The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เล่มรายงาน โครงการสอนวิทยาการคำนวณ ปีพ.ศ.2562

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by teachinee.phi, 2021-10-21 08:48:39

เล่มรายงาน โครงการสอนวิทยาการคำนวณ

เล่มรายงาน โครงการสอนวิทยาการคำนวณ ปีพ.ศ.2562

ปก ารศึกษา ๒๕๖๒

ผูร ับผดิ ชอบโครงการ

นางสาวเตชนิ ี ภิรมย

รายงานผลการดําเนินโครงการ

“Coding & Computing Science”

โครงการยกระดับผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนวิทยาการคํานวณ

โรงเรียนปลายพระยาวิทยาคม

สํานักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษามธั ยมศึกษา ตรัง กระบี่



โครงการ ยกระดับผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนวทิ ยาการคำนวณ
“Coding & Computing Science”
แผนงาน การบริหารงานวชิ าการ
สนองกลยทุ ธ พฒั นาคณุ ภาพผูเ รียน
ลกั ษณะโครงการ โครงการใหม
ผูรับผิดชอบโครงการ นางสาวเตชินี ภิรมย
งบประมาณท้ังส้ิน 22,๐๐๐ บาท
ระยะเวลาดำเนนิ งาน 1 มิถนุ ายน ๒๕62 – 15 มกราคม ๒๕๖3

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

๑. หลกั การและเหตผุ ล

กระทรวงศึกษาธิการ โดยสถาบันสงเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ไดดำเนินการจดั ทำ
มาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดกลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร (ฉบบั ปรับปรุงพุทธศกั ราช 2560) ตาม
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 โดยเพ่ิมสาระที่ 4 เทคโนโลยี ในเร่ืองการ
ออกแบบและเทคโนโลยี วิทยาการคำนวณ การจัดการเรียนรู วิทยาการคำนวณ “Coding & Computing
Science” เปนการจัดการเรียนรูท่ีสงเสริมผูเรียนดานการพัฒนาทักษะการคิดสรางสรรค ผานการจัด
กจิ กรรมการเรียนรทู ่ีหลากหลายท่ีเนนกระบวนการคิด การคิดเชิงคำนวณ การคดิ วิเคราะหแกปญหาอยาง
เปนข้ันตอน และเปนระบบ มีสื่อทั้งแบบที่เปนสื่อ Online และแบบ Offline (Unplug) รวมถึงนวัตกรรม
ผานการออกแบบและประดิษฐหุนยนตตามการจัดการเรียนรู แบบ STEM Education ทเ่ี ปนรูปแบบหน่ึง
ของการเรียนการสอนในแบบ Active Learning เปนการเรียนรู ท่ีเนนใหเด็กรูจักการประดิษฐและการ
สรางสรรคนวัตกรรม ดวยการใชสื่อการเรียนรูในรูปที่สามารถสรางสรรคได หลากหลายรูปแบบ มา
ประยุกตเขากับการเรียนรูดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีสมัยใหมไปพรอม ๆ กัน เน้ือหาในหลักสูตร
มุงเนนใหเด็ก ไดกลาคิด กลาทดลอง และรูจักแกไขปญหาโดยการนำความรูตาง ๆ ในหลาย ๆ ดานมา
บูรณาการเขา ดว ยกัน และนำมาใชใ นการแกไขโจทยป ญ หาตาง ๆ ตลอดจนช้ใี หเห็นถึงการนำไปประยุกตใ ช
ในชวี ิตจริง หรือการนำไปสรา งเปน เทคโนโลยีตาง ๆ ทม่ี ีอยูในปจจุบัน โรงเรยี นปลายพระยาวิทยาคมสังกัด
สำนักงานเขตพื้นทกี่ ารศึกษามธั ยมศกึ ษาเขต 13 ไดต ระหนกั และเหน็ ความสำคัญในการจัดการเรียนรูดาน
วิทยาการคำนวณ “Coding และ Computing Science” จึงไดจัดทำโครงการโครงการยกระดับ
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาการคำนวณ “Coding & Computing Science” ผานกิจกรรมหุนยนตและ
บอรด สมองกลฝง ตวั KidBright ขนึ้

๒. วัตถปุ ระสงค

1. เพ่ือพัฒนาศักยภาพ เพิ่มพูนความรู ความเขาใจ ในมาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัด และวิธีการ
จัดการเรียนรูวิชาวิทยาการคำนวณ “Coding & Computing Science” ใหครูผูสอนมีความพรอม และ
จดั การเรียนรู วชิ าวทิ ยาการคำนวณไดอ ยา งมปี ระสทิ ธิภาพ

