The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานโครงการ แฟ้มสะสมงานอิเล็กทรอนิกส์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by teachinee.phi, 2021-10-22 07:25:49

รายงานโครงการ แฟ้มสะสมงานอิเล็กทรอนิกส์

รายงานโครงการ แฟ้มสะสมงานอิเล็กทรอนิกส์

รายงานผลการดาํ เนนิ งาน

โครงการอบรมเชงิ ปฏิบัตกิารการสรา งแฟม สะสมผลงานอเิ ล็กทรอนกิ ส

นางสาวเตชินี ภริ มย

ตาํ แหนงครู คศ.1

โรงเรยี นปลายพระยาวทิ ยาคม

สาํ นักงานเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษามัธยมศึกษา ตรงั กระบี่
สํานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร



แผนปฏิบัตริ าชการประจำปงบประมาณ 2563

โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการสรา งแฟมสะสมผลงานอเิ ลก็ ทรอนกิ ส (e-portfolio)

แผนงบประมาณ ขอ 2 แผนงานสนบั สนนุ การจัดการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน 15 ป
สนองกลยทุ ธ สพฐ. ขอ 3 , 4
สนองกลยุทธ สพม. 13 ขอ 3 , 4
สนองกลยุทธ ร.ร. ขอ 3 , 4
ลกั ษณะโครงการ  ตอเนื่อง  โครงการใหม
กลมุ งานบรหิ ารงานบคุ คล
ผรู บั ผิดชอบโครงการ นางสาวเตชินี ภริ มย
งบประมาณท้ังส้ิน 14,000 บาท

ระยะเวลาการดำเนินการ วันพฤหัสบดี ท่ี 5 ธันวาคม 2562

1. หลกั การและเหตผุ ล

สภาพสังคมไทยในปจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาไปอยางรวดเร็วในทุก ๆ ดาน ไมวา
จะเปนทางดานเทคโนโลยี การตดิ ตอส่ือสาร สงั คม วฒั นธรรม เศรษฐกจิ และรวมไปถึงดานการศึกษา
ซงึ่ การเปล่ียนแปลงและการพัฒนาทีเ่ ปน ไปอยา งรวดเรว็ นีเ้ อง สง ผลใหสภาพสงั คมไทยในปจ จุบัน กาว
เขา สูส งั คมแหงการเรยี นรู (Learning Society) อยางเต็มรปู แบบ ทั้งนกี้ ็เพราะคนในสงั คมเริ่มมีความ
ตื่นตัว และตระหนักถึงปญหาตาง ๆ ที่จะสงผลตามมาหลังจากความเปลี่ยนแปลงในอนาคต ทำให
ประชาชนภายในประเทศทุกหมูเหลา เกิดความวิตกและตอ งการที่จะพฒั นาตนเองเพื่อใหทันตอ การ
เปลยี่ นแปลงและการพัฒนาประเทศในอนาคต ดวยเหตนุ ้ีการจัดการศึกษาของไทยในปจจุบัน จึงตอ ง
มีการพัฒนารูปแบบของการจัดการศึกษาใหสอดคลองกับความตองการของผูเรียน และสามารถ
ตอบสนองตอกระแสการเปล่ียนแปลงของสังคมไทยและสังคมโลกไดอยางหลากหลาย โดยเฉพาะการ
เปนสงั คมแหง การเรียนรใู นศตวรรษที่ 21 (วิจารณ พานชิ , 2555: 3)

แฟม สะสมงาน เปน การสะสมงานอยางมีจดุ มุง หมาย เพอื่ แสดงถึงผลงาน ความกาวหนา และ
สมั ฤทธ์ิผล (กรมวิชาการ, 2539: 68) ซง่ึ การจดั เกบ็ ผลงานเดมิ น้ัน จัดเกบ็ เปนแฟม เอกสาร เปน วิธกี าร
บนั ทกึ ขอมลู ลงบนแผน กระดาษ หรอื ไฟลเอกสารตา ง ๆ สงผลใหก ารคน หาขอ มูลใชเ วลานาน เอกสาร
อาจสญู หายหรือฉีกขาดไดง าย เมอ่ื เก็บนาน ๆ กระดาษจะเกาทำใหขอ ความเลอะเลอื นอา นไมได การ
ขนยา ยเอกสารทำไดย ากเพราะมีจำนวนและน้ำหนักมาก

e-Portfolio เปน ระบบทีช่ วยในการสรางและเผยแพรแฟมสะสมงาน (Portfolio) ในระบบ
Online ผานทาง Internet สำหรับบุคคลและองคกรตาง ๆ ทีต่ องการสะสมผลงานเปนการนำเสนอ
เอกลักษณ ปรัชญา เปาหมาย ทักษะ ความสามารถ ผลงานของเจาของผา นสื่ออิเล็กทรอนกิ ส ขอมูล
และเน้ือหาสาระมาจากแฟม ผลงาน (hard copy portfolio) เพอื่ เก็บไวเ ปนขอมูลสำหรับการนำเสนอ
ตรวจสอบการเรียนรู หรือการทำงานวาประสบความสำเร็จในระดบั ใด โดยใชเทคนิคการนำเสนอแบบ
web

