The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการจัดการเรียนรู้ ออกแบบและเทคโนโลยี ม.2 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by teachinee.phi, 2022-04-24 07:14:48

แผนการจัดการเรียนรู้ ออกแบบและเทคโนโลยี ม.2

แผนการจัดการเรียนรู้ ออกแบบและเทคโนโลยี ม.2 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565

บนั ทึกขอความ

สว นราชการ กลุมงานบริหารงานวิชาการ โรงเรยี นวังหนิ วิทยาคม

ท่ี / 2565 วันท่ี 9 พฤษภาคม 2565

เรื่อง ขออนุญาตใชแ ผนการจัดการเรยี นรู

เรียน ผูอำนวยการโรงเรียนวังหินวทิ ยาคม

ส่ิงทีส่ ง มาดวย
แผนการจดั การเรียนรู จำนวน 1 รายวชิ า

ดวยขาพเจา นางสาวเตชินี ภิรมย ตำแหนง ครู โรงเรยี นวงั หินวิทยาคม อำเภอบางขัน
จังหวัดนครศรีธรรมราช สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา นครศรีธรรมราช ไดรับมอบหมาย
ใหทำการสอนรายวิชา เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) รหัสวิชา ว22103 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2
ภาคเรยี นที่ 1 ปก ารศกึ ษา 2565 ความดงั แจง แลว น้ัน

ในการนี้ ขาพเจา ไดจ ัดเตรียมการสอนโดยการวิเคราะหผ เู รยี นและพบสภาพทเ่ี ปนปญหาในการเรียน
การสอน จึงไดวางแผนเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนในสวนที่รับผิดชอบ โดยไดจัดทำแผนการจดั การเรียนรูท ี่
เนนผูเรยี นเปนสำคัญ โครงการสอนและการวัดผลประเมินผลการพัฒนาผูเรยี น จึงขออนุญาตดำเนินการสอน
ตามแผนการจดั การเรยี นรู โครงการสอนทีแ่ นบมาพรอ มบนั ทกึ ขอ ความฉบบั น้ี

จึงเรียนมาเพอ่ื โปรดพิจารณาอนมุ ตั ิ
ลงช่อื

(นางสาวเตชนิ ี ภริ มย)
ตำแหนง ครู

ความคดิ เห็นหัวหนา กลมุ สาระการเรยี นรูฯ ความคดิ เห็นงานพฒั นาหลกั สูตรการเรยี นการสอน
...................................................................................... ...................................................................................
...................................................................................... ...................................................................................

ลงช่ือ........................................................................... ลงช่ือ........................................................................
() (นางสาวรุจิรา บัวลอย)

ความคดิ เห็นฝายวิชาการ ความคดิ เห็นของผูอำนวยการโรงเรยี น
...................................................................................... ...................................................................................
...................................................................................... ...................................................................................

ลงชอ่ื ....................................................................... ลงชอื่ .........................................................................
(นางสาวรจุ ริ า บัวลอย) (นางจิราพร อนิ ทรทศั น)



วสิ ยั ทัศนโรงเรยี น (Vision)

โรงเรียนวังหินวิทยาคม มีความพรอมในการพัฒนาผูเรียนใหมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาและ
ทักษะในศตวรรษท่ี 21 มีความปลอดภัยจากภัยทุกรูปแบบ ไดรับโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษา
อยางเทาเทียมกัน ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง เคยี งคภู ูมปิ ญญาทองถิ่น อาศัยการมีสวนรว มจากทุก
ภาคสวน

พันธกิจ (Mission)

1. พัฒนานักเรียนใหมีความรูตามมาตรฐานการเรียนรูในทักษะการเรียนรูในศตวรรษ ที่ 21
(3Rs8Cs)

2. ควบคมุ ดูแลความปลอดภัยของผูเรยี นทกุ รูปแบบ
3. สงเสริมนักเรยี นใหม ีคุณธรรม จริยธรรม คุณลักษณะอันพึงประสงค ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง และสงเสริมภูมปิ ญญาทองถิน่
4. สงเสรมิ และพัฒนาศกั ยภาพของบุคลากรครทู กุ สาขาวิชา
5. พัฒนาระบบบรหิ ารจดั การศกึ ษาแบบมสี ว นรวม
6. สง เสริม และสรา งโอกาสทางการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐานอยา งทวั่ ถึง

เปาหมาย (Goal)
1. ผเู รียนมคี วามรตู ามมาตรฐานการเรียนรใู นทักษะการเรยี นรูใ นศตวรรษ ที่ 21 (3Rs8Cs)
2. ผเู รียนมคี วามปลอดภัยจากภยั ทุกรปู แบบ
3. ผูเ รียนมคี ณุ ธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะอันพงึ ประสงค ยึดหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
4. ครูและบคุ ลากรมีความสามารถในการจัดการเรยี นรูอยา งมีคุณภาพ
5. ชุมชนและองคกรอนื่ ในทองถิ่นมสี วนรวมในการจัดการศึกษา
6. ผูเรยี นมโี อกาสไดรับการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐานอยางทั่วถึง

ตัวช้วี ดั ความสำเรจ็ (Key performance indicator : KPI)
1. รอยละ 90 ของผเู รยี นมีโอกาสไดรบั การศกึ ษาข้นั พืน้ ฐานอยางทัว่ ถึง
2. รอ ยละ 90 ของผเู รยี นมีความปลอดภยั จากภัยทกุ รูปแบบ
3. รอ ยละ 100 ของครูและบคุ ลากรมีความสามารถในการจัดการเรยี นรอู ยางมคี ุณภาพ
4. รอยละ 90 ของผเู รียนมีคณุ ธรรม จริยธรรม และคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค ยึดหลักปรัชญาของ

เศรษฐกิจพอเพยี ง
5. รอ ยละ 80 ของผูเรียนมีความรตู ามมาตรฐานการเรยี นรใู นทักษะการเรยี นรใู นศตวรรษที่ 21

(3Rs8Cs)
6. ชมุ ชนและองคก รอน่ื ในทองถนิ่ มีสวนรวมในการจดั การศึกษาอยางมคี ุณภาพในระดับดีข้ึนไป

กลยทุ ธ (Strategies)
1. ใหผูเ รยี นในการไดรับโอกาสในการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐานอยางท่วั ถงึ
2. ยกระดบั คุณภาพความปลอดภัยจากภยั ทกุ รปู แบบ
3. ยกระดบั คณุ ภาพของบคุ ลากรใหเปนครมู ืออาชพี
4. พฒั นาคณุ ภาพผเู รียนใหมีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และคุณลกั ษณะอันพงึ่ ประสงค ยดึ หลักปรชั ญาของ

เศรษฐกจิ พอเพยี ง
5. ยกระดับคณุ ภาพผเู รยี นใหมคี วามรตู ามมาตรฐานการเรยี นรูในทกั ษะการเรยี นรูในศตวรรษ ที่ 21

(3Rs8Cs)
6. ระดมทรัพยากรจากชุมชนและองคกรอ่ืนในทอ งถ่ินใหมีสวนรว มในการจดั การศึกษา

อัตลักษณข องโรงเรยี น
“ลกู วงั หินวิทยาคมทุกคน แตงกายดี มีมารยาท ยิ้มใส ไหวส วย และมีนิสัยรักการออม”

จดุ เนน (Focus)

1. ดา นผูเรยี น
1.1 ผเู รียนเปน คนดี เกง กลา มที กั ษะการแกป ญหา มจี ติ สาธารณะ และอยูอยางพอเพียง
1.2 ผูเ รียนมที กั ษะชวี ติ สามารถปรับตวั เขากับชุมชน และสงั คม

2. ดา นครูและบุคลากรทางการศกึ ษา
2.1 ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษามวี ินัย คุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณของวชิ าชีพ
2.2 ครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษามีทกั ษะการใชสอ่ื เทคโนโลยแี ละนวตั กรรม

3. ดานการบริหารจัดการ
3.1 สถานศึกษามคี วามเขมแข็งและมีคณุ ภาพการจดั การศึกษาเปนท่ยี อมรบั ของชุมชน
3.2 สถานศกึ ษามบี รรยากาศ สะอาด สดชน่ื รม รื่น สวยงาม

หลกั สูตรเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี)

1. เปาหมายของวิชาเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี)
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) เปนวิชาที่มุงพัฒนาผูเรียนแบบองครวมเพื่อใหมีความรู

ความสามารถ มที ักษะในการคดิ วิเคราะห แกป ญ หาอยางเปนขัน้ ตอน และเปน ระบบ เพื่อแกป ญ หาในชีวิตจริง
อยางสรางสรรค โดยเปนวชิ าเก่ยี วกบั การพฒั นาผเู รยี นใหมีความรูความเขาใจเก่ียวกับเทคโนโลยีเพ่ือดำรงชีวิต
ในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเรว็ ใชความรูและทักษะทางดา นวิทยาศาสตร คณติ ศาสตร และศาสตร
อน่ื ๆ เพอื่ แกป ญหาหรอื พัฒนางานอยางมีความคิดสรา งสรรคดว ยกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม เลือกใช
เทคโนโลยีอยางเหมาะสมโดยคำ นงึ ถงึ ผลกระทบตอชีวิต สังคม และสงิ่ แวดลอม

2. คุณภาพผเู รยี นวิชาเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี)
หลกั สตู รเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) จัดใหม กี ารเรยี นการสอนต้ังแตระดับมัธยมศึกษา

ตอนตน จนถึงระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย โดยมีความคาดหวังเพ่ือใหไดคุณภาพผูเรียนเมื่อจบการศึกษา ดังน้ี
จบชั้นมัธยมศกึ ษาปท่ี 3
เขาใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยี ไดแก ระบบทางเทคโนโลยี การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี

ความสมั พันธร ะหวางเทคโนโลยีกับศาสตรอื่น โดยเฉพาะวิทยาศาสตร หรอื คณติ ศาสตร วเิ คราะห เปรยี บเทยี บ
และตัดสินใจ เพ่อื เลอื กใชเทคโนโลยี โดยคำนึงถงึ ผลกระทบตอชีวิต สังคม และส่งิ แวดลอม ประยุกตใชค วามรู
ทักษะ และทรพั ยากรเพ่ือออกแบบและสรา งผลงานสำหรบั แกป ญ หาในชีวิตประจำ วันหรือการประกอบอาชีพ
โดยใชกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม รวมทั้งเลือกใชวัสดุ อุปกรณ และเครื่องมือไดอยางถูกตอง
เหมาะสม ปลอดภยั รวมทั้งคำนงึ ถึงทรพั ยสินทางปญญา

3. สาระและมาตรฐานการเรียนรวู ิชาเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี)
กลุมสาระการเรยี นรวู ทิ ยาศาสตร
สาระท่ี 4 เทคโนโลยี
มาตรฐาน ว 4.1 การออกแบบและเทคโนโลยี
เขาใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยีเพื่อการดำรงชีวิตในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว

ใชความรูแ ละทกั ษะทางดา นวิทยาศาสตร คณิตศาสตร และศาสตรอื่น ๆ เพือ่ แกปญหาหรือพฒั นางานอยางมี
ความคิดสรางสรรคดวยกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม เลือกใชเทคโนโลยีอยางเหมาะสมโดยคำนงึ ถึง
ผลกระทบตอ ชีวติ สังคม และสิ่งแวดลอ ม

เปาหมายของหลักสูตรเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) มุงพัฒนาผูเรียนใหมีความรูความ
เขาใจเกี่ยวกับเทคโนโลยี เพื่อดำรงชีวิตในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว ใชความรูและทักษะ
เพอื่ แกป ญหาหรือพัฒนางานอยางมีความคดิ สรางสรรคดว ยกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม บรู ณาการกับ
ศาสตรอ น่ื โดยเฉพาะวทิ ยาศาสตร หรือคณติ ศาสตร อยางเหมาะสม เลือกใชเทคโนโลยโี ดยคำนึงถึงผลกระทบ
ตอชวี ิต สังคม และสิ่งแวดลอ ม

หลักสูตรเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) แบงออกเปน 3 หัวขอหลัก ไดแก ความรูและ
ความเขา ใจเกย่ี วกบั เทคโนโลยี กระบวนการออกแบบ และความรแู ละทกั ษะพน้ื ฐานเฉพาะดาน

หวั ขอหลกั ท่ี 1 ความรแู ละความเขา ใจเกี่ยวกบั เทคโนโลยี ประกอบดวยหัวขอ ยอย ตอไปนี้
1) ความหมายของเทคโนโลยี

2) ระบบทางเทคโนโลยี
3) การเปล่ียนแปลงของเทคโนโลยี
4) ความสัมพันธระหวา งเทคโนโลยีกบั ศาสตรอ ื่น
5) ผลกระทบของเทคโนโลยี
หวั ขอ หลักที่ 2 กระบวนการออกแบบ
กระบวนการออกแบบ (design process) ในวิชาเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี)
เปนกระบวนการแกปญหาหรือพัฒนางานอยางเปนขั้นตอน โดยใชความรูและทักษะ รวมทั้งความคิด
สรางสรรค ซึ่งในที่นี้ใชกระบวนการที่เรียกวา กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม (engineering design
process) โดยมขี ้ันตอน ดงั นี้
1) ระบปุ ญหา

2) รวบรวมขอ มูลและแนวคดิ ทเ่ี กี่ยวของกบั ปญหา
3) ออกแบบวิธีการแกป ญหา
4) วางแผนและดำเนินการแกปญหา
5) ทดสอบ ประเมนิ ผล และปรับปรงุ แกไขวธิ กี ารแกปญ หาหรือช้นิ งาน
6) นำเสนอวิธีการแกป ญหา ผลการแกป ญหาหรอื ชิ้นงาน
หวั ขอหลกั ที่ 3 ความรแู ละทกั ษะพ้นื ฐานเฉพาะดาน
ความรูและทักษะพื้นฐานที่จำเปนสำหรับการแกปญหาหรือพัฒนางานในเทคโนโลยี (การ
ออกแบบและเทคโนโลยี) ไดแ ก
1) วัสดุ อุปกรณ และเครื่องมอื ชา งพ้ืนฐาน

