา
นักศึกษากลุมเปาหมายที่ผานการเรียนการสอนแบบเพื่อนชวยเพื่อนมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนใน
รายวิชาเคมีทั่วไป คิดเปนรอยละ 85.71 และจากการศึกษาคร้ังน้ีพบวาเนื้อหาสวนใหญที่นักศึกษา
ขอรับคาํ ปรึกษาจะเปนหัวขอท่ีมีเนื้อหาคอนขางยากและเนื้อหาเยอะ และจากการศกึ ษาครั้งน้ีพบวา
จาํ นวนคร้ังของการขอรบั คําปรกึ ษากับมีความสมั พันธกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชาเคมีท่ัวไป
และงานวิจัยของสันติ วงษพันธุ (2557) ศกึ ษาการพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนโดยใชวิธีการเรยี น
การสอนแบบเพื่อนชวยเพื่อนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 2/1 โรงเรียนอัสสัมชัญธนบุริ พบวา
นกั เรยี นมีผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนผานเกณฑทก่ี ําหนดทุกคน และกิจกรรมกลมุ ทําใหเกิดบรรยากาศที่
ดี ชว ยใหนักเรยี นมีความกระตือรือรน สนใจ ต้งั ใจ และมคี วามรับผดิ ชอบมากขึ้น อีกท้ังชวยกระตนุ ให
นกั เรียนมีความกระตือรือรนอยูตลอดเวลา ชวยสรางความสามัคคี รูจักแกปญหารวมกัน ทั้งน้ี อาจ
เปนเพราะนักเรยี นตองการแรงกระตนุ เพือ่ นรว มคดิ เพอื่ นท่ีสามารถชวยเหลือได

5.3 ขอเสนอแนะ
ขอเสนอแนะในการนําผลการวจิ ยั ไปใช
จากการเปรยี บเทียบผลการสอบของนักเรยี นเพ่ือที่จะสามารถทําใหนักเรียนไดเกิด

ทกั ษะ ประสบการณ และความเขา ใจในเนื้อหาของบทเรียนใหมากท่ีสุดเพ่ือจะไดไมเ ปนการสูญเปลา
ทางการศกึ ษานักเรียนสามารถปฏบิ ัติสรางเว็บเพจดว ยภาษา HTML ได และใหนักเรียนไดฝกเขียน
โปรแกรมซํ้า ๆ จนกวาจะเกิดความชํานาญและนําไปเปนพื้นฐานของการเขียนเว็บเพจดานตาง ๆ
ประยกุ ตใ ชใหเกิดประโยชนอ ยางเต็มที่

ขอ เสนอแนะ/ขอคดิ เห็นในการศึกษาคนควาตอ ไป
ควรมีการศึกษาการใชการเรียนรูแบบเพื่อนชวยเพื่อนวิธีอื่น ๆ หรือการเรียนแบบมีสวน

รวมแบบตาง ๆ เพ่ือนํามาเปรียบเทียบวาวิธีใดจะเหมาะสมกับการเรียนการสอนมากที่สุด และนํามาใช
ปรบั ปรงุ การเรียนการสอนในครงั้ ตอ ๆ ไป

บรรณานุกรม

การพฒั นาผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนและความสามารถในการทาํ งานรวมกบั ผอู ืน่ ของนกั ศกึ ษา
สาขาวิชาอตุ สาหกรรมทอ งเท่ยี ว รายวชิ าการตลาดเพ่ืออตุ สาหกรรมทองเทีย่ ว สาขาวชิ า
อุตสาหกรรมทองเที่ยวคณะวทิ ยาการจดั การ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏลาํ ปาง.วิจยั ในช้นั เรยี น

ฉัตรชยั ไชยวฒุ ิ. (2552). การใชก ระบวนการนเิ ทศแบบเพือ่ นชว ยเพอ่ื นในโรงเรียนอนุบาลสภาพร.
การคน ควา แบบอิสระ ศกึ ษาศาสตรมหาบณั ฑติ บัณฑติ วิทยาลยั มหาวิทยาลัยเชียงใหม.

ชีวัน บญุ ตนั๋ . (2546). การใชก ลวิธีการเรียนแบบเพ่ือนชว ยเพอ่ื นเพ่อื เพ่มิ พูนความเขาใจในการ
อา นภาษาอังกฤษ และการมองเหน็ คณุ คา ในตนเองของนักเรียนชัน้ มัธยมศกึ ษาปที่ 4.
วิทยานิพนธ ศึกษาศาสตมหาบณั ฑติ บณั ฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลยั เชียงใหม.

ประนอม ดอนแกว . (2550). การใชก ลวิธีการเรียนรูแบบเพอ่ื นชวยเพ่ือนเพอื่ พฒั นาทกั ษะการ
เคล่อื นไหวทางกาย ในการ เลนวอลเลย บ อล ของนักเรยี นชนั้ มธั ยมศึกษาปที่ 1
โรงเรียนเวียงมอกวทิ ยา. การคน ควา แบบอิสระ ศกึ ษาศาสตรมหาบัณฑิต บณั ฑติ วทิ ยาลัย
มหาวิทยาลัยเชียงใหม.