ซึ่ง e-Portfolio จะชวยลดการใชทรัพยากรสำนักงาน เชน กระดาษ หมึกพิมพ เปนตน
สะดวกตอการบริหารจัดการ สามารถสงขอมูลที่เปนทั้ง ภาพ เสียง และภาพเคลื่อนไหว ไดทกุ ที่ ทกุ
เวลา สะดวกสำหรับผูบริหารในการพิจารณาผลการประเมินสมรรถนะของบุคลากรในสายบังคับ
บัญชา นำเสนอผลงานซึงสามารถจัดแสดงผลงานไดอ ยา งตรงจุดในสิง่ ตองการ นำเสนอ เขาถึงผลงาน
ไดโดยสะดวกและการจัดระบบผลงานทำใหประหยัดเนื้อที่ที่เก็บผลงาน เก็บสะสมผลงานไดหลาย
รูปแบบ ทั้งรูปภาพ เสียง วิดีโอ ขอความ สื่อ มัลติมีเดยี ตางๆ แกไขและปรับปรุงแฟมสะสมผลงานได
อยางสะดวก และสามารถเช่ือมโยงขอ มลู ผลงานโดยสามารถอางอิงผลงานรว มกันได

สามารถประยุกตใ ชก บั วงการศึกษา ท้งั นกั เรยี น ครูผสู อน และสถาบัน ไดดังนี้
นักเรียน
- ตูโชวความสำเรจ็ บนหนา เว็บ
- รวบรวมและสะทอ นใหเหน็ ถงึ การทำงานของนกั เรียน
- แลกเปล่ยี นประสบการณก ารศกึ ษาและการทำงานของนกั เรียน
- สรา งงานแบบไดนามิก
- สรา งแผนของการศกึ ษาออนไลนแ ละการทำงานกบั ท่ปี รึกษาของนักเรียน
ครผู สู อน
- สรางโครงการ/ผลงานท่ีมีเกณฑก ารใหคะแนน
- สรา งโครงการรว มกับอาจารยผูสอนรายวิชาอนื่
- สามารถทำงานออนไลน ใหน ักศกึ ษาความเห็นและใหคะแนนได
- สรา งแฟมผลงานทสี่ ง เสรมิ การเรยี นการสอนสำหรับผูเรียน
- ตโู ชวความสำเรจ็
สถาบนั การศกึ ษา
- เก็บงานของนกั เรียน เพ่ือการประเมินผล
- เลอื กทำงานแบบสมุ และไมระบชุ อ่ื
- ใชเกณฑก ารใหคะแนนตามผลงานทปี่ รากฏ
- สรา งรายงานผลการจัดการเรยี นการสอนไดสะดวก

ซึ่งการจัดทำแฟมสะสมผลงานอิเล็กทรอนิกส (e-portfolio) สอดคลองกับนโยบายของ
รัฐบาลทีไ่ ดมีแนวคิดและกำหนดแผนแมบ ทเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษาของ
กระทรวงศึกษาธิการ โดยสรุปไดว าสงเสริมใหผสู อน บุคลากรทางการศึกษา และสถานศึกษาไดมีการ
พัฒนาและใชสื่ออิเล็กทรอนิกส (e-Contents) เพื่อการจัดการเรียนรูอยางตอเนื่องตามมาตรฐานท่ี
กำหนด ทั้ง e-Book, e-Library, Courseware, LMS รวมทั้งการจัดศูนยสื่ออิเล็กทรอนิกส (e-
Content Center) และการพัฒนาระบบการเรียนรูดวย ICT (e-Learning System) ในรูปแบบทีÉ
หลากหลาย (แมบ ทเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สาร 2550 – 2554 : 3)

จากปญหาการจัดเกบ็ เอกสารตาง ๆ ทีไ่ ดกลาวมาในขางตน จึงมีความตระหนกั และมีความ
ตองการทจ่ี ะแกไขปญหาดังกลา วอยางแทจริง โดยมแี นวความคดิ นำเทคโนโลยีสารสนเทศและรูปแบบ
การจัดการเรียนรูเขามาชวยในกระบวนการพัฒนาการเรียน การสอน การจัดเก็บผลงาน โดย
ดำเนนิ การพัฒนาระบบแฟมสะสมผลงานอิเล็กทรอนิกส (E-Portfolio) เพื่อใหครู บุคคลากรทางการ
ศึกษา ไดจ ัดทำแฟมสะสมผลงาน และจัดเกบ็ ผลงานของตนเองใหอยูในรูปมัลติมีเดยี รูปภาพ เอกสาร

ตาง ๆ สามารถเรยี กดูแฟมสะสมผลงานดังกลาวไดทกุ ที่ ทุกเวลา ที่มีระบบเครือขายอนิ เทอรเ น็ต อีก
ทั้งชวยลดภาวะโลกรอน เพราะการจัดทำแฟมสะสมผลงานอิเล็กทรอนิกสลดการใชกระดาษ ทำให
แฟมสะสมผลงานมปี ระสิทธิภาพมากยิง่ ข้นึ

2. วตั ถปุ ระสงค
1. เพื่อใหครู และบุคคลากรทางการศึกษา มีความรู เทคนิค วิธีการและกระบวนการสำหรับ

จดั เก็บผลงานอยางเปน ระบบผา นเครอื ขา ยคอมพวิ เตอร
2. เพื่อสง เสริมใหเกิดการเรยี นรูและกา วทันเทคโนโลยียคุ Thailand 4.0 สอดคลองกับ