2) กลไก ไฟฟา และอเิ ล็กทรอนิกส

4. ตวั ช้ีวดั และสาระการเรียนรแู กนกลาง ช้ันมัธยมศกึ ษาปท ี่ 2

ช้นั ตัวช้วี ัด สาระการเรียนรูแกนกลาง

ม.2 1. คาดการณแนวโนม เทคโนโลยที ่ีจะ  สาเหตหุ รือปจจยั ตาง ๆ เชน ความกาวหนา
เกดิ ขึน้ โดยพิจารณาจากสาเหตหุ รอื
ของศาสตรตาง ๆ การเปล่ียนแปลงทางดา น
ปจ จัยที่สงผลตอการเปลย่ี นแปลงของ เศรษฐกิจ สงั คม วฒั นธรรม ทำใหเทคโนโลยี
เทคโนโลยี และวิเคราะห เปรียบเทยี บ มีการเปล่ียนแปลงตลอดเวลา
ตดั สินใจเลือกใชเ ทคโนโลยี โดย
 เทคโนโลยีแตละประเภทมีผลกระทบตอ
คำนงึ ถงึ ผลกระทบท่เี กดิ ขึน้ ตอชีวิต
ชีวิต สังคม และสิ่งแวดลอมที่แตกตางกัน
สังคม และสง่ิ แวดลอม
จึงตองวิเคราะหเปรียบเทียบขอดี ขอเสีย

และตดั สนิ ใจเลือกใชใ หเหมาะสม

2. ระบปุ ญหาหรอื ความตองการใน  ปญหาหรือความตองการในชุมชนหรือ
ชมุ ชนหรือทอ งถนิ่ สรุปกรอบของ ทองถิ่น มีหลายอยาง ขึ้นกับบริบทหรือ

ปญหา รวบรวม วเิ คราะหขอมลู และ สถานการณที่ประสบ เชน ดานพลังงาน
แนวคดิ ทเ่ี กี่ยวของกบั ปญ หา สิ่งแวดลอม การเกษตร การอาหาร

 การระบุปญหาจำเปนตองมีการวิเคราะห

สถานการณของปญหาเพื่อสรุปกรอบของ

ปญหา แลวดำเนินการสืบคน รวบรวมขอ มูล

ความรูจากศาสตรตาง ๆ ที่เกี่ยวของ เพ่ือ

นำไปสกู ารออกแบบแนวทางการแกปญหา

3. ออกแบบวธิ กี ารแกปญ หา โดย  การวิเคราะห เปรียบเทยี บ และตัดสนิ ใจเลือก
วิเคราะหเปรียบเทยี บ และตดั สนิ ใจ
ขอมูลที่จำเปน โดยคำนงึ ถึงเง่อื นไขและ
เลือกขอมูลทจ่ี ำเปน ภายใตเง่ือนไข
ทรพั ยากร เชน งบประมาณ เวลา ขอมลู และ
และทรัพยากรที่มอี ยู นำเสนอแนวทาง สารสนเทศ วัสดุ เคร่อื งมือและอุปกรณ ชวยให
การแกปญหาใหผอู นื่ เขาใจ วางแผน
ไดแ นวทางการแกป ญ หาทเี่ หมาะสม
ขั้นตอนการทำงานและ
 การออกแบบแนวทางการแกปญหาทำได
ดำ เนินการแกป ญหาอยางเปน ขัน้ ตอน หลากหลายวิธี เชน การรา งภาพ การเขียน

แผนภาพ การเขยี นผังงาน

 การกำหนดข้นั ตอนระยะเวลาในการทำงาน

กอ นดำเนนิ การแกปญหาจะชวยใหการ

ทำงานสำเร็จไดต ามเปาหมาย และลด

ขอผดิ พลาดของการทำ งานที่อาจเกดิ ข้ึน

ชน้ั ตวั ชวี้ ดั สาระการเรียนรูแกนกลาง

ม.2 4. ทดสอบ ประเมนิ ผล และอธิบาย  การทดสอบและประเมินผลเปนการตรวจสอบ
ปญหาหรือขอบกพรองทเี่ กดิ ข้ึน
ชนิ้ งานหรอื วิธกี ารวาสามารถแกป ญหาไดตาม
ภายใตกรอบเง่อื นไข พรอ มท้ังหาแนว วัตถปุ ระสงคภ ายใตก รอบของปญ หา เพอื่ หา
ทางการปรบั ปรุงแกไข และนำเสนอผล ขอบกพรอ ง และดำเนนิ การปรับปรุงใหสามารถ
การแกปญหา
แกไ ขปญ หาได

 การนำเสนอผลงานเปน การถายทอดแนวคดิ

เพอื่ ใหผอู ่นื เขาใจเกี่ยวกับกระบวนการ

ทำงานและช้นิ งานหรอื วธิ กี ารท่ีได ซึง่

สามารถทำไดห ลายวิธี เชน การเขียน

รายงาน การทำแผนนำเสนอผลงาน

การจดั นทิ รรศการ

๕. ใชความรู และทกั ษะเก่ียวกบั วัสดุ  วสั ดแุ ตล ะประเภทมสี มบัติแตกตา งกนั เชน
อุปกรณ เครื่องมือ กลไก ไฟฟา และ ไม โลหะ พลาสติก จงึ ตองมีการวิเคราะห
อิเลก็ ทรอนิกส เพื่อแกปญหาหรอื สมบัตเิ พอ่ื เลอื กใชใ หเหมาะสมกบั ลักษณะ
ของงาน
พัฒนางานไดอ ยา งถูกตอ ง เหมาะสม
และปลอดภัย  การสรางช้นิ งานอาจใชความรู เร่อื งกลไก

ไฟฟา อิเล็กทรอนิกส เชน LED มอเตอร บัซ

เซอร เฟอง รอก ลอ เพลา

 อุปกรณและเครอ่ื งมือในการสรางช้ินงาน

หรอื พฒั นาวิธีการมหี ลายประเภท ตอง

เลอื กใชใ หถ ูกตอง เหมาะสม และปลอดภัย

รวมทัง้ รจู ักเก็บรักษา

5. ทักษะและกระบวนการท่ีสำคญั ในวชิ าเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี)
การจัดการเรยี นรวู ชิ าเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) เพอ่ื พฒั นาความสามารถของผเู รียนใน

การแกป ญ หาหรือพัฒนางานอยางสรา งสรรค ผเู รยี นจะไดรับการพฒั นาทกั ษะและกระบวนการที่จำเปน ตอการ
ดำรงชีวิตผานการจัดการเรียนรูที่เนน การลงมือปฏิบัติ ซึ่งทักษะและกระบวนการสำคัญของวิชาการออกแบบ
และเทคโนโลยี ไดแ ก

1) กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม เปนกระบวนการแกปญหาหรือพัฒนางานประกอบไปดวย
ขน้ั ตอนดงั นี้

ขั้นระบุปญหา (Problem Identification) เปนการทำความเขาใจปญหาหรือความ
ตองการ วิเคราะหเงื่อนไขหรือขอจำกัดของสถานการณปญหา เพื่อกำ หนดขอบเขตของปญหา ซึ่งจะนำไปสู
การสรา งชิน้ งานหรือพัฒนาวธิ ีการในการแกป ญหา

ขั้นรวบรวมขอมูลและแนวคิดที่เกี่ยวของกับปญหา (Related Information Search)
เปนการรวบรวมขอมูลและแนวคิดทางวทิ ยาศาสตร คณติ ศาสตร เทคโนโลยี หรอื ศาสตรอื่น ๆ ท่ีเกี่ยวของกับ
แนวทางการแกป ญหา เพอ่ื นำไปสกู ารออกแบบแนวทางการแกปญ หา

ขั้นออกแบบวิธีการแกปญหา (Solution Design) เปนการนำขอมูลที่ไดมาวิเคราะห
เปรียบเทยี บ และตัดสินใจเลือกขอมูลท่จี ำเปนสำหรบั การแกปญหา โดยคำนึงถึงเงอื่ นไขหรือทรพั ยากรทีม่ ีอยู
แลวออกแบบแนวทางการแกป ญ หา โดยอาจรางภาพ เขียนเปนแผนภาพ หรือผงั งาน

ขั้นวางแผนและดำเนินการแกปญหา (Planning and Development) เปนการกำหนด
ลำดับขัน้ ตอนของการแกปญหา และเวลาในการดำเนินงานแตล ะขั้นตอน แลวลงมือแกปญหาตามทีอ่ อกแบบ
และวางแผนไว

ขั้นทดสอบ ประเมินผล และปรับปรุงแกไขวิธีการแกปญหาหรือชิ้นงาน (Testing,
Evaluation and Design Improvement) เปนการทดสอบและประเมินผลการทำงานของชิ้นงานหรือ
วธิ ีการ โดยผลท่ไี ดอ าจนำมาใชใ นการปรับปรุงและพัฒนาการแกป ญหาใหมปี ระสทิ ธิภาพมากขน้ึ

ขั้นนำเสนอวิธีการแกปญหา ผลการแกปญหาหรือชิ้นงาน (Presentation) เปนการ
นำเสนอแนวคิดและข้นั ตอนการสรา งชน้ิ งานหรอื การพฒั นาวิธีการใหผูอ นื่ เขา ใจ

ทั้งนี้ในการแกปญหาตามกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมนั้นไมไดมีลำดับขั้นตอนที่แนนอนโดย
ขั้นตอนทั้งหมดสามารถยอนกลับไปมาได และอาจมีการทำงานซ้ำ (iterative cycle) ในบางขั้นตอนหาก
ตองการพัฒนาหรือปรับปรุงใหด ขี น้ึ

2) การคิดเชิงระบบ เปน การคดิ ถึงส่งิ หนึ่งสง่ิ ใดทม่ี องภาพรวมเปน ระบบ โดยมหี ลักการและเหตผุ ล มี
การจดั ระเบียบขอ มลู หรือความสัมพันธขององคป ระกอบตา ง ๆ ใหเปน แบบแผนหรือกระบวนการทชี่ ัดเจน

3) ความคิดสรางสรรค เปนการใชเ ทคนิคในการสรางสรรคมุมมองอยางหลากหลายและแปลกใหม
ซง่ึ อาจจะพฒั นาจากของเดิมหรอื คดิ ใหม วเิ คราะหและประเมนิ แนวคิดเพ่อื พัฒนาความคดิ สรางสรรคใหไดมาก
ที่สุด นำไปสูการลงมือปฏิบัติตามความคิดสรางสรรคใหไดผลสำเร็จที่เปนรูปธรรม ความคิดสรางสรรค
ประกอบดว ย 4 ลักษณะ คอื

1) ความคิดริเริ่ม เปนความสามารถในการคิดที่แปลกใหม แตกตางจากความคิดเดิม
ประยกุ ตใหเกิดสิ่งใหม ไมซ ้ำกับของเดิม

2) ความคิดคลอง เปนความสามารถในการคดิ หาคำตอบไดอยางคลองแคลว รวดเร็ว และมี
ปริมาณมากในเวลาจำกัด

3) ความคิดยืดหยุน เปนความสามารถในการคิดหาคำตอบไดหลายประเภทและหลาย
ทิศทาง ดดั แปลงจากสิง่ หนึง่ ไปเปนหลายสิ่งได

4) ความคิดละเอียดลออ เปนความสามารถในการคิดรายละเอียดหรือขยายความคดิ หลกั ให
สมบรู ณ และรวมถึงการเช่อื มโยงความสมั พันธของส่ิงตาง ๆ อยา งมคี วามหมาย

4) การคิดอยางมีวิจารณญาณ เปนการคิดโดยใชเหตุผลที่หลากหลายเหมาะสมกับสถานการณ
มีการวิเคราะหและประเมินหลักฐานและขอคิดเห็นดวยมุมมองที่หลากหลาย สังเคราะห แปลความหมาย
และลงขอ สรุปไดอยา งสมเหตสุ มผล รวมทง้ั สะทอ นความคดิ โดยใชประสบการณและกระบวนการเรียนรู

5) การคิดวิเคราะห เปนการจําแนก แจกแจงองคประกอบตาง ๆ ของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง หรือเรื่องใด
เรื่องหนึ่ง และหาความสัมพันธเชิงเหตุผลระหวางองคประกอบเหลานั้น เพื่อคนหาสาเหตุที่แทจริง
ของส่งิ ทเ่ี กดิ ขน้ึ

6) การสื่อสาร เปนการเรียบเรียงความคิดและสื่อสารแนวคิดในการแกปญหาใหผูอื่นเขาใจอยาง
ชัดเจน สามารถใชวิธีการสื่อสารเพื่อใหบรรลุเปาหมายไดหลายรูปแบบ เชน การพูด การเขียนบรรยาย
การรางภาพ และการใชส อื่ มลั ตมิ เี ดยี

7) การทำงานรวมกับผูอื่น เปนความสามารถในการทำงานรวมกับผูอื่น มีความยืดหยุน
มีความรับผิดชอบรวมกัน เคารพในความคิด เห็นคุณคา และเขาใจบทบาทของผูอื่น เพื่อทำ งานใหบรรลุ
เปาหมายรว มกัน

คำอธิบายรายวชิ า

รายวิชาพ้ืนฐาน เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) รหัสวิชา ว22103
กลุมสาระการเรยี นรู วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (เทคโนโลยี)
ชัน้ มัธยมศึกษาปท ี่ 2 เวลา 20 ชวั่ โมง