ปราณี กองจนิ ดา. (2549). การเปรยี บเทยี บผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตรและทกั ษะการ คิด
เลขในใจของนกั เรยี นทไี่ ดร ับการสอนตามรูปแบบซิปปาโดยใชแบบฝกหัดที่เนน ทักษะการ
คดิ เลขในใจกบั นกั เรียนท่ไี ดร บั การสอนโดยใชค ูมือครู. วทิ ยานพิ นธ ค.ม.(หลกั สตู ร และการ
สอน). พระนครศรีอยุธยา : บัณฑติ วทิ ยาลัย มหาวิทยาลยั ราชภฏั พระนครศรอี ยุธยา.
ถายเอกสาร.

เพอ่ื นชวยเพ่ือน.สบื คน ออนไลน วนั ท่ี 25 มกราคม 2562 สามารถเขาถงึ ไดจ าก
http://beer-bussaba.blogspot.com/2011/05/peer-assisted-learning.html

พมิ พันธ เตชะคุปต. (2548). การเรียนการสอนท่เี นนผเู รยี นเปนศูนยก ลาง. กรุงเทพฯ :
เดอะมาสเตอรกรปุ แบเนจเม็นท.

สมพร เชื้อพนั ธ. (2547). การเปรยี บเทยี บผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนคณติ ศาสตรข อง
นกั เรยี นช้ันมธั ยมศึกษาปท ี3่ โดยใชวิธีการจดั การเรียนการสอนแบบสรา งองค
ความรูด วยตนเองกบั การจัดการเรียนการสอนตามปกติ. วิทยานิพนธ ค.ม.
(หลักสูตรและการสอน).พระนครศรีอยธุ ยา : บัณฑติ วิทยาลยั สถาบันราชภัฏ
พระนครศรอี ยุธยา. ถายเอกสาร

สันติ วงษพ นั ธุ. (2557) . การพฒั นาผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นโดยใชวธิ กี ารเรียนการสอนแบบ
เพ่อื นชวยเพือ่ นของนักเรียนช้นั มธั ยมศกึ ษาปที่ 2/1 โรงเรียนอสั สัมชญั ธนบุริ.

อนุสรา พงคจันตา. (2558). การเพ่ิมผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นรายวชิ าเคมที ่ัวไปโดยการเรียนการ
สอนแบบเพอื่ นชว ยเพื่อนของนกั ศึกษาสาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร.
สาํ นักวชิ าวทิ ยาศาสตรสุขภาพ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย

อรทยั จนิ ดาไตรรตั น. (2548). บทบาทของกลุมเพ่อื นชว ยเพ่ือนในการชวยเหลือผตู ิดเชือ้ เอชไอวี
ใหม วี ินยั ในการรักษาดว ยยาตา นไวรสั เอชไอวี. การคนควาแบบอสิ ระ
สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวทิ ยาลัยเชียงใหม.

21

บรรณานุกรม (ตอ)

อัจฉรา บญุ กลน่ิ . (2551). การใหคาํ ปรึกษาแบบเพอื่ นชวยเพอื่ นเพ่ือเพิม่ การควบคุมตนเองของ
ผูหญงิ ทมี่ ีนาํ้ หนกั เกนิ . การคน ควา แบบอิสระ ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑติ วทิ ยาลยั
มหาวิทยาลัยเชียงใหม.

อรศริ ิ เลิศกติ ติสขุ และดวงกมล ลมิ โกมทุ . (2552). การสอนแบบเพื่อนชว ยเพ่อื น.
สามารถเขา ถงึ ไดจ าก http://www.thaigoodview.com/node/42182.
ออนไลน วันที่ 13 เมษายน 2554.

Vicharn Panich. เทคนิค “เพื่อนชว ยเพื่อน”. สามารถเขาถงึ ไดจ าก
http://gotoknow.org/blog/thaikm/2415.
ออนไลน วันท่ี 13 เมษายน 2554.

ภาคผนวก

ภาคผนวก ก
แบบบันทึกการเขาพบปรึกษาอาจารยผูสอน

24

ภาคผนวก ข
แบบทดสอบ

26

แบบทดสอบ
ชุดที่ 1

1. ขอใดคอื โปรแกรมทใ่ี ชใ นการสรางเว็บเพจ

ก. Notepad ข. Web Page Marker

ค. Internet Explorer ง.ขอ ข และ ค ถกู ตอง

2. โปรแกรมเวบ็ บราวเซอร (Web Browser) คือขอใด
ก. โปรแกรมที่ใชเชอื่ มตออนิ เทอรเ น็ต
ข. โปรแกรมทใี่ ชเ ปด อินเทอรเน็ต
ค. โปรแกรมทใี่ ชเปดดูเว็บ
ง. โปรแกรมท่ีใชสรา งเวบ็