ศตวรรษท่ี 21
3. เพ่อื มีแหลงเผยแพรงานสูสาธารณะชน

2.1 ผลผลติ (OUTPUT)
ครูและบุคลากรทางการศึกษาไดรับการอบรมเชิงปฏิบัติการการสรางแฟมสะสม

ผลงานอิเล็กทรอนกิ ส (e-portfolio)

2.2 ผลลพั ธ (OUTCOME)
ครูและบุคลากรทางการศึกษา ไดรับการอบรมเชิงปฏิบัตกิ ารการสรางแฟม สะสม

ผลงานอเิ ล็กทรอนกิ ส (e-portfolio) และนำไปใชในการเกบ็ สะสมผลงานอยางมปี ระสิทธิภาพ

3. ขน้ั ตอนการดำเนินงานตาม PDCA
3.1 การวางแผนโครงการ (Plan)
3.1.1 สำรวจและสอบถามความตองการในการเขา ฝกอบรมปฏิบัติการการสรา งแฟม

สะสมผลงานอิเล็กทรอนิกส (e-portfolio) ของครู และบุคลากรทางการศึกษาในโรงเรียน
ปลายพระยาวิทยาคม/วางแผนโครงการ

3.1.2 ตดิ ตอวทิ ยากรผเู ชย่ี วชาญ (ผูท รงคุณวฒุ ิ) ภายนอก
3.1.3 จัดทำโครงการและขออนุมตั ิงบประมาณจากโรงเรียนปลายพระยาวิทยาคม

3.2 ขัน้ ตอนดำเนนิ การ (Do)
3.2.1 ประชาสัมพันธโครงการและกำหนดการกับครู บุคคลากรทางการศึกษา

ภายในโรงเรียนและวทิ ยากร
3.2.2 จัดเตรยี มความพรอ มของสถานท่ี เอกสารประกอบการอบรม
3.2.3 ดำเนินโครงการ จัดฝกอบรม เชิงปฏิบัติการการสรางแฟมสะสมผลงาน

อิเลก็ ทรอนิกส (e-portfolio)

3.3 ขัน้ ตอนสรุปและประเมินผลโครงการ/กิจกรรม (Check)
8.3.1 ประเมนิ ผลการดำเนนิ และผลการเรยี นรโู ดยแบบสอบถาม
8.3.2 สรปุ ผลการดำเนินโครงการรายงานตอผอู ำนวยการโรงเรียน

แผนการดำเนนิ งาน ตุลาคม พฤศจกิ ายน ธนั วาคม
2562 2562 2562
ขัน้ ตอนการดำเนนิ งาน สปั ดาหท่ี สัปดาหท่ี สัปดาหที่ ผูร ับผดิ ชอบ

1. สำรวจความตอ งการ 1 2341 2341234
เพื่อวางแผนจัดทำโครงการ
นางสาววารณุ ี มีชนะ
2. ติดตอวิทยากร
3.ขออนุมตั โิ ครงการและงบประมาณ และนางสาวเตชินี ภิรมย
4. ดำเนนิ โครงการ
5. ประเมินผลโครงการ นางสาวเตชินี ภิรมย
6. รายงานสรุปผลโครงการ
นางสาววารณุ ี มชี นะ
และนางสาวเตชินี ภิรมย

นางสาววารณุ ี มชี นะ
และนางสาวเตชินี ภิรมย

นางสาวเตชนิ ี ภิรมย

นางสาววารณุ ี มชี นะและ
นางสาวเตชนิ ี ภริ มย

4. เปา หมาย

4.1 ดานปรมิ าณ
1) ครู และบุคคลากรทางการศกึ ษาโรงเรียนปลายพระยาวทิ ยาคม จังหวัดกระบี่ เขา

รว มอบรมเชงิ ปฏบิ ัติการการสรา งแฟม สะสมผลงานอิเลก็ ทรอนิกส (e-portfolio) รอ ยละ 80
2) ระดับความพึงพอใจและผลการเรียนรูของผูเขารวมโครงการอยูในระดับ 3.51

ขนึ้ ไป

4.2 ดานคณุ ภาพ
รอยละ 80 ของผูเขารวมโครงการมีความรู ความเขาใจ สามารถสรางแฟมสะสม

ผลงานอิเล็กทรอนิกส (e-portfolio) เพอ่ื แกปญหา และพฒั นาคุณภาพสำหรับการเกบ็ สะสมผลงาน
ตา ง ๆ ไดอยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ

5. ตวั ช้ีวัดความสำเร็จ
รอยละ 80 ของผเู ขา รบั การอบรม มีความรคู วามเขาใจ และสามารถสรางแฟม สะสม

ผลงานอิเลก็ ทรอนิกส (e-portfolio) ได โดยประเมินจากการสอบถาม การสังเกต การตอบคำถามใน
ระหวางดำเนินการอบรม และจากแบบประเมนิ โครงการ

6. งบประมาณ จำนวน ราคาตอ หนวย รวม
- - 1,000.00
ท่ี รายการ
1. คาเดนิ ทางไป-กลบั วิทยากร 70 คน 50.00 3,500.00
2. คาอาหารวา งและเครื่องด่มื จำนวน 2 มื้อ/คน ม้อื ละ 25 บาท 70 คน 60.00 4,200.00
3. อาหารกลางวนั จำนวน 1 มอื้ /คน มื้อละ 60 บาท 2 เสน 279.00 558.00
4. สะพานไฟ (ปลกั๊ 3 ตา) 70 คน 40.00 2,800.00
5. เอกสารประกอบการอบรม 2 แพค 265.00 530.00
6. กระดาษสำหรบั จดั ทำเกยี รตบิ ัตร
7. ของรางวัล บคุ คลไดรบั โหวต จัดทำแฟม 10 อันอบั แรก - - 1,370.00