ศึกษาสาเหตุหรือปจจัยที่สงผลตอการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลง
เทคโนโลยีตอมนุษย และสังคม ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีตอเศรษฐกิจ ผลกระทบจากการ
เปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีตอ สิ่งแวดลอม ประเภท ของวัสดุอุปกรณเพื่อใหสามารถสรางชิ้นงานไดตรงกับความ
ตองการ มีความปลอดภยั และใชทรัพยากรไดอยา งคุมคา เครื่องกลในการสรางชิ้นงาน ไดแก รอก คาน ลอ
และเพลา พ้นื เอียง ลิม่ สกรู เครอ่ื งมอื ในการสรา งชิน้ งาน เคร่ืองมอื วดั เครอ่ื งมอื ตัด เคร่อื งมอื ยึดติด เครอื่ งมอื
เจาะ เสียงและอปุ กรณท่ที ำใหเกิดเสยี ง อุปกรณท ่ีทำใหเกดิ เสยี ง ไฟฟา และอุปกรณท ่ีทำใหเกดิ แสง วงจรไฟฟา
และ การตอตัวตานทาน ประเภทและการตอวงจรไฟฟา ความสัมพันธของกระบวนการทางวิทยาศาสตรและ
วิศวกรรมศาสตรแนวคดิ กระบวนการทางวิทยาศาสตร กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม ระบบเทคโนโลยี
การคิดเชิงออกแบบ แนวคิดหลักของการคิดเชิงออกแบบ กระบวนการคิดเชิงออกแบบ และความคิดเชิง
ออกแบบของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภมู พิ ลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร

โดยอาศัยกระบวนการเรียนรูโดยใชปญหาเปนฐาน (Problem–based Learning) และการเรียนรู
แบบสืบเสาะหาความรู (5Es Instructional Model) เนนใหผูเรียนไดลงมือปฏิบัติ ฝกทักษะการคิด เผชิญ
สถานการณการแกปญหาวางแผนการเรยี นรู และ นำเสนอผา นการทำกิจกรรมโครงงาน

เพื่อใหผูเรียนมีความรูความเขาใจ ความสัมพันธของความรูวิทยาศาสตรที่มีผลตอการพัฒนา
เทคโนโลยีประเภทตาง ๆ และการพัฒนาเทคโนโลยีที่สงผลใหม ีการคิดคนความรูทางวิทยาศาสตรที่กาวหนา
ผลของเทคโนโลยีตอชีวิต สังคม และสิ่งแวดลอม ตลอดจนนำความรูความเขาใจในวิชาวิทยาศาสตรและ
เทคโนโลยีไปใชใหเกดิ ประโยชนตอสังคมและการดำรงชีวิต จนสามารถพฒั นากระบวนการคิดและจินตนาการ
ความสามารถในการแกปญหาและการจัดการทักษะในการสื่อสาร ความสามารถในการตัดสินใจ เปนผูที่มี
จิตวทิ ยาศาสตรม คี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม คานิยมในการใชว ิทยาศาสตรและเทคโนโลยีอยา งสรางสรรค

ตวั ชีว้ ดั ม.2/1 ม.2/2 ม.2/3 ม.2/4 ม.2/5
ว 4.1

รวม 5 ตัวชวี้ ดั

โครงสรา งรายวชิ า

วิชา เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี รหัสวิชา ว22104 ระดับชั้นมธั ยมศกึ ษาปท่ี 2

กลมุ สาระการเรยี นรูวิทยาศาสตร เวลา 20 ชวั่ โมง/ภาคเรยี น

หนว ยท่ี ชือ่ หนวยการเรียนรู มาตรฐานการเรียนรู สาระการเรยี นรู เวลา คะแนน
/ ตัวชีว้ ดั K PA

1. เทคโนโลยีกับชวี ิต ว 4.1 ม.2/1 1. การเปล่ียนแปลง 2 10 10 2

และผลกระทบของเทคโนโลยี

2. วัสดุ อุปกรณ ว 4.1 ม.2/5 1. ความรูเ กย่ี วกับวสั ดุ 9 10 15 4

ทางเทคโนโลยี 2. เครื่องกลและเคร่อื งมอื ในการ

สรางชน้ิ งาน

3. เสียงและอุปกรณที่ทำใหเกดิ

เสียง

4. ไฟฟา และอปุ กรณท ีท่ ำใหเกดิ

แสง

3. กระบวนการออกแบบ ว 4.1 ม.2/2 1. กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร 5 10 15 2
เชงิ วศิ วกรรม
ม.2/3 2. กระบวนการออกแบบ

ม.2/4 เชิงวศิ วกรรม

4. การคดิ เชงิ ออกแบบ ว 4.1 ม.2/2 1. กระบวนการคิดเชงิ ออกแบบ 4 10 10 2

ม.2/3 2. ถอดความคิดเชิงออกแบบ

ม.2/4 ของพระบาทสมเด็จ

พระบรมชนกาธเิ บศรมหาภูมิ

พลอดุลยเดชมหาราช

บรมนาถบพิตร

รวมช่ัวโมง/คะแนนรวม 20 100

คะแนนกลางภาค 20
คะแนนปลายภาค 20
คะแนนรวม/ภาคเรยี น 60

ผงั มโนทัศนหน
รายวชิ า ว22103 เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี ช้นั มัธยมศกึ

หนว ยการเรยี นรูที่ 1 เทคโนโลยกี บั ชวี ติ
จำนวน 2 ชว่ั โมง

เทคโน
(การออกแบบแล

จำนวน 20

หนว ยการเรียนรูท ี่ 4 การคดิ เชงิ ออกแบบ
จำนวน 4 ช่ัวโมง

นวยการเรียนรู
กษาปท่ี 2 กลุมสาระการเรยี นรูวทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี (เทคโนโลยี)

นโลยี หนวยการเรยี นรทู ่ี 2 วสั ดุ อุปกรณท างเทคโนโลยี
ละเทคโนโลย)ี จำนวน 9 ชั่วโมง
0 ชวั่ โมง
หนว ยการเรยี นรูที่ 3 กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม
จำนวน 5 ชัว่ โมง

กำหนดการสอน

กลมุ สาระ วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (เทคโนโลยี) ช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 2

รหัสวชิ า ว22103 รายวิชา เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) เวลา 20 ชั่วโมง

ชอื่ หนวย สาระการเรยี นรู เวลา(ชั่วโมง)

หนวยการเรยี นรูท่ี 1 1. การเปล่ียนแปลงและผลกระทบของเทคโนโลยี 2
เทคโนโลยกี บั ชวี ติ

หนว ยการเรยี นรทู ี่ 2 1. ความรูเ กีย่ วกับวัสดุ 9
วสั ดุ อุปกรณท างเทคโนโลยี 2. เคร่ืองกลและเคร่อื งมอื ในการสรา งชิ้นงาน
3. เสยี งและอุปกรณท ่ที ำใหเกิดเสียง
4. ไฟฟาและอุปกรณท ีท่ ำใหเกิดแสง

หนวยการเรยี นรูที่ 3 1. กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร 5

กระบวนการออกแบบเชงิ วิศวกรรม 2. กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม

หนวยการเรียนรูท ่ี 4 1. กระบวนการคิดเชงิ ออกแบบ 4
การคดิ เชงิ ออกแบบ 2. ถอดความคดิ เชิงออกแบบของพระบาทสมเดจ็

พระบรมชนกาธิเบศรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช
มหาราชบรมนาถบพิตร

แผนการจัดการเรยี นรู

แผนการจดั การเรียนรทู ี่ 1 การเปลีย่ นแปลงและผลกระทบของเทคโนโลยี

กลมุ สาระการเรียนรู วทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี รหัสวชิ า ว22103
ช้ัน มธั ยมศึกษาปท่ี 2 ภาคเรียนที่ 1 ปก ารศกึ ษา 2565
หนวยการเรยี นรูท่ี 1 เทคโนโลยีกับชวี ติ เวลาเรียน 2 ช่ัวโมง

สาระที่ 4 เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี
1. มาตรฐาน/ตวั ชีว้ ดั

1.1 ตัวชี้วัด
ว 4.1 ม.2/1 คาดการณแ นวโนมเทคโนโลยที ่จี ะเกิดข้ึน โดยพิจารณาจากสาเหตหุ รือปจจัย

ท่ีสงผลตอ การเปล่ยี นแปลงของเทคโนโลยี และวิเคราะห เปรียบเทียบ
ตัดสนิ ใจ เลอื กใชเ ทคโนโลยี โดยคำนงึ ถงึ ผลกระทบท่ีเกดิ ข้ึนตอชวี ติ สงั คม
และส่งิ แวดลอ ม
2. สาระสำคญั
มนุษยค นพบและสรางองคค วามรูมากมายหลายสาขา เชน วิทยาศาสตร คณิตศาสตร สังคมศาสตร
นติ ศิ าสตร เศรษฐศาสตร โดยเฉพาะอยา งย่ิงศาสตรท ่สี งผลตอการพัฒนาเทคโนโลยีอยางมาก คอื วทิ ยาศาสตร
เปน ความรทู ่เี กี่ยวกบั สง่ิ ตาง ๆ ในธรรมชาตทิ ้ังท่ีมชี ีวิตและไมมชี ีวิต โดยมวี ธิ กี ารทางวทิ ยาศาสตรท ่ีใชในการสืบ
เสาะหาความรนู ้ันอาศัยการสังเกตเปนพื้นฐาน และคณติ ศาสตรทีเ่ ก่ียวขอ งกบั ก า ร อ ธ ิ บ า ย โ ค ร ง ส ร  า ง
ความสัมพันธ ระเบียบ รูปแบบ หรือแบบแผนตาง ๆ ท้งั ที่อยูในธรรมชาติรอบตัวและภาพที่อยูใ นสมอง เทาที่
มนุษยจะสามารถรับรูไดทั้งในเชิงนามธรรมและเชงิ รูปธรรม โดยอาศัยการคำนวณและโมเดลทางคณิตศาสตร
มาอธบิ าย ดังน้นั การคน พบทางวิทยาศาสตรทม่ี ีการอธิบายในรูปแบบของสมการทางคณิตศาสตรท่แี มนยำจะ
ชวยใหเกิดเทคโนโลยีใหม ๆ ขึ้นมาอีกมากมาย และเทคโนโลยีที่พัฒนาขึ้นสรางผลกระทบทั้งทางดานมนุษย
และสงั คม ดา นเศรษฐกจิ และดา นส่งิ แวดลอม

3. จดุ ประสงคการเรยี นรู
1. บอกปจ จยั ที่มีผลตอ การเปล่ยี นแปลงเทคโนโลยีไดถ ูกตอ ง (K)
2. ยกตัวอยางเทคโนโลยแี ละวิเคราะหว าเกดิ จากปจจัยตอ การเปลยี่ นแปลงเทคโนโลยีไดถ ูกตอง (K)
3. เขียนผลกระทบทางบวกและผลกระทบทางลบของเทคโนโลยีได (P)
4. เลง็ เหน็ ถึงความสำคญั ของผลกระทบท้ังทางบวกและผลกระทบทางลบในสรา งเทคโนโลยี (A)

4. สาระการเรยี นรู สาระการเรียนรทู อ งถิ่น
พจิ ารณาตามหลักสูตรของสถานศกึ ษา
สาระการเรียนรแู กนกลาง

- สาเหตหุ รอื ปจจัยตา ง ๆ เชน ความกา วหนา
ของศาสตรต า ง ๆ การเปลย่ี นแปลงทางดา น
เศรษฐกจิ สังคม วัฒนธรรม ทำใหเทคโนโลยี
มีการเปลย่ี นแปลงตลอดเวลา
- เทคโนโลยแี ตละประเภทมีผลกระทบตอชีวิต
สังคม และส่งิ แวดลอ มท่แี ตกตา งกัน จงึ ตอง
วิเคราะหเ ปรยี บเทียบขอดี ขอเสีย และตัดสนิ ใจ
เลือกใชใ หเ หมาะสม

5. สมรรถนะสำคัญของผูเรียนและคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค

สมรรถนะสำคัญของผูเรียน คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค

1. ความสามารถในการสือ่ สาร 1. ซอ่ื สัตย สจุ รติ
- ทักษะการสื่อสาร 2. มวี ินัย รับผิดชอบ
- ทกั ษะการแลกเปลย่ี นขอมูล 3. มงุ มน่ั ในการทำงาน