2. เพื่อใหครูผูสอนในสังกัดพัฒนาผเู รียนใหมที ักษะกระบวนการคิดเชิงคำนวณ (Computational
Thinking) เกดิ กระบวนการคิดเชิงวเิ คราะห คดิ อยางเปนระบบดว ยเหตผุ ลอยา งเปนขัน้ ตอน

3. เพือ่ พัฒนานกั เรียนเขา สูเ วทีแลกเปลย่ี นเรยี นรทู หี่ ลากหลาย เชน เวทีงานศลิ ปหตั กรรมนักเรียน
ครงั้ ที่ 69 เวทีการแขงขนั กจิ กรรมหุนยนอ ื่น ๆ เปน ตน

4. เพื่อสรางเวทีแลกเปล่ียนเรียนรูดานวิทยาการคำนวณ “Coding & Computing Science”
ผา นกจิ กรรมหนุ ยนตและบอรด สมองกลฝง ตวั KidBright

๓. เปาหมาย
ดานคุณภาพ
1. ครูผูสอนวิชาวิทยาการคำนวณในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย มีความรู ความเขาใจ

สามารถจัดการเรียนรูวิชาวิทยาการคำนวณ (Coding & Computing Science) ได
2. ครูผูสอนวิชาวิทยาการคำนวณระดับมัธยมศึกษาตอนปลายสามารถจัดการเรียนรู

ใหกบั ผเู รยี นไดอ ยางมปี ระสทิ ธิภาพ
3. นักเรียนทกุ คนไดรับการพฒั นาศกั ยภาพ วิทยาการคำนวณ อยางมปี ระสทิ ธิภาพ

ดา นปริมาณ
1. ประชุมปฏิบัติการกิจกรรมหุนยนตและบอรดสมองกลฝงตัว KidBright ระดับ

มัธยมศึกษาตอนตนและมัธยมศกึ ษาตอนปลาย สำหรับนักเรียนท่ีมีความสนใจอยางท่ัวถึง จำนวนไมนอย
กวา 20 คน

2. จัดสรรนักเรียนเขารวมการแขงขันกิจกรรมหุนยนต เวทีแลกเปล่ียนเรียนรูดาน
วิทยาการคำนวณ (Coding & Computing Science) ดวยกิจกรรมหุนยนตและบอรดสมองกลฝงตัว
KidBright จำนวนไมน อ ยกวารอยละ 50 ของนกั เรียนกลุมที่สนใจ

3. นักเรยี นท่ีเขารวมแขงขนั กิจกรรมหุนยนตและบอรดสมองกลฝงตัว KidBright ในเวที
แลกเปล่ียนเรยี นรูตา ง ๆ ดานวิทยาการคำนวณ (Coding & Computing Science) ดวยกิจกรรมหุนยนต
และบอรดสมองกลฝงตวั KidBright ไดรับรางวลั เปนทีย่ อมรับแกสาธารณชน ไมนอยกวา 3 กิจกรรม

4. นักเรียนมีความพึงพอใจตอการจัดการเรียนรูวิทยาการคำนวณ (Coding &
Computing Science) ดว ยกิจกรรมหุน ยนต และบอรด สมองกลฝง ตวั KidBright อยใู นระดับมาก

4. กจิ กรรม/ตัวชี้วดั /คาเปาหมาย

ลำดบั กิจกรรม ตัวช้วี ดั /เปาหมาย

1 จัดใหมีการประชมุ ปฏิบตั กิ ารกจิ กรรมหนุ ยนต จำนวนไมนอยกวา 20 คน

ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน และมัธยมศึกษาตอนปลาย

สำหรบั นักเรียนท่มี คี วามสนใจอยางทว่ั ถึง

2 จัดสรรนกั เรียนเขารว มการแขงขนั กจิ กรรมหนุ ยนต จำนวนไมนอ ยกวา รอยละ 50

เวทแี ลกเปลี่ยนเรยี นรูดา นวิทยาการคำนวณ ของกลมุ ทสี่ นใจ

(Coding & Computing Science) ดวยกจิ กรรมหุนยนต

และบอรด สมองกลฝง ตัว KidBright

3 เขารวมแขง ขนั กิจกรรมหุนยนต ในเวทแี ลกเปลี่ยนเรยี นรดู า น ไดร บั รางวลั เปน ที่ยอมรบั

วทิ ยาการคำนวณ (Coding & Computing Science) ไมนอยกวา 3 กจิ กรรม

ดวยกิจกรรมหุน ยนตและบอรดสมองกลฝง ตวั KidBright

4 นักเรยี นมคี วามพงึ พอใจตอการจัดการเรยี นรวู ิทยาการ ภาพรวมมรี ะดับความพึงพอใจ

คำนวณ (Coding & Computing Science) ดว ยกจิ กรรม อยูในระดับมาก

หนุ ยนต และบอรดสมองกลฝง ตัว KidBright

๕. ระยะเวลา (แสดงปฎทิ นิ การดำเนนิ งาน)