รวมเงนิ (หนึ่งหมนื่ ส่พี นั บาทถว น) 14,000.00

6. กิจกรรมและการดำเนนิ การ วันพฤหัสบดี ที่ 5 ธนั วาคม 2562

เวลา รายการปฏบิ ัติ
08.30 – 09.00น.
ลงทะเบยี น

09.00 – 09.30น. ทำไมตองสรา งแฟม สะสมผลงานอเิ ลก็ ทรอนกิ ส (e-portfolio)

09.30 – 10.30 น. ปฏบิ ัติการสรางแฟมสะสมผลงานอเิ ล็กทรอนิกส (e-portfolio)

10.30 – 10.45 น. พกั รับประทานอาหารวา ง

10.45 - 12.00 น. ปฏบิ ตั ิการสรา งแฟมสะสมผลงานอิเล็กทรอนิกส (e-portfolio)

12.00 – 13.00 น. พกั รบั ประทานอาหารเทยี่ ง

13.00 – 14.30 น. ปฏบิ ัตกิ ารสรางแฟมสะสมผลงานอิเล็กทรอนิกส (e-portfolio)

14.30 – 14.45 น. พกั รบั ประทานอาหารวาง

14.45 – 15.30 น. รว มโหวตแฟม สะสมผลงานและทำแบบสอบถาม

ลงช่อื …….....……….............ผูเ สนอโครงการ ลงชือ่ ..........................................ผเู หน็ ชอบโครงการ
(นางสาวเตชินี ภริ มย) (นางสาววารณุ ี มชี นะ)
5 พฤศจิกายน 2562 6 พฤศจิกายน 2562

ลงช่อื ...............................................ผอู นมุ ัตโิ ครงการ
(นายวิโรจน วนุ แกว )
7 พฤศจกิ ายน 2562

รายงานผลการดำเนินงานโครงการ
โครงการอบรมเชงิ ปฏิบตั กิ ารการสรางแฟม สะสมผลงานอเิ ล็กทรอนกิ ส (e-portfolio)

ผูร ับผดิ ชอบโครงการ

นางสาวเตชนิ ี ภิรมย

โรงเรียนปลายพระยาวทิ ยาคม
สำนกั งานเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษามัธยมศึกษาเขต 13

สารบญั 1

เร่อื ง หนา
สารบัญ 1
บทสรปุ 2
รายงานผลการดำเนินงาน 3
ภาคผนวก

1. โครงการท่ีไดร บั อนมุ ตั ิ
2. กำหนดการ / คำกลา วเปด -ปด งาน / เกยี รติบตั ร
3. คำสั่งคณะกรรมการดำเนินโครงการ
4. เอกสารท่ีเก่ยี วของกับโครงการ

- หนังสอื เชญิ วิทยากร / แบบตอบรับ / ประวัตวิ ิทยากร
- เอกสารประกอบท่แี จกในโครงการ
- รายชือ่ ผูเขา รวมโครงการ / ใบลงทะเบียน
5. เคร่อื งมอื ท่ีใชใ นการประเมนิ โครงการ (แบบสอบถาม)
6. ภาพบรรยากาศการดำเนินโครงการ

2

บทสรปุ

โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการสรางแฟมสะสมผลงานอิเล็กทรอนิกส (e-portfolio) มี
วตั ถปุ ระสงคเ พื่อใหค รู และบคุ คลากรทางการศึกษา มคี วามรู เทคนคิ วิธีการและกระบวนการสำหรับ
จัดเก็บผลงานอยางเปนระบบผานเครือขายคอมพิวเตอร สงเสริมใหเกิดการเรียนรูและกาวทัน
เทคโนโลยียุค Thailand 4.0 สอดคลองกับศตวรรษที่ 21 และมีแหลงเผยแพรงานสูสาธารณะชน
โดยมีเปาหมายใหครูและบุคลากรทางการศึกษา ไดรับการอบรมเชิงปฏิบัติการการสรางแฟมสะสม
ผลงานอิเล็กทรอนิกส (e-portfolio) และนำไปใชในการเก็บสะสมผลงานอยางมีประสิทธิภาพ โดยมี
นางสาวเตชินี ภริ มย ครโู รงเรียนปลายพระยาวิทยาคม เปนผูรบั ผิดชอบโครงการ

โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการสรางแฟมสะสมผลงานอิเล็กทรอนิกส (e-portfolio) ได
ดำเนินโครงการที่โรงเรียนปลายพระยาวิทยาคม จังหวัดกระบี่ เมื่อวันที่ 5 ธนั วาคม 2562 โดยมี
ขั้นตอนดำเนินการตาม Deming Cycle : PDCA คือ การวางแผนโครงการ (Plan) สำรวจและ
สอบถามความตองการในการเขาฝกอบรมปฏิบัติการการสรางแฟมสะสมผลงานอิเล็กทรอนิกส (e-
portfolio) ของครู และบคุ ลากรทางการศึกษา 2) ตดิ ตอวทิ ยากรผเู ช่ียวชาญ และ 3) จดั ทำโครงการ
ขั้นตอนดำเนินการ (Do) 1) ประชาสัมพันธโครงการ 2) จัดเตรียมความพรอมของสถานที่ เอกสาร
ประกอบการอบรม และ 3) ดำเนินโครงการ ขั้นตอนสรุปและประเมินผลโครงการ/กิจกรรม
(Check) 1) ประเมินผลการดำเนินและผลการเรียนรูโดยแบบสอบถาม 2) สรุปผลการดำเนิน
โครงการรายงานตอผูอำนวยการโรงเรียน และ การปรับปรุงแกไข (Act) โครงการอบรมเชิง
ปฏิบัติการการสรางแฟมสะสมผลงานอิเล็กทรอนิกส (e-portfolio) มีการปรับปรุงแกไขปญหาและ
อปุ สรรคทม่ี ใี นขณะปฏบิ ัตโิ ครงการและวิธกี ารแกไข ปรับปรงุ ใหโ ครงการดำเนนิ การไดจ นสำเร็จ

สรุปผลการประเมินตามวัตถุของการประเมินโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการสรางแฟม
สะสมผลงานอิเล็กทรอนิกส (e-portfolio) บรรลุผลสำเร็จตามเปาหมายและตัวชี้วัด คือ ครู และ
บุคคลากรทางการศึกษาโรงเรียนปลายพระยาวิทยาคม เขารวมอบรมเชิงปฏิบัติการการสรางแฟม
สะสมผลงานอิเลก็ ทรอนกิ ส (e-portfolio) รอยละ 80 และรอ ยละ 80 ของผเู ขา รว มโครงการมีความรู
ความเขาใจ สามารถสรา งแฟม สะสมผลงานอิเล็กทรอนิกส (e-portfolio) เพื่อแกปญหา และพัฒนา
คุณภาพสำหรับการเก็บสะสมผลงานตาง ๆ ไดอยางมีประสิทธิภาพ รวมทัง้ ผูมสี วนเกี่ยวของมีระดับ
ความพึงพอใจโดยภาพรวมอยูในระดับมาก คา เฉลี่ย 4.29 (x = 4.29) โดยมปี ญหา/อุปสรรค ดังนี้
1) ขอจำกัดดา นเคร่อื งคอมพวิ เตอรส ำหรบั การอบรมเชิงปฏิบตั กิ าร 2) สัญญาณเครอื ขายอนิ เทอรเนต็
หลุดหายบอยครั้ง ปรับปรุง แกไข ดงั นี้ 1) ครูและบุคคลากรทางการศึกษานำเครื่องคอมพวิ เตอร
สวนตัวสำหรับใชในการอบรมในครั้งน้ี และ 2) เพิ่มจุดวาง Access Point สำหรับกระจายสัญญาณ
อนิ เทอรเ น็ตทัว่ ถึงมากย่งิ ข้นึ ขอ เสนอแนะเพื่อการปรุงพฒั นาในคร้งั ตอไป ประกอบดวย 1) ชี้แจงการ
เตรียมพรอมอุปกรณเพิ่มเติม และ 2) จัดเปนรุน รุนละ ไมควรเกิน 30 คน เพื่อความทั่วถึงในการ
อบรมเชงิ ปฏบิ ตั ิการดังกลา ว

เตชนิ ี ภิรมย
ผรู บั ผดิ ชอบโครงการ

3

รายงานผลการดำเนนิ งาน

1. ความเปนมาและความสำคญั ของโครงการและการประเมนิ โครงการ
สภาพสงั คมไทยในปจจบุ ันมีการเปลย่ี นแปลงและพัฒนาไปอยางรวดเร็วในทกุ ๆดา น ไมวาจะ

เปนทางดานเทคโนโลยี การติดตอสื่อสาร สังคม วัฒนธรรม เศรษฐกิจ และรวมไปถึงดานการศึกษา
ซึ่งการเปลย่ี นแปลงและการพฒั นาท่ีเปน ไปอยางรวดเร็วน้เี อง สง ผลใหส ภาพสังคมไทยในปจ จบุ ัน กาว
เขา สสู งั คมแหงการเรียนรู (Learning Society) อยางเตม็ รปู แบบ ท้งั นก้ี เ็ พราะคนในสังคมเร่ิมมีความ
ตื่นตัว และตระหนักถึงปญหาตางๆ ที่จะสงผลตามมาหลังจากความเปลี่ยนแปลงในอนาคต ทำให
ประชาชนภายในประเทศทุกหมูเหลา เกิดความวิตกและตองการที่จะพัฒนาตนเองเพื่อใหทันตอการ
เปลีย่ นแปลงและการพฒั นาประเทศในอนาคตดว ยเหตนุ ี้การจัดการศึกษาของไทยในปจจบุ นั จงึ ตองมี
การพัฒนารูปแบบของการจัดการศึกษาใหสอดคลองกับความตองการของผูเรียน และสามารถ
ตอบสนองตอกระแสการเปล่ียนแปลงของสังคมไทยและสังคมโลกไดอยางหลากหลายโดยเฉพาะการ
เปนสังคมแหงการเรียนรใู นศตวรรษท่ี 21 (วิจารณพ านิช, 2555: 3)