2. ความสามารถในการคิด
- ทกั ษะการคดิ วเิ คราะห

3. ความสามารถในการแกปญหา
- ทักษะการสงั เกต

4. ความสามารถในการใชทักษะชวี ิต
- ทกั ษะการทำงานรว มกัน

5. ความสามารถในการใชเทคโนโลยี
- ทักษะการสบื คนขอ มลู

6. ชน้ิ งาน/ภาระงาน
6.1 แบบทดสอบกอนเรยี น
6.2 ใบงานท่ี 1.1.1

7. กระบวนการจดั การเรยี นรู

ข้นั นำ

ขั้นท่ี 1 กระตนุ ความสนใจ (Engagement)
1. นักเรียนทำแบบทดสอบกอนเรียนหนว ยการเรียนรทู ี่ 1 เร่อื ง เทคโนโลยกี ับชวี ิต
2. นักเรยี นสแกนคิวอารโคด เรื่อง การเปลีย่ นแปลงเทคโนโลยี จากหนงั สอื เรยี นรายวิชาพื้นฐาน
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี ม.2 หนว ยการเรียนรทู ี่ 1 เรื่อง เทคโนโลยี
กบั ชวี ติ โดยใหนักเรยี นสรุปประเดน็ สำคญั ทไ่ี ดจ ากการดคู ลิปวีดิโอลงในสมุดประจำตัวของ
ตนเอง
3. ครูสรุปความรูรวมกับนักเรยี นจากการดูวีดิทัศนวา“การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีมีผลตอ
การเปลีย่ นกจิ กรรมของมนุษย โดยอำนวยความสะดวกและตอบสนองความตองการของมนุษย
ในดานตาง ๆ เชน วิวัฒนาการของการสื่อสารจากอดีตถึงปจจุบนั โดยเร่ิมจากการสง รหัสมอรส
> จดหมาย > โทรศพั ท > โทรสาร > อเี มล > โปรแกรมสนทนาออนไลน จะเห็นไดวา เปน
การพัฒนาขึ้นเพื่อตอบสนองใหมนุษยสื่อสารไดหลากหลายรูปแบบ และทำใหการสื่อสาร
เกิดประโยชนสงู สุดกบั มนษุ ย”
4. นกั เรียนสังเกตภาพพฒั นาการของยานพาหนะจากอดตี ถึงปจ จุบันจากหนงั สือเรยี น เพื่อให
นักเรียนเขาใจถึงการเปลี่ยนแปลงของยานพาหนะจากอดีตถึงปจจุบันที่มีผลกระทบที่ดีขึ้น
ตอ ชีวิตมนุษย
5. ครอู ธิบายเพ่ิมเตมิ กบั นักเรยี นวา “กอนปฏิวัตอิ ุตสาหกรรมไดม กี ารใชย านพาหนะท่ีใชแรงงาน
สัตวเ กิดข้นึ เพือ่ ตอบสนองการเดินทางหรือการขนยา ยสง่ิ ของทมี่ ีน้ำหนักมาก แตก ารเดินทาง
ดวยสตั วเ ปน ไปอยางลา ชา จึงไดมกี ารพัฒนายานพาหนะทขี่ ับเคลอื่ นดวยพลงั งานไอนำ้ ทำให
มนษุ ยเ ดินทางไดเ รว็ ขึน้ แตเน่อื งจากพาหนะท่ขี ับเคลอ่ื นดวยพลังงานไอนำ้ ตองใชท รพั ยากร
ธรรมชาติเปนเชื้อเพลิงหลักจึงสงผลกระทบตอทรัพยากรธรรมชาติ ดังนั้นจึงไดมีการพัฒนา
และประดิษฐเ ครื่องยนตทใี่ ชน ำ้ มันดเี ซลข้นึ ซงึ่ เปนพาหนะท่มี คี นนิยมใชม ากเพราะรวดเรว็
และสะดวกสบาย แตก็มีผลกระทบใหมกี ารใชน้ำมันสูงข้ึน จนมกี ารพยากรณว าการผลิตนำ้ มัน
จะเริ่มลดจำนวนลงหลังป ค.ศ. 2020 จงึ มีการคน ควา และพัฒนาพาหนะท่ีใชพลังงาน
ทางเลือก โดยใชพลังงานไฟฟาจากแสงอาทติ ยเปนเชื้อเพลิงหลัก ดังนั้นพาหนะท่ีใชพลังงาน
ไฟฟาจากแสงอาทติ ยจ ึงนยิ มจนถงึ ปจ จุบัน เพราะชวยใหการเดนิ ทางสะดวกมากขนึ้ และชว ยลด
ปญหาการใชพลงั งานเกินความจำเปน”

ข้นั สอน

ข้ันที่ 2 สำรวจคน หา (Exploration)
1. นกั เรียนแบงกลมุ กลุมละ 5 คน หรือตามความเหมาะสม โดยใหน กั เรียนรวมกนั สบื คน
การเปลยี่ นแปลงของเทคโนโลยีทม่ี ผี ลกระทบทำใหส ังคมมนุษยด ขี น้ึ จากทางอินเทอรเนต็
ทเี่ คร่อื งคอมพิวเตอรของตนเอง
2. ครูสมุ นกั เรยี น 2-3 กลุม ออกมานำเสนอขอ มูลตามทไี่ ดส ืบคนหนา ชนั้ เรยี น โดยครู
เปด โอกาสใหเพอื่ นรวมช้ันสามารถซักถามขอสงสัยไดอ ยางอิสระ โดยครคู อยใหค ำแนะนำ
เพิม่ เติมตามความเหมาะสม

3. ครอู ธิบายกับนักเรยี นวา“การเปล่ยี นแปลงของเทคโนโลยีเกิดขนึ้ จากหลายปจ จัย แตป จจัย
ทมี่ ีผลตอการเปล่ียนแปลงของเทคโนโลยอี ยา งตอเนื่อง คอื 3 ปจจยั ดงั นี้
1) การตอบสนองความตอ งการของมนุษย
2) ความกาวหนาของศาสตรตาง ๆ โดยเฉพาะอยา งยิ่งศาสตรดานวิทยาศาสตร
และคณิตศาสตร
3) การแกป ญหาตาง ๆ ท่ีเกิดขึ้นในสงั คม”

4. นักเรยี นดภู าพการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยที างการสื่อสารและภาพการเปล่ยี นแปลงของ
เทคโนโลยโี ทรศพั ทใ นรูปแบบของนวัตกรรม พรอมวเิ คราะหถึงการเปลี่ยนแปลงจากอดีต
สปู จจุบัน

5. นักเรยี นแตละกลมุ รวมกนั วิเคราะหจากตัวอยา งการเปล่ยี นแปลงของเทคโนโลยขี องแตล ะกลุม
วา เทคโนโลยดี งั กลา วเกิดข้นึ จากปจ จยั ตอการเปลีย่ นแปลงเทคโนโลยีปจจัยใด โดยใหน กั เรยี น
วเิ คราะหและสรุปรวมกันภายในกลมุ จากน้นั ใหแตล ะกลุมสงตัวแทนออกมานำเสนอขอ มูล
หนาชน้ั เรียน

ขั้นที่ 3 อธิบายความรู (Explanation)
6. ครอู ธิบายกับนกั เรยี นวา “เทคโนโลยที ีอ่ ำนวยความสะดวกสบายกก็ อใหเกิดขอเสียหลายอยาง
ตอการใชชีวิตของมนุษย ซงึ่ สงผลกระทบโดยตรง 3 ดา น คือ
1) ดา นมนุษยและสังคม
2) ดา นเศรษฐกิจ
3) ดา นสิ่งแวดลอม
7. นักเรยี นแบงกลมุ (กลุมเดิม) และรวมกนั วเิ คราะหต วั อยางการเปลย่ี นแปลงของเทคโนโลยี
ทีแ่ ตล ะกลุม คัดเลือกมาวาเทคโนโลยีดังกลาวสง ผลกระทบทั้งทางบวกและลบในแตละดาน
อยางไร ตามหวั ขอ ดงั น้ี
1) ดานมนษุ ยและสงั คม
1.1) ความตอ งการของสงั คม
1.2) ความกาวหนา ของวิทยาการ
1.3) การเปล่ยี นแปลงทางวัฒนธรรม
2) ดานเศรษฐกจิ
3) ดา นสิง่ แวดลอม
8. ครอู ธิบายเกร็ดเสริมความรูเก่ียวขอ งกบั เน้ือหา (Design Focus) เรือ่ ง การเปลี่ยนแปลงทาง
วฒั นธรรมวา “วฒั นธรรมเปน ส่ิงทเี่ ปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลา วัฒนธรรมในสังคมจะมีการ
เปล่ียนแปลงเร็วหรือชาข้ึนอยูกบั สงั คมน้นั มีโอกาสสัมผสั กับวัฒนธรรมภายนอกไดสะดวก
มากหรอื นอย โอกาสที่วทิ ยาการตา ง ๆ เขา สสู งั คมยอมมผี ลกระทบตอ วัฒนธรรม ปจ จบุ ัน
วิทยาการตาง ๆ กาวหนา ไปมาก ประกอบกับมีอนิ เทอรเนต็ เช่อื มตอ กนั ถงึ ท่ัวโลก จึงเกิด
การเปลย่ี นแปลงดา นวัฒนธรรมอยางรวดเร็ว”

ข้ันที่ 4 ขยายความเขา ใจ (Elaboration)
9. นกั เรยี นแตล ะคนทำกิจกรรมทีส่ อดคลองกบั เนื้อหาโดยใหผูเรียนฝกปฏบิ ัตเิ พื่อพฒั นาความรู
และทกั ษะ (Design Activity) โดยใหนกั เรียนพิจารณาภาพและวิเคราะหถึงขอดีและขอเสีย

ของเทคโนโลยี พรอมอธบิ ายถึงการทำงานของเทคโนโลยีนั้นวา สามารถนำไปใชใหเกิด
ประโยชนอยางไร
10. นกั เรยี นแบงกลุม (กลุมเดิม) เพ่อื ทำใบงานท่ี 1.1.1 เรอ่ื ง ผลกระทบของเทคโนโลยี โดยให
นักเรยี นอา นและทำความเขาใจเนื้อหาพรอมตอบคำถามลงในประเด็นท่ีกำหนดใหอยาง
ถกู ตอง
11. ครเู ปดโอกาสใหน กั เรยี นแตละกลุมออกมานำเสนอขอมลู หนาชัน้ เรยี น

Note
วัตถุประสงคของกจิ กรรมเพอ่ื ใหน กั เรยี น
- มที ักษะการทำงานรว มกนั โดยใชกระบวนการกลุม ในการทำงานหรือการทำ

กจิ กรรมเพือ่ ใหเกิดการสอื่ สารและแลกเปลีย่ นขอมลู รว มกันภายในกลุม
- มที ักษะการสืบคน ขอมลู โดยใหน ักเรยี นแตล ะคนสบื คน ขอมลู จากอินเทอรเ น็ต

เพ่ือสืบเสาะหาความรตู ามหัวขอที่ไดรบั มอบหมาย
- มีทักษะการสงั เกต โดยใหนักเรียนสังเกตภาพพฒั นาการทางเทคโนโลยีจากอดตี

จนถึงปจจุบันจากหนงั สือเรยี นเพอ่ื นำไปปรบั ใชใ นการเรยี นไดอ ยางเหมาะสม
- มที กั ษะการคดิ วเิ คราะห โดยใหนกั เรียนพจิ ารณาเน้ือหาจากการสบื คน หรือศึกษา

ขอมลู จากแหลง ขอมูลตา ง ๆ เชน หนังสือเรยี น อนิ เทอรเ น็ต เปนตน

ขั้นสรุป

ขั้นท่ี 5 ตรวจสอบผล (Evaluation)
1. ครปู ระเมนิ ผลการนำเสนอของนักเรยี น
2. ครูตรวจสอบความถูกตองจากการทำใบงานท่ี 1.1.1
3. นักเรียนและครรู วมกนั สรปุ ความรูเก่ยี วกบั เทคโนโลยีกับชีวิตวา “เทคโนโลยีทม่ี ีการพัฒนา
อยางตอเนือ่ งเกดิ จากปจจัยสำคัญ ๆ ไดแก
1) การตอบสนองความตองการของมนุษย
2) ความกา วหนาของศาสตรต า ง ๆ โดยเฉพาะอยา งยิง่ ศาสตรด า นวทิ ยาศาสตรและ
คณิตศาสตร
3) การแกปญหาตา งที่เกิดข้ึนในสังคม ซง่ึ การพฒั นาเทคโนโลยีหรือเลือกใชเทคโนโลยี
สิ่งสำคัญคือการประเมินวาเทคโนโลยีนั้นสงผลกระทบทั้งทางบวกและทางลบดาน
มนุษยแ ละสังคม ดา นเศรษฐกจิ และดานสงิ่ แวดลอมอยางไรเพ่ือเปนแนวทาง
ในการพฒั นาเทคโนโลยหี รือเลอื กใชเ ทคโนโลยีนน้ั ๆ ไดอยางเหมาะสม”
4. นกั เรยี นทำแบบฝก หัดทบทวนความรู ความเขาใจ และพฒั นาทักษะการคดิ ของผูเรยี น (Unit
Activity) จากนัน้ ใหนักเรยี นตอบคำถามลงในสมดุ ประจำตัว

5. นักเรียนตรวจสอบระดับความสามารถของตนเอง (Self-Check) โดยพิจารณาขอความวา
ถูกหรือผิด หากนักเรียนพิจารณาขอความไมถูกตอง ใหนักเรียนกลับไปทบทวนเนื้อหา
ตามหัวขอ ท่ีกำหนดให

6. นักเรยี นทำแบบทดสอบหลังเรยี นหนว ยการเรยี นรทู ่ี 1 เรอ่ื ง เทคโนโลยีกบั ชีวิต เพอื่
วดั ความรทู ่นี ักเรียนไดร ับหลังจากผา นการเรยี นรู

8. การวัดและประเมินผล วธิ ีวัด เครอ่ื งมอื เกณฑก ารประเมิน
รายการวดั - ตรวจแบบทดสอบ - แบบทดสอบกอนเรยี น ประเมินตามสภาพจรงิ
กอนเรยี น
8.1 การประเมินกอนเรยี น
- แบบทดสอบกอนเรยี น - ใบงานที่ 1.1.1 - ตรวจใบงานท่ี 1.1.1 รอ ยละ 60 ผานเกณฑ
หนว ยการเรยี นรูท่ี 1
เร่อื ง เทคโนโลยีกับชวี ติ - สังเกตพฤติกรรม - แบบสงั เกตพฤติกรรม ระดบั คณุ ภาพ 2
การทำงานรายบุคคล การทำงานรายบุคคล ผานเกณฑ
8.2 การประเมินระหวางการจัด ระดับคณุ ภาพ 2
กิจกรรม - สังเกตพฤติกรรม - แบบสังเกตพฤติกรรม ผานเกณฑ
1) ผลกระทบของเทคโนโลยี การทำงานกลมุ การทำงานกลมุ ระดับคุณภาพ 2
2) พฤติกรรมการทำงาน ผานเกณฑ
รายบคุ คล - ประเมินการนำเสนอ - แบบประเมิน
ผลงาน การนำเสนอผลงาน ระดบั คุณภาพ 2
3) พฤติกรรมการทำงานกลุม ผานเกณฑ
- สังเกตความซื่อสตั ย - แบบประเมนิ
4) การนำเสนอผลงาน สจุ ริต ความรบั ผดิ ชอบ คุณลกั ษณะ ประเมนิ ตามสภาพจริง
และมงุ ม่ันในการทำงาน อันพึงประสงค
5) คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค - ตรวจแบบทดสอบ - แบบทดสอบหลังเรยี น
หลังเรียน
8.3 การประเมินหลังเรยี น
- แบบทดสอบหลังเรยี น
หนว ยการเรียนรูท ี่ 1
เร่ือง เทคโนโลยีกบั ชวี ติ