3. ขอ ใดคอื เว็บเพจ
ก. เน้ือหารายละเอียดของเวบ็

ข. หนาหนงึ่ ๆ ของเว็บไซต
ค. หนา หลกั ของเวบ็ ไซต
ง. สวนท่ีเชอื่ มโยงหากัน

4. ขอใดคอื เว็บไซต
ก.หนา เวบ็ เพจหลายๆ หนา เชอ่ื มโยงกนั ผา นไฮเปอรล งิ ก

ข. สงิ่ ที่เราเรยี กดูผานโปรแกรมเว็บเบราวเซอร
ค. ขอมูลที่ถูกจดั เกบ็ ไวใ นเวิลดไวดเ วบ็
ง. www.facebook.com

5.http://www.abobe.com/support/techdocs/328576.html สวนทีข่ ดี เสนใตใ น URL คอื ขอใด?

ก. host name ข. สวนระบตุ ําแหนง

ค. content identifier ง. ช่ือไฟลข อมลู

6.ขอ ใดเปนประโยชนของเว็บเพจ ?
ก. นาํ เสนอขาวและเหตุการปจ จบุ นั

ข. นําเสนอขาวและเหตกุ ารณป จจบุ นั
ค. มีบริการสาํ หรบั ทําธุรกรรมการเงนิ ออนไลน

27

ง. ถูกทกุ ขอ

7.ขอ ใดคอื ขั้นตอนของ Web Hosting ?
ก. การออกแบบเวบ็ เพจ
ข. การเชือ่ มโยงระหวา งเวบ็ เพจ
ค. อัพโหลดเวบ็ ไซต ง. จองพ้ืนทเ่ี กบ็ ขอมลู เวบ็ ไซต

8. การเขียนโปรแกรมดว ยภาษา HTML นัน้ จะตอ งขึ้นตน และลงทายดวยคําสั่งในขอใด
ก.<html>… </html> ข. [title]… [/title]

ค.<begin>… </begin> ง. [head]…. [/head]

9. เอชทีเอม็ แอล ( HTML) คอื อะไร
ก. ภาษาคอมพวิ เตอรท ใ่ี ชส ําหรบั ควบคุมการแสดงเอกสารบนระบบเครอื ขา ยอนิ เทอรเน็ต
ข. วิธีการเช่ือมโยงขอมลู ระหวางเคร่ืองคอมพวิ เตอรบนระบบเครอื ขายอนิ เทอรเนต็
ค. เคร่ืองคอมพิวเตอรทที่ ําหนาที่ใหบรกิ ารเอกสารเวบ็ บนระบบเครือขายอนิ เทอรเ นต็
ง. ระบบปฏิบัติการท่ีนยิ มใชบนเครื่องคอมพวิ เตอรแมขายของระบบเครือขา ยอินเทอรเ น็ต

10. โดยทัว่ ไปแลวแฟมขอ มูลทเี่ ปนหนา แรกของเวบ็ เพจ จะมชี อ่ื แฟมขอมูลตรงกับขอใด

ก. index.html ข. menu.html

ค. page1.html ง. first.html

28

แบบทดสอบ
ชุดท่ี 2

29

ภาคผนวก ค
แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนท่ีมีตอการเรียนในรูปแบบการเรียนรูรวมกนั

แบบเพื่อนชวยเพื่อน (Peer Tutoring Method)

31

แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีตอการเรียนในรูปแบบการเรียนรูรวมกนั
แบบเพ่ือนชวยเพ่ือน (Peer Tutoring Method)

คําช้ีแจง ใหทําเครือ่ งหมาย  ใหต รงกบั ความคิดเห็นของนกั เรยี น
ระดบั 5 หมายถึง นักเรียนมีความพึงพอใจอยูใ นระดบั มากทีส่ ุด
ระดบั 4 หมายถึง นักเรยี นมีความพึงพอใจอยูใ นระดบั มาก
ระดบั 3 หมายถงึ นักเรียนมีความพึงพอใจอยใู นระดับปานกลาง
ระดบั 2 หมายถงึ นกั เรยี นมคี วามพึงพอใจอยูในระดับนอ ย
ระดบั 1 หมายถงึ นกั เรียนมีความพึงพอใจอยใู นระดบั นอ ยที่สุด

ขอ ที่ รายการ ระดบั ความพงึ พอใจ

54 3 2 1

1 เกิดความชวยเหลอื ซง่ึ กันและกัน

2 สงชิ้นงานไดอ ยางมคี ุณภาพ

3 ทาํ ใหนักเรยี นเขา ใจเนอื้ หา และฝก ปฏิบตั ไิ ดมากข้ึน

4 สง เสรมิ การคดิ วิเคราะห และการตัดสนิ ใจ

5 สง เสริมใหน ักเรยี นไดแลกเปลี่ยนความรู

ความคดิ การเรยี นรรู ว มกนั

ขอเสนอแนะเพมิ่ เติม
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………


Click to View FlipBook Version