แฟม สะสมงาน เปนการสะสมงานอยางมีจุดมุง หมายเพือ่ แสดงถึงผลงาน ความกาวหนาและ
สัมฤทธิ์ผล (กรมวิชาการ, 2539 : 68) ซึ่งการจัดเกบ็ ผลงานเดิมนั้น จัดเก็บเปนแฟมเอกสาร เปน
วิธีการบันทึกขอมูลลงบนแผนกระดาษ หรือไฟลเอกสารตาง ๆ สงผลใหการคนหาขอมูลใชเวลานาน
เอกสารอาจสูญหายหรือฉีกขาดไดงาย เมื่อเก็บนาน ๆ กระดาษจะเกาทำใหขอความเลอะเลอื นอาน
ไมไ ด การขนยา ยเอกสารทำไดย ากเพราะมีจำนวนและนำ้ หนกั มาก

e-Portfolio เปน ระบบท่ีชวยในการสรางและเผยแพรแฟมสะสมงาน (Portfolio) ในระบบ
Online ผานทาง Internet สำหรับบุคคลและองคกรตาง ๆ ทีต่ องการสะสมผลงานเปนการนำเสนอ
เอกลักษณ ปรัชญา เปาหมาย ทักษะ ความสามารถ ผลงานของเจาของผา นสื่ออิเล็กทรอนกิ ส ขอมูล
และเน้ือหาสาระมาจากแฟมผลงาน (hard copy portfolio) เพอ่ื เกบ็ ไวเ ปน ขอมูลสำหรับการนำเสนอ
ตรวจสอบการเรียนรู หรือการทำงานวา ประสบความสำเรจ็ ในระดับใด โดยใชเทคนิคการนำเสนอแบบ
web

ซึ่ง e-Portfolio จะชวยลดการใชทรัพยากรสำนักงาน เชน กระดาษ หมึกพิมพ เปนตน
สะดวกตอการบรหิ ารจัดการ สามารถสงขอมูลที่เปนทั้ง ภาพ เสียง และภาพเคล่ือนไหว ไดทุกที่ ทกุ
เวลา สะดวกสำหรับผูบริหารในการพิจารณาผลการประเมินสมรรถนะของบุคลากรในสายบังคับ
บญั ชา นำเสนอผลงานซึงสามารถจดั แสดงผลงานไดอยางตรงจุดในสิ่งตองการ นำเสนอ เขา ถึงผลงาน
ไดโดยสะดวกและการจัดระบบผลงานทำใหประหยัดเนื้อที่ที่เก็บผลงานเก็บสะสมผลงานไดหลาย
รูปแบบ ทั้งรูปภาพ เสียง วิดีโอ ขอความ สื่อ มัลติมีเดียตา งๆ แกไ ขและปรับปรุงแฟมสะสมผลงานได
อยางสะดวก และสามารถเชอื่ มโยงขอ มูลผลงานโดยสามารถอางอิงผลงานรวมกนั ได

ซึง่ การจัดทำแฟมสะสมผลงานอิเล็กทรอนิกส (e-portfolio)สอดคลอ งกับนโยบายของรฐั บาล
ที่ไดมีแนวคิดและกำหนดแผนแมบทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษาของ
กระทรวงศึกษาธิการโดยสรุปไดวาสงเสริมใหผูสอนบุคลากรทางการศึกษาและสถานศึกษาไดมีการ
พัฒนาและใชสื่ออิเล็กทรอนิกส(e-Contents) เพื่อการจดั การเรียนรูอยางตอเนื่องตามมาตรฐานที่
กำหนด ทั้ง e-Book, e-Library, Courseware, LMS รวมทั้งการจัดศูนยสื่ออิเล็กทรอนิกส(e-

4

Content Center) และการพัฒนาระบบการเรียนรูดวย ICT (e-Learning System) ในรูปแบบที่
หลากหลาย (แมบ ทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สาร 2550 – 2554 : 3)

จากปญหาการจัดเก็บเอกสารตาง ๆ ทีไ่ ดกลาวมาในขางตน จึงมีความตระหนักและมีความ
ตอ งการที่จะแกไขปญหาดังกลาวอยา งแทจรงิ โดยมีแนวความคดิ นำเทคโนโลยีสารสนเทศและรูปแบบ
การจัดการเรียนรูเขามาชวยในกระบวนการพัฒนาการเรียนการสอน การจัดเก็บผลงาน โดย
ดำเนนิ การพัฒนาระบบแฟมสะสมผลงานอิเล็กทรอนิกส (E-Portfolio) เพื่อใหครู บุคคลากรทางการ
ศึกษาไดจัดทำแฟมสะสมผลงาน และจัดเก็บผลงานของตนเองใหอยูในรูปมัลตมิ ีเดีย รปู ภาพเอกสาร
ตางๆ สามารถเรียกดูแฟมสะสมผลงานดังกลา วไดทุกท่ี ทุกเวลา ที่มีระบบเครอื ขายอินเทอรเน็ต อกี
ทั้งชว ยลดภาวะโลกรอน เพราะการจัดทำแฟมสะสมผลงานอิเล็กทรอนกิ สลดการใชกระดาษ ทำให
แฟมสะสมผลงานมปี ระสทิ ธภิ าพมากยงิ่ ขน้ึ

การจัดทำรายงานโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการสรางแฟมสะสมผลงานอิเล็กทรอนิกส
(e-portfolio) เพื่อตรวจสอบความสำเร็จของการดำเนินงานโครงการ และปญหาอุปสรรคในการ
ดำเนนิ งานโครงการ และนำไปสกู ารจัดโครงการครั้งตอไปรวมทั้งการวางแผนจดั ทำโครงการครั้งตอไป

2. วตั ถปุ ระสงคของการประเมนิ โครงการ
1. เพื่อใหครู และบุคคลากรทางการศึกษา มีความรู เทคนคิ วิธีการและกระบวนการสำหรับ

จัดเก็บผลงานอยา งเปนระบบผานเครอื ขา ยคอมพิวเตอร
2. เพื่อสงเสรมิ ใหเ กิดการเรียนรแู ละกาวทันเทคโนโลยยี ุค Thailand 4.0 สอดคลองกับ

ศตวรรษท่ี 21
3. เพอ่ื มีแหลง เผยแพรงานสูสาธารณะชน

3. ขอบเขตของการดำเนนิ งานโครงการ
3.1 เปาหมายของโครงการ ครูและบุคคลากรทางการศึกษาของโรงเรียนปลายพระยา-

วทิ ยาคม จังหวัดกระบ่ี จำนวน 75 คน
3.2 สถานที่และวันเวลาดำเนินงาน หองปฏิบัติคอมพิวเตอร 1 โรงเรียนปลายพระยา-

วทิ ยาคม จงั หวดั กระบี่
3.3 ขน้ั ตอนการดำเนนิ งานและกิจกรรมทสี่ ำคญั
3.3.1 ประชาสัมพันธโครงการและกำหนดการกับครู บุคคลากรทางการศึกษา

ภายในโรงเรยี นและวทิ ยากร
3.3.2 จดั เตรียมความพรอมของสถานท่ี เอกสารประกอบการอบรม
3.3.3 ดำเนินโครงการ จัดฝกอบรม เชิงปฏิบัติการการสรางแฟมสะสมผลงาน

อเิ ลก็ ทรอนิกส (e-portfolio)

4. ผลการประเมินโครงการ
4.1 ขอ มลู พ้ืนฐานการดำเนินงานโครงการ
ครูและบุคคลากรทางการศึกษาของโรงเรียนปลายพระยาวิทยาคม จังหวัดกระบี่

เขารวมอบรมในวันที่ 5 ธันวาคม 2562 ณ หองปฏิบัติการคอมพิวเตอร 1 โรงเรียนปลายพระยา-

5

วิทยาคม จำนวน 75 คน โดยมีทีมวทิ ยากรมาจากมหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลศรวี ชิ ัย วิทยาเขต
นครศรีธรรมราช รวมกับนางสาวเตชินี ภิรมย ครูโรงเรียนปลายพระยาวิทยาคม จังหวัดกระบี่ ได
อบรมเกี่ยวกับการสรา งเว็บไซตอยางงายดวย Google Site และครแู ละบุคคลากรทางการศึกษาของ
โรงเรียนปลายพระยาวิทยาคม เมื่อผานการอบรมเสร็จเรียบรอย ครูมีเว็บไซตสำหรับจัดเก็บงาน
ออนไลนของตนเองทุกคน

4.2 ผลการประเมนิ ความสำเรจ็ ของการดำเนินงานโครงการ
1) รอ ยละ 80 ของผเู ขา รว มโครงการมีความรู ความเขา ใจ สามารถสรางแฟมสะสม

ผลงานอิเล็กทรอนิกส (e-portfolio) เพื่อแกปญหา และพฒั นาคุณภาพสำหรับการเก็บสะสมผลงาน
ตา ง ๆ ไดอ ยางมปี ระสทิ ธิภาพ

2) รอยละ 80 ของผูเขารับการอบรมมีความรูความเขาใจ และสามารถสรางแฟม
สะสมผลงานอิเล็กทรอนิกส (e-portfolio) ได โดยประเมินจากการสอบถาม การสังเกต การตอบ
คำถามในระหวา งดำเนนิ การอบรม และจากแบบประเมินโครงการ

3) ความคิดเห็นของผูเขารวมอบรมที่มีตอการบริหารจัดการและการดำเนินงาน
โครงการ ความพึงพอใจของผูเขารวมอบรมโครงการและการดำเนินงานโครงการ มีความพึงพอใจใน
ภาพอยใู นระดบั มาก เฉลี่ย 4.29

4) โดยมีขอ เสนอแนะของผูเขารวมอบรม ประกอบดว ย
4.1) ควรเพม่ิ ระยะเวลาอบรมมากกวา 1 วนั
4.2) มีความสนใจอบรมตอ ยอดเกี่ยวกับการสรา งสอ่ื การเรยี นการสอนผานสือ่ ออนไลน
4.3) ปญหาอุปสรรคทเี กดิ ข้ึนจากการดำเนินงานโครงการและแนวทางแกป ญหา
1) ปญหา/อุปสรรค เครื่องคอมพิวเตอรสำหรับใชประกอบการ

อบรมเชงิ ปฏบิ ัตกิ ารมีไมเพียงพอ
2) แนวทางแกปญหา แนะนำผูเขารวมอบรมเชิงปฏิบัติการ หาก

ทา นใดมีคอมพิวเตอรโนต บุคสามารถนำมาใชประกอบสำหรบั การเขา รว มอบรมเชงิ ปฏิบัตกิ ารได