9. ส่ือ/แหลงการเรียนรู
9.1 สอ่ื การเรียนรู
1) หนังสือเรยี นรายวิชาพืน้ ฐาน เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ม.2 หนวยการเรียนรทู ่ี 1
เทคโนโลยกี บั ชีวิต
2) ส่อื การเรยี นรอู อนไลน ของ สสวท. ผานเว็บไซต https://proj14.ipst.ac.th/m2/m2-dt/
3) สอื่ PowerPoint
4) ใบงานที่ 1.1.1 เร่อื ง ผลกระทบของเทคโนโลยี
5) เครื่องคอมพิวเตอร
9.2 แหลงการเรียนรู
1) หองคอมพวิ เตอร
2) อินเทอรเ นต็

10. การใชห ลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงในการจัดการเรยี นรู
10.1 การนำหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงมาจดั การเรียนรขู องผสู อน

3 หวง หลักพอประมาณ

ประเด็น

1.ภาระงาน/หนา ที่ วิเคราะหหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ัน มุง เนนให

พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มาตรฐานการ พึงประส

เรียนรู ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู และบริบท ตวั ช้วี ดั ส

ของโรงเรียน การศึกษ

บริบทขอ

2. การวางแผน จัดกิจกรรมการเรียนรู โดยใชสื่อ / แหลง เพื่อจัดก

เรียนรู / ทรัพยากรที่มีอยูใหเกิดประโยชน มาตรฐา
สูงสุดตามมาตรฐานและตัวชี้วัดมีลักษณะพึง
ประสงค ตามที่หลักสูตรกำหนด เหมาะสม ตามที่ห
กับวัย ระดบั ชั้น และเวลาเรยี นของผเู รยี น ระดับช้นั

หลกั มเี หตุผล หลักสรางภูมคิ ุมกันท่ีดีในตวั

หผูเรียนมีความรูทักษะคุณลักษณะอัน มีการวางแผนและบริหารจัดการ เพื่อจัดการ

สงคบรรลุตาม มาตรฐานการเรียนรู เรียนรู ใหตรงตามหลักสูตรแกนกลาง
สาระการเรยี นรู ของหลกั สตู รแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
ษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และ
องโรงเรยี น มาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู
และบริบทของโรงเรยี น

กิจกรรมการเรียนการสอนบรรลุตาม วางแผนการเตรียมการสอนไมใหบกพรอง

านและตัวชี้วัดมีลักษณะพึงประสงค โดยจัดทำแผนจัดการเรยี นรู ส่ือ แบบวัดและ

หลักสูตรกำหนด เหมาะสมกับวัย ประเมินผล ที่เหมาะสมกับมาตรฐาน ตัวชี้วัด

น และเวลาเรยี นของผเู รียน สาระการเรียนรู และบริบทของโรงเรียน

เหมาะสมกับวัย ระดับชั้น และเวลาเรียนของ

ผูเรยี น

3 หวง หลกั พอประมาณ

ประเด็น

3.เทคนิค/วิธสี อน เลือกกิจกรรมการเรยี นรูใหเ หมาะกับบริบท ออกแบบ
การนำเท
ของ ผเู รยี น ครู ชมุ ชน ธรรมชาติวชิ า และ ทรพั ยาก

ทรัพยากรทม่ี ีอยู

4. การเลือกใช เลือกและใชเครื่องมอื วธิ กี าร และเกณฑการ เพอ่ื ใหผ ูเ

เครื่องมือ วิธีการ และ วัดผลประเมนิ ผลใหเหมาะสมกับกิจกรรม เรยี นรขู อ

เ ก ณ ฑ  ก า ร ว ั ด ผ ล การเรียนรแู ละศกั ยภาพของผูเรียน พ้ืนฐาน

ประเมนิ ผล

ความร:ู รอบรหู ลักสูตรสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร มธั ยมศึกษาปท ี่ 2 มาต
เทคนิควิธสี อน

คุณธรรม: ใฝเ รยี นรู ความรับผดิ ชอบ ความเสียสละ ความขยนั ความยุติธรรม

หลักมีเหตุผล หลักสรางภมู ิคุมกนั ทดี่ ีในตัว

บการจดั การเรยี นรู เพื่อใหเ หน็ คณุ คา จัดเตรียมสื่อ / แหลงเรียนรู / ทรพั ยากรที่มี

ทคโนโลยี สอ่ื / แหลงเรยี นรู / วัสดุ อุปกรณในการจัดการเรียนการสอนให

กรทมี่ ีอยมู าใชใ หเกิดประโยชนส ูงสดุ เพียงพอกับผูเรียน เตรียมสื่อ CAI (โปรแกรม

ชวยสอน) ในกรณีที่ครูไมสามารถมาสอนได

ลว งหนา

เรยี นบรรลตุ ามวัตถปุ ระสงคการจัดการ เตรียมวิธีปองกันปญหา ที่อาจเกิดจากการ

องหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ัน จดั การเรียนรู การใชเ ครื่องมือไมตรงตามแผน
พุทธศักราช 2551 ที่วางไว วัดและประเมินผลบรรลุตาม

วัตถปุ ระสงคท ี่กำหนด

ตรฐาน/ตวั ชีว้ ดั เน้ือหาความรเู ร่อื ง พื้นฐานทางคอมพวิ เตอร การวดั ผล ประเมนิ ผล และ

รักและเมตตาตอ ศษิ ย

10.2 คุณลักษณะ “อยูอ ยางพอเพียง” ท่ีเกิดกับผเู รยี น

หลักพอประมาณ หลัก

1. เลือกใชฮารดแวรอปุ กรณเ ครอื ขายและตามความ 1.ตัดสินใจเลือกใชฮารดแ

จำเปนใชง านไมฟุมเฟอยเสียคาใชจายเกนิ ความจำเปน ตรงตามความตอ งการใชง

2. แบงหนาที่การทำงานไดตรงกับความสามารถของ 2. ยอมรบั ความคิดเหน็ แล

สมาชกิ แตละคนในกลมุ ภายใตเ วลาทีก่ ำหนด กลมุ

3. ปฏิบัติงานโดยใชระยะเวลาที่เหมาะสม ทั้งนี้ตอง 3.ใชทักษะกระบวนกา

เกิดจากการวางแผนการทำงานที่ดีและทำงานอยาง เทคโนโลยีการทำงานนอ

เปนระบบรูจักใชเทคโนโลยีทเ่ี หมาะสมกบั ภาระงาน บรรลุตามเปา หมาย

ความร:ู มีความรู ความเขา ใจการเปล่ยี นแปลงและผลกระทบของเทคโนโลยี
คุณธรรม: มคี วามซอ่ื สตั ยในการปฏบิ ตั งิ าน ขยนั รบั ผดิ ชอบ มุงมัน่ ในการทำงา
เรยี นทัง้ ดา นความรูและทรัพยากรทเ่ี ก่ียวของกบั บรบิ ทของการสรางและนำเสนองาน

นำไปสู สมดุลและพรอ

กมีเหตผุ ล หลกั สรา งภมู คิ ุมกันที่ดใี นตวั

แวรอ ุปกรณเครอื ขายตาง ๆ ได 1. มีการวางแผนในการเรียน การทำงานกลุมอยาง

งาน รอบคอบและเปนระบบ

ละความสามารถของสมาชิกใน 2.เตรียมพรอมแกปญหาที่อาจเกิดขึ้นในชวงที่สราง

งานและนำเสนอผลงาน

ารทำงานกลุมทักษะการใช 3. เตรียมพรอมสำหรับผลคะแนนที่จะไดรับจากการ

อกเวลาเรียนเพื่อใหภาระงาน ตรวจชน้ิ งานและนำเสนองานของครผู สู อน

าน มคี วามประหยัดในการเลือกวัสดแุ ละอปุ กรณเทคโนโลยี มนี ้ำใจชว ยเหลือเพ่อื นในชน้ั
นโดยใชโ ปรแกรมคอมพิวเตอร และสง งานตรงเวลา

อมรับการเปลีย่ นแปลง

ดา นวัตถุ ดานสงั คม

- มีความรูในการวางแผนการทำงาน - การทำงานรว มกับเพอ่ื นในกลุม

ก า ร จ ั ด แ บ  ง ห น  า ท ี ่ ต า ม ค ว า ม รู - แลกเปลยี่ นเรียนรูร วมกัน

ความสามารถของแตล ะคน กับเพอื่ น และครู

- มีความรูในเรื่องการสืบคนการ สรุป - ประยุกตใชเทคโนโลยีในการทำงาน

องคความรู และการจัดการความรูโดย อยา งสรางสรรค

ใชคอมพิวเตอรตามหลักปรัชญาของ -รูระเบียบการปฏิบัติในการใช

เศรษฐกจิ พอเพยี ง คอมพิวเตอรรว มกับผอู นื่

- มีความรู ความเขาใจในเรอ่ื งของการ

ใชคอมพิวเตอรแ ละอุปกรณประกอบอ่ืน

เพอ่ื การสรา งงาน

- มีทักษะในการวางแผนการทำงานและ - มีทักษะในการทำงาน

การใชวัสดุอุปกรณ เพื่อใหเกิดความ รว มกนั แบงปน

คุมคา เออ้ื เฟอเผ่อื แผ

- มีทักษะในการออกแบบและการสราง - ทกั ษะการทำงานอยา ง

ชิ้นงานโดยใชคอมพิวเตอรตามหลัก เปน ระบบมีการวางแผน

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ในการทำงาน

ดา นส่ิงแวดลอม ดา นวัฒนธรรม

- มีความรูในการเลอื กใชเทคโนโลยี เพ่ือ - รวู ฒั นธรรมในการทำงานรว มกับผอู ่ืน

ใชประโยชนไดอยางเหมาะสมกับ - รูวัฒนธรรม ในการแบงปน การใช

สภาพแวดลอม เทคโนโลยีคอมพิวเตอรในการสรางชิน้ งาน

- มคี วามรูในการใชเทคโนโลยีอยางคุมคา - รูมารยาทในการใชเทคโนโลยีรวมกับ

และประหยัดพลงั งาน ผูอืน่

- มีทักษะในการเลือกใชเ ทคโนโลยี เพื่อใช - ถายทอดวัฒนธรรมในการแบงปนการ

ป ร ะ โ ย ช น  ไ ด  อ ย  า ง เ ห ม า ะ ส ม กั บ ใชเทคโนโลยีคอมพิวเตอรในการสราง

สภาพแวดลอม ชนิ้ งาน

ดา นวัตถุ ดา นสงั คม

- มีทักษะในการเลือกคอมพิวเตอรและ - ปฏิบตั ติ ามระเบยี บการใช
วัสดุอุปกรณประกอบในการสรางงาน คอมพวิ เตอรร ว มกบั ผอู น่ื
และนำเสนออยางเหมาะสม

- ตระหนักและเห็นคุณคาของการวาง - มีเจตคติที่ดีในการชวยเหลือเกื้อกูล

แผนการทำงานและการใชวัสดุอุปกรณ แบงปน เอ้อื เฟอ เผ่ือแผ ในการทำงาน

เพือ่ ใหเ กิดความคมุ คา - เห็นคุณคาของการทำงานอยางเปน

- ตระหนักและเห็นคุณคาของการอก ระบบและมีการวางแผนในการทำงาน

แบบและการสรางชิ้นงานโดยใช -ตระหนักและเห็นคุณคาของการเปน

คอมพิวเตอรตามหลักปรัชญาของ แบบอยางที่ดีในการปฏิบัติตาม

เศรษฐกจิ พอเพยี ง ระเบียบการใชคอมพิวเตอรรวมกับ

- มีเจตคติท่ดี ีในการใชคอมพวิ เตอรเพื่อ ผอู นื่

การนำเสนอความรู

ดานสิ่งแวดลอม ดานวัฒนธรรม

- มีทักษะในการใชเทคโนโลยีอยางคุมคา - มีมารยาทในการใชเทคโนโลยีรวมกับ

และประหยัดพลงั งาน ผอู ่ืน

-ตระหนกั และ เหน็ คณุ คา ของการเลือกใช - เกิดความภาคภูมิใจผลงานท่ที ำ

เทคโนโลยี เพื่อใชประโยชนไดอยาง - ตระหนักและเห็นคุณคาของการใช การ

เหมาะสมกับสภาพแวดลอม รักษาทรัพยากรสวนรวมอยางประหยัด

-ตระหนักและเห็นคุณคาของการใช และคุมคา

เทคโนโลยีอยางคุมคาและประหยัด -ม ี เจ ตคติท่ี ดีต อวั ฒนธร รม การใช

พลงั งาน เทคโนโลยีรว มกบั ผูอ ืน่

แบบทดสอบกอนเรียน

หนว ยการเรยี นรูที่ 1

คำชี้แจง : ใหน ักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกตองที่สุดเพียงขอเดียว

1. ขอ ใดกลา วถึงเทคโนโลยี 5. สมารทโฟน เปน เทคโนโลยที ี่พัฒนาขึ้นจากปจจัย

ก. การสังเกตปรากฏการณทางธรรมชาตอิ ยา ง การเปล่ียนแปลงในขอใด

ตอ เนอ่ื ง ก. การตอบสนองความตอ งการของมนุษย

ข. นำทฤษฎีมาใชประโยชนท ำใหเกิดความแมนยำ ข. ความกาวหนา ของศาสตรต า ง ๆ

ในการทำนาย ค. การแกปญหาตางที่เกิดข้นึ ในสงั คม

ค. นำความรมู าประยุกตใชในการสรางเครอื่ งมือ ง. การผลติ สินคา ทีเ่ พ่ิมมากข้นึ

ท่ีอำนวยความสะดวกใหกับมนษุ ย 6. ไฟฟาที่เกิดจากพลงั งานแสงอาทติ ย เปน เทคโนโลยี

ง. ใชความคดิ สรางสรรคพัฒนาและผลติ สินคาใหม ท่ีพัฒนาขึน้ จากปจ จยั การเปล่ยี นแปลงเทคโนโลยี

เพ่อื ประโยชนในเชงิ พาณชิ ย ในขอใด

2. ขอ ใดไมใ ชประโยชนข องเทคโนโลยี ก. การตอบสนองความตองการของมนษุ ย

ก. ชวยอำนวยความสะดวกใหกับชวี ติ มนษุ ย ข. ความกาวหนาของศาสตรต า ง ๆ

ข. ชว ยแกป ญ หาทเี่ กิดขึน้ ในสังคม ค. การแกป ญหาตา ง ๆ ท่เี กิดข้ึนในสังคม

ค. ทำใหเกดิ การใชท รัพยากรธรรมชาติ ง. การผลติ สนิ คา ทีเ่ พิม่ มากขน้ึ ฃ

มากขึน้ 7. “อนิ เทอรเนต็ ” ทำใหเ กิดการแลกเปล่ยี นความรูและ

ง. ทำใหก ระบวนการผลิตมีประสทิ ธิภาพมากขน้ึ วฒั นธรรมของคนท่วั โลก จงึ กลา วไดว า อนิ เทอรเ นต็

3. ขอ ใดไมใชปจ จัยท่ที ำใหเกดิ การเปล่ยี นแปลง สงผลกระทบดา นใดจากการเปลย่ี นแปลงเทคโนโลย

เทคโนโลยี ก. ดา นสงั คมและมนุษย

ก. การตอบสนองความตอ งการของมนุษย ข. ดานเศรษฐกิจ

ข. ความกา วหนาของศาสตรตาง ๆ ค. ดานสงิ่ แวดลอม

ค. การแกป ญหาตา ง ๆ ทีเ่ กดิ ข้นึ ในสังคม ง. ดานกฎหมาย

ง. การเปล่ยี นแปลงทางสังคม 8. “การโอนเงนิ ผานมือถอื ” สงผลกระทบดา นใด

4. “การใชเ ปลอื กของกงุ ลอ็ บสเตอรม าผลิตเปน พลาสตกิ ชวี ภาพ จากการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยี

ที่ยอยสลายงาย” สง ผลกระทบ ก. ดา นสังคมและมนษุ ย

ดา นใดจากการเปลยี่ นแปลงเทคโนโลยี ข. ดานเศรษฐกจิ

ก. ดา นสังคมและมนษุ ย ข. ดา นเศรษฐกิจ ค. ดานสงิ่ แวดลอ ม

ค. ดานสิง่ แวดลอ ม ง. ดา นกฎหมาย ง. ดา นกฎหมาย

9. ความรเู รื่องฟา ผา เปนปรากฏการณท างธรรมชาติ 10. เพราะเหตุใดเราจึงตอ งวิเคราะหเปรยี บเทยี บขอดี

ท่เี กิดข้นึ จากอิเลก็ ตรอนจำนวนมากเคลื่อนท่ีไปมา ขอเสียที่เกดิ ขึ้นกอ นลงมือสรางเทคโนโลยี

ระหวางเมฆกับเมฆหรอื ระหวา งเมฆกบั พ้ืนโลก ก. เพราะจะไดสรา งเทคโนโลยที ี่มตี นทนุ ต่ำทสี่ ดุ

เปน ความรทู ีเ่ กย่ี วของกับศาสตรด า นใด ข. เพราะเทคโนโลยีที่สรางข้ึนมีความสามารถดีทสี่ ดุ

ก. วิทยาศาสตร ข. คณติ ศาสตร ค. เพราะเทคโนโลยีทส่ี รางข้ึนสรางรายไดใหป ระเทศมากข้ึน

ค. สังคมศาสตร ง. เศรษฐศาสตร ง.เพราะเทคโนโลยีทสี่ รา งข้ึนจะเกิดประโยชนส งู สุดแกมนษุ ย

เฉลย 1. ค 2. ค 3. ง 4. ค 5. ก 6. ค 7. ก 8. ข 9. ก 10. ง

ใบงานท่ี 1.1.1

เรือ่ ง ผลกระทบของเทคโนโลยี

คำชแี้ จง : ใหนกั เรียนอานและทำความเขาใจกับเนื้อหา พรอมตอบคำถามลงในประเดน็ ที่กำหนดให

บริษัทสตารทอัพ Shell works ประเทศอังกฤษไดพัฒนาพลาสติกชีวภาพ ใชเปลือกของกุง
ล็อบสเตอร ซึ่งในเปลือกกุงล็อบสเตอรมีสารพอลิเมอรชีวภาพที่เรียกวา ไคติน (Chitin) เปนองคประกอบสูงมาก
สามารถนำมาพัฒนาเปนวัสดุที่ยอยสลายไดและยังสามารถนำกลับมาใชใหมไดอีกดวย โดยขั้นแรกเริ่มจากการนำ
เปลือกล็อบสเตอรม าปนใหเปนผงและยอยสลายตอโดยใชตัวทำละลายอินทรีย เพื่อสกัดเอาไคตินออกมา ไคตินจะถูก
นำไปทำปฏิกิรยิ ากับสารละลายกรดเบส จนไดเปนผงไคโตซาน ท่ีไดมาผสมกับน้ำสมสายชู จนไดสารละลายพลาสติก
ชีวภาพ ซง่ึ สามารถนำไปใชทำผลติ ภณั ฑสามมิติ เชน ถุงพลาสตกิ

พลาสตกิ ชีวภาพจากเปลอื กกุงลอ็ บสเตอร มคี ุณสมบตั ิพเิ ศษทส่ี ามารถตา นทานเชอ้ื ราและแบคทเี รยี ไดรวมทงั้
สามารถยอยสลายกลายเปนปุยได โดยไมก อใหเกิดอันตรายตอส่ิงแวดลอ ม อยางไรก็ตาม แมบรรดานักวิจัยจะหวังวา
ในอนาคตจะมีการใชพ ลาสตกิ ชีวภาพผลิตชอนสอมแบบใชแลวทิ้งแพรหลายขึ้น แตบางคนบอกวาเราอาจจะไมไดเ ห็น
ถุงพลาสติกจากกุงล็อบสเตอรในเร็ว ๆ นี้ เพราะกระบวนการผลติ น้ันมรี าคาคอนขางสงู เม่ือเทียบกบั พลาสติกที่ผลติ ใน
อตุ สาหกรรมขนาดใหญ
ที่มา : http://www.nsm.or.th/other-service/679-online-science/knowless-inventory/science-
news/science-news-science-museum/3734

ผลกระทบทางบวกและลบของเทคโนโลยีการผลติ พลาสติกชวี ภาพ

ผลกระทบ ผลกระทบทางบวก ผลกระทบทางลบ

ดา นสังคม

ดา นเศรษฐกิจ

ดานสิ่งแวดลอ ม

การตดั สินใจเลอื กใชเทคโนโลยี  เลอื กใช  ไมเ ลือกใช
เหตผุ ล .................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................

ใบกจิ กรรมท่ี 1.1.1 เฉลย
เร่อื ง ผลกระทบของเทคโนโลยี

คำช้ีแจง : ใหน ักเรยี นอา นและทำความเขา ใจกบั เนื้อหา พรอมตอบคำถามลงในประเด็นท่ีกำหนดให

บริษัทสตารทอัพ Shell works ประเทศอังกฤษไดพัฒนาพลาสติกชีวภาพ ใชเปลือกของกุง
ล็อบสเตอร ซึ่งในเปลือกกุงล็อบสเตอรมีสารพอลิเมอรชีวภาพที่เรียกวา ไคติน (Chitin) เปนองคประกอบสูงมาก
สามารถนำมาพัฒนาเปนวัสดุที่ยอยสลายไดและยังสามารถนำกลับมาใชใหมไดอีกดวย โดยขั้นแรกเริ่มจากการนำ
เปลือกล็อบสเตอรมาปนใหเปนผงและยอยสลายตอ โดยใชตัวทำละลายอินทรีย เพื่อสกัดเอาไคตินออกมา ไคตนิ จะถกู
นำไปทำปฏิกิริยากับสารละลายกรดเบส จนไดเปนผงไคโตซาน ท่ีไดมาผสมกบั น้ำสมสายชู จนไดสารละลายพลาสติก
ชวี ภาพ ซง่ึ สามารถนำไปใชท ำผลติ ภัณฑส ามมิติ เชน ถงุ พลาสตกิ

พลาสติกชวี ภาพจากเปลอื กกุงลอ็ บสเตอร มคี ุณสมบตั ิพเิ ศษทส่ี ามารถตา นทานเชอ้ื ราและแบคทเี รียไดรวมท้งั
สามารถยอยสลายกลายเปนปุยได โดยไมกอใหเกดิ อนั ตรายตอสิ่งแวดลอม อยางไรก็ตาม แมบรรดานักวิจยั จะหวังวา
ในอนาคตจะมีการใชพ ลาสติกชีวภาพผลิตชอนสอมแบบใชแลว ทิ้งแพรห ลายขึ้น แตบางคนบอกวาเราอาจจะไมไดเ ห็น
ถุงพลาสติกจากกุงล็อบสเตอรในเร็ว ๆ นี้ เพราะกระบวนการผลติ นั้นมีราคาคอนขางสูงเมื่อเทยี บกบั พลาสติกท่ีผลติ ใน
อุตสาหกรรมขนาดใหญ
ทม่ี า : http://www.nsm.or.th/other-service/679-online-science/knowless-inventory/science-
news/science-news-science-museum/3734

ผลกระทบทางบวกและลบของเทคโนโลยกี ารผลิตพลาสติกชีวภาพ

ผลกระทบ ผลกระทบทางบวก ผลกระทบทางลบ

ดานสงั คม พลาสตกิ ชวี ภาพจากเปลือกกุงล็อบสเตอร มี -

คุณสมบัตพิ เิ ศษท่สี ามารถตา นทานเชื้อราและ

แบคทีเรีย เหมาะกับการบรรจอุ าหาร

ดานเศรษฐกจิ สามารถนำไปสรา งบรรจภุ ัณฑแทนพลาสตกิ ตนทุนการผลติ ราคาคอ นขางสงู ทำใหส ินคา
กระดาษ หรอื ทรัพยากรทม่ี ีแนวโนม ลดลง เปน ราคาสงู ขน้ึ
ทางเลือกสำหรบั ผบู รโิ ภคทรี่ กั ษโ ลก

ดานสงิ่ แวดลอ ม - พลาสตกิ ชีวภาพ (Bioplastic) ทส่ี ามารถยอย -
สลายไดในธรรมชาตแิ ละเปน ปยุ ในดนิ
- ลดขยะทีเ่ กดิ จากพลาสติกท่มี มี ากขน้ึ

การตดั สนิ ใจเลอื กใชเทคโนโลยี  เลอื กใช  ไมเลือกใช
เหตุผล .ม...ผี ..ล..ก...ร..ะ..ท...บ..ใ..น..ท...า..ง..บ..ว..ก...ม..า..ก...ก..ว..า..ท...า..ง.ล...บ.....แ..ล...ะ..ป...จ..จ..บุ...นั ..ม...ปี ..ร..ิม...า..ณ...ข...ย..ะ..จ..า..ก...ถ..ุง..พ...ล..า..ส..ต...ิก..ท...่มี ..า..ก...ข..้นึ..................