5. สรุปคา ใชจ า ยของโครงการ/กจิ กรรม

ที่ รายการ จำนวน ราคาตอ รวม
หนว ย
1. คาเดินทางไป-กลบั วิทยากร - 1,000.00
2. คา อาหารวา งและเคร่ืองด่ืม จำนวน 2 มื้อ/คน 70คน - 3,500.00
50.00
มอื้ ละ 25 บาท 70 คน
3. อาหารกลางวนั จำนวน 1 มื้อ/คน ม้ือละ 60 บาท 2 เสน 60.00 4,200.00
4. สะพานไฟ (ปล๊ัก 3 ตา) 70 คน 279.00 558.00
5. เอกสารประกอบการอบรม 2 แพค 40.00 2,800.00
6. กระดาษสำหรับจัดทำเกียรติบัตร 265.00 530.00
7. ของรางวลั บคุ คลไดร ับโหวต จัดทำแฟม 10 อันอับแรก -
- 1,370.00
รวมเงิน (หนึ่งหม่ืนสพี่ นั บาทถว น)
14,000.00

6

6. สรปุ ผลและขอ เสนอแนะ
6.1) สรปุ ผลการดำเนนิ งาน
1) รอยละ 80 ของผูเขารับการอบรมมีความรูความเขาใจ และสามารถสรางแฟม

สะสมผลงานอิเล็กทรอนิกส (e-portfolio) ได โดยประเมินจากการสอบถาม การสังเกต การตอบ
คำถามในระหวา งดำเนนิ การอบรม และจากแบบประเมนิ โครงการ

2) ความคิดเห็นของผูเขารวมอบรมที่มีตอการบริหารจัดการและการดำเนินงาน
โครงการ ความพึงพอใจของผูเขารว มอบรมโครงการและการดำเนินงานโครงการ มีความพึงพอใจใน
ภาพอยใู นระดบั มาก เฉลีย่ 3.59

3) โดยมีขอ เสนอแนะของผูเขารวมอบรม ประกอบดวย
3.1) ควรเพม่ิ ระยะเวลาอบรมมากกวา 1 วัน
3.2) มคี วามสนใจอบรมตอ ยอดเกี่ยวกบั การสรางส่ือการเรียนการสอนผาน

สือ่ ออนไลน
6.2 ปญ หาอุปสรรคทเี กิดขึน้ จากการดำเนินงานโครงการ และแนวทางแกปญหา

ปญหาและอปุ สรรค การนำปญ หาและอปุ สรรคมาปรับปรงุ แกไข

1) ขอ จำกัดดานเคร่ืองคอมพิวเตอรสำหรับ 1) ครูและบคุ คลากรทางการศกึ ษานำเคร่ือง

การอบรมเชงิ ปฏิบตั ิการ คอมพิวเตอรส วนตัวสำหรบั ใชในการอบรม

ในครั้งน้ี

2) สญั ญาณเครอื ขายอินเทอรเน็ตหลดุ หายบอยครงั้ 2) เพ่มิ จุดวาง Access Point สำหรับกระจาย

สญั ญาณอินเทอรเน็ตท่ัวถึงมากยิง่ ขึน้

ขอ เสนอแนะเพ่อื การปรุงพัฒนาในคร้ังตอไป

1) ช้ีแจงการเตรยี มพรอมอปุ กรณเพิ่มเติม

2) จัดเปนรนุ รนุ ละ ไมค วรเกิน 30 คน เพ่ือความท่วั ถึงในการอบรมเชงิ ปฏิบัติการดงั กลา ว

7

ภาคผนวก

ภาคผนวก
1. โครงการทไ่ี ดร ับอนมุ ัติ
2. กำหนดการ / คำกลาวเปด-ปด งาน / เกยี รติบตั ร
3. คำส่งั คณะกรรมการดำเนินโครงการ
4. เอกสารทีเ่ กยี่ วของกบั โครงการ
- หนังสอื เชญิ วิทยากร / แบบตอบรับ / ประวัตวิ ทิ ยากร
- เอกสารประกอบท่แี จกในโครงการ สำเนาลงแผน CD
- รายช่อื ผูเขา รวมโครงการ / ใบลงทะเบียน
5. เครื่องมือทีใ่ ชใ นการประเมนิ โครงการ (แบบสอบถาม)
6. ภาพบรรยากาศการดำเนนิ โครงการ

8
ภาพบรรยากาศการดำเนินโครงการ
โครงการอบรมเชงิ ปฏิบตั ิการการสรา งแฟมสะสมผลงานอเิ ล็กทรอนิกส (e-portfolio)

ภาพกลาวรายงานการเปด โครงการ

ภาพทา นผูอำนวยการกลาวเปดโครงการ

9
ภาพบรรยากาศการดำเนินโครงการ
โครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ตั ิการการสรางแฟมสะสมผลงานอเิ ล็กทรอนิกส (e-portfolio)

ภาพการปฏบิ ตั ิการอบรม

ภาพบรรยากาศในหองอบรม

10
ภาพบรรยากาศการดำเนนิ โครงการ
โครงการอบรมเชิงปฏิบตั ิการการสรา งแฟมสะสมผลงานอิเล็กทรอนิกส (e-portfolio)

ภาพวทิ ยากรสำหรบั การอบรมเชิงปฏิบตั ิการ

ภาพทา นผอู ำนวยการมอบของท่ีระลึกแกวิทยากร


Click to View FlipBook Version