ซ่งึ ทำลายยาก รวมทง้ั เปนภัยตอ สัตวโ ลกที่มากขน้ึ โดยเฉพาะอยางยิ่งสตั วท ะเล

แบบทดสอบหลังเรยี น

หนวยการเรียนรูท่ี 1

คำชีแ้ จง : ใหนกั เรียนเลือกคำตอบที่ถูกตองที่สุดเพียงขอเดียว

1. ขอใดกลาวถึงกระบวนการทางวิทยาศาสตร 5. เทคโนโลยีใดทพ่ี ฒั นาขน้ึ เพอ่ื ตอบสนองความตองการ
ก. การใชเปลอื กของกุงล็อบสเตอรม าผลติ เปน ของมนุษย ทำใหมนษุ ยไดร ับความสะดวกมากขึ้น
พลาสตกิ ชวี ภาพ ก. สมารท โฟน
ข. ฟา ผา เปนปรากฏการณทางธรรมชาตทิ ่เี กิดข้ึน ข. ยานอวกาศ
จากอเิ ล็กตรอนจำนวนมากเคลอื่ นทไ่ี ปมา ค. ไฟฟาจากพลงั งานแสงอาทติ ย
ระหวา งเมฆกับเมฆหรือระหวางเมฆกบั พื้นโลก ง. ดาวเทียม
ค. หุนยนตเ ชอ่ื มโลหะในสายการผลิตของโรงงาน
ง. โดรนปฏิบัตกิ ารพน สารเคมี ปุย ฮอรโ มนพืช 6. เทคโนโลยีใดทีพ่ ฒั นาขึ้นเพือ่ แกปญหาการขาดแคลน
พลังงาน
2. การนำความรูว ิทยาศาสตรม าประยกุ ตใ ชส ำหรบั ก. โดรน
ข. ยานอวกาศ
การสรา งเคร่ืองมอื ท่ีอำนวยความสะดวกใหกับมนษุ ย ค. กังหนั ลม
ง. ดาวเทียม
คอื อะไร
7. ขอใดไมเ กยี่ วขอ งกบั เทคโนโลยที ี่ทำใหเกดิ รูปแบบ
ก. เทคโนโลยี ข. วิศวกรรม การคน หาขอมลู ในหองสมุดของนักเรยี นที่ปลีย่ นไป
ก. คลนื่ แมเ หล็กไฟฟา
ค. นวตั กรรม ง. คณิตศาสตร ข. อินเทอรเ นต็
ค. ดาวเทยี ม
3. ขอใดจดั เปน การใชเทคโนโลยเี พอื่ แกป ญหา ง. ยานอวกาศ
การขาดแคลนพลังงาน
ก. หุนยนตเ ชือ่ มโลหะในสายการผลิตของโรงงาน 8. ขอ ใดคอื ผลกระทบทางลบท่ีรนุ แรงทีส่ ุดที่เกดิ จาก
ข. การผลติ ไฟฟา จากพลงั งานแสงอาทติ ย การใชเทคโนโลยีท่ีชาญฉลาด
ค. การใชเ ปลอื กของกุงล็อบสเตอรมาผลิต ก. การใชพ ลงั งานไฟฟาท่ีมากขนึ้
เปนพลาสติกชีวภาพ ข. ทำใหค วามสัมพันธของมนุษยเสื่อมลง
ง. การใชโดรนปฏิบตั กิ ารพนสารเคมี ปุย ฮอรโ มนพืช ค. สายตาเสียจากการใชคอมพิวเตอรเ ปน เวลานาน
ง. การยกเลกิ การจางแรงงานคนในการทำงาน
4. ขอใดไมใชปจ จัยที่ทำใหเกิดการเปลย่ี นแปลง บางดาน
เทคโนโลยี
ก. การตอบสนองความตองการของมนุษย
ข. การแกป ญหาตา ง ๆ ท่เี กิดขึ้นในสงั คม
ค. การเปลย่ี นแปลงทางสังคม
ง. ความกา วหนาของศาสตรต า ง ๆ

9. ขอ ใดคือผลกระทบทางบวกของการใชเทคโนโลยี 10. การลงมอื สรางเทคโนโลยเี พ่ือกอใหเ กิดประโยชนส งู สดุ

อินเทอรเนต็ ของมนษุ ยจะตองทำสง่ิ ใด

ก. ทำใหติดตอสือ่ สารกับบคุ คลอื่นไดอยางลาชา ก. วเิ คราะหเปรียบเทียบขอ ดี-ขอเสยี กอนลงมือ

ข. ทำใหตลาดการคาขายถดถอย สรางเทคโนโลยี

ค. ทำใหต ิดตามเคล่อื นไหวจากขาวสารทัว่ โลก ข. สำรวจความตอ งการของผูใ ชงาน

อยา งรวดเรว็ ค. เปรยี บเทียบกบั คูแขง กอนลงมอื สรางเทคโนโลยี

ง. ทำใหมกี ารใชไ ฟฟา มากขึน้ สง ผลกระทบ ง. คัดเลือกวสั ดุที่ดที ส่ี ดุ ในการสรา งเทคโนโลยี

ตอ สายตา

เฉลย

1. ข 2. ก 3. ข 4. ค 5. ก 6. ค 7. ข 8. ง 9. ค 10. ก

แบบประเมนิ คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค

คำชีแ้ จง : ใหผสู อน สังเกตพฤตกิ รรมของนกั เรยี นในระหวางเรยี นและนอกเวลาเรียน แลวขดี  ลงในชอ งท่ีตรงกับ
ระดับคะแนน

ระดับคะแนน

รายชื่อนักเรยี น ความ ื่ซอ ัสต ยสุจริต 321
ใ ฝเรียนรู
มุงม่ันในการทำงาน

เด็กหญิงกานตธิดา คงยง
เดก็ หญิงดารินทพิ ย ทรงเลศิ
เดก็ หญงิ นันทิกานต ถาวร
เด็กหญงิ บัณฑติ า รตั นพันธ
เดก็ หญิงวราภร เอ่ยี มอกั ษร
เด็กหญงิ สุธิดา สวุ รรณคช
เดก็ หญิงสลุ ัดดา ชูบัวทอง
เดก็ หญงิ อนติ ยา วรี ะสขุ
เดก็ หญิงอนศิ า รตั นพันธ
เด็กชายชัยอมั รนิ ทร ตาดทอง
เดก็ ชายเจนวทิ ย วเิ ชียร
เด็กชายธนกร ทองออ น
เด็กชายธีรภทั ร ทองสม
เด็กชายนารากร ทองทพิ ย
เด็กชายภวู เดช ฤทธิพลัด
เด็กชายมนสั ชัย คงยงค
เดก็ ชายรฐั พล จันสขุ
เด็กชายรฐั ภมู ิ หนชู ุม
เดก็ ชายศกั ดนิ์ รนิ ทร โมรา
เด็กชายสรุ ิยศักด์ิ ปานเฉวง
เด็กชายอภิวัฒน สกุณา

เกณฑการใหค ะแนน ลงชอื่ ..............................................ผปู ระเมนิ
.................../.................../....................
- พฤตกิ รรมท่ปี ฏิบตั ิชัดเจนและสมำ่ เสมอ ให 3 คะแนน

- พฤตกิ รรมทปี่ ฏิบตั ชิ ัดเจนและบอ ยครง้ั ให 2 คะแนน

- พฤตกิ รรมทป่ี ฏิบตั บิ างครงั้ ให 1 คะแนน

บนั ทกึ หลงั การสอน

1. ผลการสอน
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

2. ปญ หา/อปุ สรรค
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

3. ขอเสนอแนะ/แนวทางแกไ ข
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชือ่ ...............................................ครผู ูส อน
(นางสาวเตชนิ ี ภิรมย)

วันท่ี.......เดอื น..........................พ.ศ. ............

4. ความคิดเห็นของหัวหนา กลุมสาระการเรียนรู
ขอ เสนอแนะ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชือ่ ...............................................................
()

หวั หนา กลมุ สาระการเรยี นรวู ิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

5. ความเหน็ ของหัวหนา กลุมบริหารวิชาการ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชอ่ื ...............................................................
(นางสาวรจุ ริ า บัวลอย)

หัวหนา กลมุ บรหิ ารวิชาการ

6. ความเหน็ ของผอู ำนวยการสถานศึกษา
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชอ่ื ...............................................................
(นางจิราพร อินทรทัศน)

ผอู ำนวยการโรงเรยี นวังหนิ วิทยาคม

แผนการจัดการเรยี นรู

แผนการจัดการเรียนรทู ี่ 1 ความรเู กีย่ วกับวสั ดุ

กลมุ สาระการเรียนรู วิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี รหสั วชิ า ว22103
ช้ัน มธั ยมศึกษาปที่ 2 ภาคเรียนท่ี 1 ปก ารศึกษา 2565
หนวยการเรียนรทู ี่ 2 วัสดุ อุปกรณ ทางเทคโนโลยี เวลาเรยี น 2 ชวั่ โมง

สาระท่ี 4 เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี
1. มาตรฐาน/ตัวช้ีวดั

1.1ตัวชี้วัด
ว 4.1 ม.2/5 ใชค วามรู และทักษะเกย่ี วกบั วสั ดุ อุปกรณ เครื่องมือ กลไก ไฟฟา และ
อเิ ลก็ ทรอนิกส เพอ่ื แกปญ หาหรือพฒั นางานไดอยางถูกตอ งเหมาะสม และปลอดภยั

2. สาระสำคญั
มนุษยนำวัสดุจากธรรมชาติและวัสดุที่สรางขึ้นและปรับปรุงจากความรูดานวิทยาศาสตรและ

เทคโนโลยีใหม ๆ ทำใหมวี ัสดหุ ลากหลายประเภทท่มี ีคุณสมบตั ทิ ดี่ ีมากข้ึนเร่ือย ๆ ดงั น้นั การเลอื กใชวัสดุ จาก
สมบัติของวัสดุแตละประเภท จึงเปนเรื่องสำคัญที่จะสงผลใหชิ้นงานนั้นตรงกับความตองการ และมีความ
ปลอดภยั สามารถใชทรพั ยากรไดอ ยา งคุม คา

3. จดุ ประสงคการเรยี นรู
1. บอกสมบัติของวสั ดแุ ตล ะประเภทไดถูกตอง (K)
2. เลอื กวัสดุทีใ่ ชใ นการสรา งช้นิ งานแตล ะประเภทไดอยางเหมาะสม (K)
3. บอกความแตกตางของวสั ดศุ าสตรแ ละวัสดุวศิ วกรรมได (K)
4. วางแผนพฒั นาผลิตภณั ฑไดอยา งถกู ตอง เหมาะสม และปลอดภยั (P)
5. เล็งเหน็ ถงึ ความสำคัญของการเลือกวสั ดแุ ตล ะประเภทในการพัฒนาชน้ิ งาน (A)

4. สาระการเรียนรู สาระการเรียนรูทอ งถนิ่
พจิ ารณาตามหลักสูตรของสถานศึกษา
สาระการเรียนรูแกนกลาง
- วัสดแุ ตละประเภทมสี มบตั แิ ตกตางกัน เชน ไม
โลหะ พลาสตกิ จึงตองมีการวเิ คราะหสมบัติ
เพื่อเลือกใชใ หเ หมาะสมกับลักษณะของงาน
- การสรางชน้ิ งานอาจใชความรู เรือ่ งกลไก ไฟฟา
อิเล็กทรอนกิ ส เชน LED มอเตอร บัซเซอร เฟอง
รอก ลอ เพลา
- อปุ กรณแ ละเคร่อื งมือในการสรางชิ้นงาน หรือ
พัฒนาวิธกี ารมีหลายประเภท ตอ งเลอื กใชใ ห
ถกู ตอ ง เหมาะสม และปลอดภัย รวมทงั้ รจู กั
เก็บรักษา

5. สมรรถนะสำคญั ของผูเรยี นและคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค

สมรรถนะสำคัญของผูเรยี น คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค
1. มวี นิ ัย รับผิดชอบ
1. ความสามารถในการสอ่ื สาร 2. ใฝเรียนรู
- ทกั ษะการสื่อสาร 3. มงุ มัน่ ในการทำงาน
- ทักษะการแลกเปลย่ี นขอ มลู

2. ความสามารถในการคิด
- ทกั ษะการคดิ วิเคราะห

3. ความสามารถในการแกป ญหา
- ทักษะการสงั เกต

4. ความสามารถในการใชท กั ษะชีวิต
- ทักษะการทำงานรว มกนั

5. ความสามารถในการใชเ ทคโนโลยี
- ทกั ษะการสืบคนขอมูล

6. ช้นิ งาน/ภาระงาน
6.1 แบบทดสอบกอนเรียน
6.2 ใบงานท่ี 2.2.1

7. กระบวนการจดั การเรียนรู

ขั้นนำ

ขน้ั ท่ี 1 กระตนุ ความสนใจ (Engagement)
1. นกั เรยี นทำแบบทดสอบกอนเรยี น หนว ยการเรยี นรทู ี่ 2 เรือ่ ง วัสดุ อุปกรณทางเทคโนโลยี
2. นกั เรียนสงั เกตภาพผลติ ภัณฑจากวสั ดุประเภทตาง ๆ ในหนังสอื เรียนรายวิชาพื้นฐาน
วทิ ยาศาสตร เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ม.2 หนว ยการเรียนรูท่ี 2 เร่อื ง
วัสดุ อุปกรณทางเทคโนโลยี และเปด โอกาสใหน ักเรยี นอภิปรายรวมกันภายในช้ันเรียนวา
ภาพดงั กลาวประกอบดว ยวัสดปุ ระเภทใดบาง
3. จากนั้นครถู ามคำถามเพ่อื กระตนุ ความสนใจของนักเรียนวา “การเลือกใชว ัสดทุ เ่ี หมาะสม
มีผลตอการสรางไดอยางไร”
(แนวตอบ : นกั เรยี นตอบตามความคดิ เหน็ ของตนเอง โดยคำตอบขน้ึ อยกู ับดุลยพนิ จิ ของ
ครผู ูสอน เชน การเลือกใชว ัสดุตา ง ๆ มผี ลตอ การสรา งนวัตกรรม ถาเลือกใชไมเ หมาะสม
อาจจะสงผลถึงปญ หาการใชงานตา ง ๆ ได เปน ตน )
4. ครูอธบิ ายกับนักเรียนเพื่อเชอื่ มโยงเขาสูบทเรียนวา “วสั ดมุ ีหลากหลายประเภท ดังนั้น
การใชงานจงึ จำเปนตองศึกษาหรอื พจิ ารณาจากคณุ สมบัติใหตรงกับลกั ษณะการใชงาน
เพ่ือความปลอดภยั และใชทรัพยากรไดอยางคมุ คา”

ข้ันสอน

ข้ันท่ี 2 สำรวจคน หา (Exploration)
1. นกั เรียนแบง กลุม กลุมละ 5 คน หรอื ตามความเหมาะสม โดยใหแ ตละกลมุ สบื คน ขอมลู
เรอ่ื ง ประเภทของวัสดุ จากหนังสอื เรยี น หรอื สืบคนเพิ่มเติมจากอินเทอรเน็ตที่
เครื่องคอมพิวเตอรของตนเอง ซง่ึ โดยทั่วไปประเภทของวสั ดุสามารถแบงออกได ดังนี้
1) โลหะ
1.1) โลหะประเภทเหล็ก
1.2) โลหะนอกกลมุ เหลก็
2) อโลหะ
2.1) วัสดุจากธรรมชาติ
2.2) วัสดสุ งั เคราะห

ขัน้ ท่ี 3 อธิบายความรู (Explanation)
2. ครอู ธบิ ายกับนักเรยี นวา “นอกจากวัสดปุ ระเภทโลหะและอโลหะยงั มวี สั ดปุ ระเภทตา ง ๆ
ทีน่ กั เรียนควรรูจัก เชน วัสดุฉลาด วัสดชุ ีวภาพ วัสดนุ าโน เปนตน”
3. เปด โอกาสใหน ักเรยี นศกึ ษาความรูแ ละอภิปรายรวมกันภายในกลมุ เกีย่ วกับวัสดตุ า ง ๆ
ทีก่ ลาวมา
4. ครูสมุ นักเรยี น 3-4 คน ออกมาอภิปรายเกร็ดเสรมิ ความรทู เี่ ก่ียวของกบั เนื้อหา (Design
Focus) ดังนี้

“วัสดุฉลาด คือ วัสดุที่มีความสามารถในการตอบสนองตอสิ่งเราภายนอก เชน
มรี ปู รางเปล่ยี นแปลงตามอณุ หภมู หิ รือมีแรงเคล่อื นไฟฟา เชน เลนสข องแวนตากันแดดสามารถ
ปรับสีไดเองตามความเขมของแสงที่เปลี่ยนแปลงไป ลวดนำทาง (Guide Wire) ในการผา ตดั
สายสวน (Catheter) ผานทางเสนเลอื ด ถาหากวัสดุฉลาดเหลานี้สามารถซอมแซมตัวเองหรอื
พฒั นาตัวเองใหดีย่งิ ข้นึ จะเรยี กวสั ดเุ หลานีว้ า วัสดุอจั ฉริยะ (Intelligent Materials) เชน
เสนใยแกวนำแสงท่ีมขี อเสีย เรอื่ ง ความเปราะบางและแตกหกั งา ย ดังนน้ั เม่ือนำมาผสมกับ
วัสดใุ นกลมุ พอลิเมอรจำรูป จนเกดิ เปน เสนใยแกวนำแสงอัจฉริยะชนิดใหมที่สามารถซอ มแซม
ตัวเองไดเ ม่ือเกดิ การแตกหักเสยี หาย”

“วัสดุชีวภาพ คือ วัสดุที่สามารถเปนสวนประกอบหรอื ฝงอยูภายในรางกายมนุษย
เพื่อใชเปน วัสดุทดแทนสวนตา ง ๆ ในรางกายที่เสียหายจากโรคหรือสาเหตุอ่ืน ๆ เชน ขาเทียม
หรอื กระดูกเทียมท่ที ำจากโลหะผสมท่ีเปน มติ รตอรางกาย ไดแ ก โลหะไทเทเนียมผสม และ
โลหะผสมระหวางโคบอลต-โครเมียม”

“วัสดุนาโน คือ วสั ดุที่มีขนาดอยางนอยหนึ่งมติ ิเปนขนาดนาโน (มีขนาดระหวาง
1 ถึง 100 นาโนเมตร) โดยแบง เปน 2 กลุม คือ วัสดุนาโนจากธรรมชาติ เชน พื้นผิวใบบัวใย
แมงมุม เสนขนตีนตุกแกและวัสดุนาโนจากการผลิต เปนวัสดนุ าโนที่ผลิตขึ้น เพื่อใหมีสมบตั ิ
หรือองคป ระกอบทจ่ี ำเพาะ เชน อนภุ าคนาโนของธาตเุ งนิ มีฤทธ์ิในการฆาเช้อื โรค สามารถ
นำมาใชประโยชนทางการแพทย หรือ อุปกรณฟอกอากาศ และสารเฟอรโรอิเล็กทริกสามารถ
นำไปใชง านทางดานการเกบ็ ขอมูลของอปุ กรณอเิ ล็กทรอนกิ ส”
5. นักเรียนสแกนคิวอารโคด เรอ่ื ง วัสดสุ ังเคราะห จากหนงั สือเรยี นและอภปิ รายความรเู พือ่ สรปุ
ประเด็นสำคญั ทไี่ ดจ ากการดูคลปิ วดี ิโอ ดังนี้
“วสั ดสุ ังเคราะห คือ วัสดุที่สรางจากการผสมกนั ของวสั ดหุ รือกระบวนการทางเคมี เพือ่ ใหเกิด
วสั ดุที่มคี ณุ ภาพทแ่ี ตกตา งและดขี นึ้ วัสดุสังเคราะห ไดแ ก

1) ไมส งั เคราะห - นิยมนำมาผลิตเฟอรนิเจอร พ้นื ไม และระแนงกันแดด
2) พลาสติก - นิยมนำมาผลิตภาชนะ ถุงพลาสตกิ และเคร่ืองใชไ ฟฟา
3) เซรามิก - นยิ มนำมาผลิตภาชนะ เครือ่ งสุขภัณฑ แจกัน
4) แกว - นยิ มนำมาผลิตภาชนะ อุปกรณวทิ ยาศาสตร กระจก
5) กระดาษ - นิยมนำมาผลติ กระดาษวาด กลอ ง ผลงานศิลปะ
6) เสนใยสงั เคราะห - นิยมนำมาผลติ เชือก พรม เส้อื ผา
7) ยางสงั เคราะห - นิยมนำมาผลิตยางรถยนต สายพานลำเลยี ง ฉนวนหุม สายไฟ”

ขั้นที่ 4 ขยายความเขาใจ (Elaboration)
6. นักเรียนแบงกลุมออกเปน 4 กลมุ ใหเลนเกม วัสดุอะไรเอย โดยมีกติกา ดงั นี้
“ครเู ขียนชือ่ วัสดบุ นกระดาน ไดแ ก เหล็ก อะลูมเิ นียม ไม ยาง ผา ไมสังเคราะห พลาสตกิ
เซรามิก แกว กระดาษ เสนใยสังเคราะห ยางสังเคราะห และใหส มาชกิ แตละกลมุ สลับกัน
ออกมาบอกชื่อผลิตภัณฑ และบอกวาทำมาจากวัสดใุ ด ซึ่งคำตอบของแตล ะกลุมจะตองไมซ้ำ
กนั และกำหนดเวลาใหแตล ะกลุม กลุม ละ 5 วินาที โดยกลมุ ใดทีท่ ำผิดกตกิ าจะตองยุติการเลน
เกม กลุมที่ชนะจะเปนกลมุ สดุ ทา ยทเ่ี หลืออยู”

7. นักเรียนวิเคราะหความสัมพันธของวัสดุศาสตรและวัสดุวิศวกรรมจากผังความคิดวสั ดุศาสตร
และวัสดวุ ศิ วกรรมจากหนังสือเรียน โดยครูอธิบายเพิม่ เติมวา “คุณสมบัติตา งๆ ของวัสดุ
เรยี กวา วสั ดุศาสตร จึงเปนความรูหลักการพนื้ ฐานสำหรบั การประยกุ ตใ ชงาน โดยการปรบั ปรุง
คณุ สมบัติของวสั ดุตา ง ๆ แลว นำมาผลิตเปนผลติ ภณั ฑที่ตอ งการจะเรียกวา “วัสดวุ ิศวกรรม”

8. ครูถามนกั เรียนวา“นักเรียนรูจกั เสนใยแกวนำแสงหรอื ไม” จากนั้นครอู ธิบายเกร็ดเสรมิ ความรู
ที่เกี่ยวของกับเนื้อหา (Design Focus) เรื่อง เสนใยแกวนำแสงวา“เสนใยแกวนำแสง หรือ
ไฟเบอรออปติก เปนตัวกลางของสัญญาณแสงชนิดหนึ่งที่ทำมาจากแกวซึ่งมีความบริสุทธิ์
สูงมาก เสนใยแกวนำแสงมีลักษณะเปนเสนยาวขนาดเล็ก มีขนาดประมาณเสนผมของมนุษย
เสนใยแกวนำแสงที่ดีตองสามารถนำสัญญาณแสงจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่งได โดยมี
การสูญเสียของสัญญาณแสงนอยมาก เสนใยแกวนำแสงสามารถแบงตามความสามารถ
ในการนำแสงออกไดเปน 2 ชนิด คอื เสนใยแกวนำแสงชนิดโหมดเดย่ี ว (Singlemode
Optical Fibers) และเสนใยแกว นำแสงชนดิ หลายโหมด (Multimode Optical Fibers)”

9. ครูใหน ักเรียนแบง กลุม(กลมุ เดมิ ) เพอ่ื รว มกนั ทำใบงานที่ 2.1.1 เร่ือง นักออกแบบผลิตภัณฑ
โดยใหนกั เรยี นวางแผนพฒั นาผลติ ภณั ฑโดยวิเคราะหคุณสมบัตขิ องผลติ ภัณฑแ ตละชนิด
เลือกใชวัสดุใหเหมาะสม และบอกขอ จำกดั ของผลิตภัณฑ

10. ใหน ักเรียนแตละกลุมสง ตวั แทนออกมานำเสนอผลงานหนาชัน้ เรียน

Note
วตั ถุประสงคข องกจิ กรรมเพือ่ ใหน ักเรียน
- มีทักษะการทำงานรวมกันโดยใชกระบวนการกลุมในการทำงานหรือการทำ

กจิ กรรมเพือ่ ใหเกดิ การสือ่ สารและแลกเปลยี่ นขอมูลรว มกนั ภายในกลุม
- มีทกั ษะการสบื คนขอ มูล โดยใหน ักเรียนแตละคนสืบคน ขอมูลจากอนิ เทอรเน็ต

เพอื่ สืบเสาะหาความรตู ามหัวขอ ท่ไี ดร ับมอบหมาย
- มีทักษะการสังเกต โดยใหนักเรียนสังเกตภาพผลิตภัณฑจากวัสดุประเภทตาง ๆ

และผังความคิดวัสดุศาสตรและวัสดุวศิ วกรรมจากหนังสือเรียนเพือ่ นำไปปรบั ใชในการเรียน
ไดอยางเหมาะสม

- มีทักษะการคดิ วิเคราะห โดยใหนักเรียนพจิ ารณาเน้อื หาจากการสืบคนหรอื ศึกษา
ขอ มลู จากแหลงขอมูลตาง ๆ เชน หนงั สอื เรียน อนิ เทอรเน็ต เปน ตน

ขั้นสรุป

ขนั้ ท่ี 5 ตรวจสอบผล (Evaluation)
1. ครปู ระเมินผลจากการนำเสนอผลงานของนักเรียน
2. ครตู รวจสอบความถูกตองจากใบงานที่ 2.1.1 เรอ่ื ง นักออกแบบผลิตภัณฑ
3. ครูถามคำถามเพื่อตรวจสอบความรู ความเขาใจของนักเรียนวา“วัสดุแตละประเภทมีสมบัติ
ทแี่ ตกตา งกนั หรอื ไม แตละประเภทมสี มบตั เิ ดนอยางไร”
(แนวตอบ : นกั เรียนตอบตามความคดิ เห็นของตนเอง โดยคำตอบขึ้นอยกู ับดลุ ยพนิ ิจของ
ครผู ูสอน เชน วสั ดุแตละประเภทมีคุณสมบัติที่แตกตางกัน เชน โลหะมีความแข็ง ผิวมันวาว

และเปนตัวนำความรอน แตไมมีความแข็ง ดูดซับเสียงดี นำความรอนต่ำ ดังนั้นกอนลงมือ
ใชงานควรศึกษาและพิจารณาใหตรงกับงานที่ออกแบบเพื่อความปลอดภัยและความคุมคา
ของการใชทรพั ยากร เปนตน )
4. นักเรียนและครูรวมกันสรุปเกี่ยวกับความรูเกี่ยวกับวัสดุวา“วัสดุแตละประเภทมีสมบัติ
ท่ีแตกตางกัน เหมาะกับงานหรือผลิตภัณฑที่แตกตางกัน สิ่งที่สำคัญคือผูอกแบบผลิตภัณฑ
ควรระบุคุณสมบัติของผลิตภัณฑที่ตองการใหชัดเจน จึงสามารเลือกวัสดุที่เหมาะสม และ
ไมเกดิ ปญหาเมอ่ื ใชผ ลติ ภัณฑน ้นั ”

8. การวัดและประเมนิ ผล วิธวี ัด เครอื่ งมือ เกณฑก ารประเมนิ
ประเมนิ ตามสภาพจรงิ
รายการวดั - ตรวจแบบทดสอบ - แบบทดสอบกอน
8.1 การประเมินกอนเรียน กอ นเรยี น เรียน

- แบบทดสอบกอนเรียน - ใบงานที่ 2.1.1 - ตรวจใบงานที่ 2.1.1 รอ ยละ 60 ผานเกณฑ
หนว ยการเรยี นรูที่ 2
เรือ่ ง วัสดุ อปุ กรณท าง - ประเมินการนำเสนอ - แบบประเมิน ระดบั คุณภาพ 2
เทคโนโลยี ผลงาน การนำเสนอผลงาน ผา นเกณฑ
8.2 การประเมินระหวางการจัด
กิจกรรม - สังเกตพฤติกรรม - แบบสังเกตพฤติกรรม รอยละ 60 ผานเกณฑ
1) นกั ออกแบบผลิตภณั ฑ การทำงานรายบุคคล การทำงานรายบุคคล

2) การนำเสนอผลงาน - สังเกตพฤติกรรม - แบบสงั เกตพฤติกรรม รอยละ 60 ผานเกณฑ
การทำงานกลุม การทำงานกลุม
3) พฤตกิ รรมการทำงาน - สงั เกตความมีวนิ ัย - แบบประเมนิ ระดับคุณภาพ 2
รายบคุ คล ใฝเ รียนรู และมุงมัน่ คณุ ลกั ษณะ ผา นเกณฑ
ในการทำงาน
4) พฤตกิ รรมการทำงานกลมุ

5) คุณลักษณะอันพึงประสงค

อันพงึ ประสงค

9. สือ่ /แหลงการเรยี นรู
9.1 ส่อื การเรียนรู


Click to View FlipBook Version