รายการ เดือน/สัปดาห มิ.ย. 62 ก.ค. 62

12341234

วางแผนและจัดเตรียมความพรอม สำหรบั การ

สง เสริมและสนับสนุนการจดั การการเรยี นรู

วิทยาการคำนวณ “Coding & Computing

Science”

แตงต้งั คณะกรรมการดำเนินงาน

ประชาสมั พันธแ กน ักเรยี นท่สี นใจโครงการท้ัง

ในรายวชิ าและกิจกรรมพฒั นาผเู รยี น (ชุมนุม)

จัดใหม กี ารประชมุ ปฏบิ ัตกิ ารกจิ กรรมหุน ยนต

และบอรด สมองกลฝง ตวั ระดับมธั ยมศกึ ษา

ตอนตนและมธั ยมศึกษาตอนปลาย

จดั สรรนักเรยี นเขารวมการแขงขันกจิ กรรม

หนุ ยนตและบอรดสมองกลฝงตัว ผานเวที

แลกเปล่ียนเรยี นรตู าง ๆ

ประเมนิ ผลความพงึ พอใจทีม่ ีตอ การจดั การ

เรยี นรวู ทิ ยาการคำนวณ (Coding &

Computing Science) ดว ยกิจกรรมหนุ ยนต

และบอรดสมองกลฝงตวั KidBright

รายงานผลโครงการ

ส.ค. 62 ก.ย. 62 ต.ค.62 พ.ย.62 ธ.ค.62 ม.ค.
63

1234123412341234123412

๖. รายละเอียดกจิ กรรมการดำเนินการและงบประมาณท่ีใช

๖.๑ เงนิ งบประมาณ 22,0๐๐ บาท

๖.๒ เงนิ นอกงบประมาณ – บาท

รวม 22,0๐๐ บาท

กจิ กรรม รายละเอียด ลกั ษณะรายจายงบประมาณ ผูรับผดิ ชอบ

คา ตอบแทน คา ใชสอย คา วสั ดุ รวม

การเขารว ม 1. ประชุมวางแผน เตชิน/ี

แขงขันทักษะวิชาการ 2. จัดซือ้ วัสดุ 10,000 10,000 เอกรัตน

ไดแ ก อุปกรณท ่ีใชใน

- แขงขนั หุนยนต การฝก ซอม

นานาชาติ 3. ฝกซอ มนักเรียน

International เขารว มการแขงขัน

Robotic Olympiad 4. สง นกั เรียนเขา

2019 รว มการแขงขัน

- ศิลปหัตถกรรม - คา เดนิ ทาง 3,000 3,000
4,000 4,000
นกั เรียน - คาเบี้ยเล้ียง 5,000 5,000

- คาท่ีพัก - 12,000 10,000 22,000

5. สรุป รายงานผล

รวมท้ังสน้ิ

๗. วธิ กี ารประเมินผล

ตวั ชวี้ ัดโครงการ วิธปี ระเมนิ ผล เคร่ืองมอื ที่ใช
ตรวจสอบ แบบบนั ทึก
ประชมุ ปฏบิ ัติการกจิ กรรมหุนยนต
นกั เรียนมคี วามสนใจ ไมน อยกวา 20 คน ตรวจสอบ แบบบนั ทกึ

จัดสรรนกั เรยี นเขารว มการแขงขัน ตรวจสอบ แบบบันทึก
ไมนอยกวารอ ยละ 50 ของกลุมทสี่ นใจ
สำรวจ แบบสอบถาม
ไดร บั รางวัลเปนทยี่ อมรับแกส าธารณชน
ไมนอ ยกวา 3 กจิ กรรม

นักเรียนมคี วามพึงพอใจตอ การจัดการเรยี นรูว ิทยาการ
คำนวณ (Coding & Computing Science) ดว ย
กิจกรรมหุน ยนต และบอรดสมองกลฝงตวั KidBright
โดยภาพรวมอยูในระดับมาก

๘. ผลทค่ี าดวาจะไดรบั
1. ครผู สู อนมศี ักยภาพ มีความรู ความเขาใจ ในมาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัด และวธิ กี ารจัดการ

เรียนรูวิชาวิทยาการคำนวณ “Coding & Computing Science” มีความพรอม และจัดการเรียนรู วิชา
วิทยาการคำนวณไดอ ยางมีประสทิ ธภิ าพ

2. ครูผูสอนในสังกัดสามารถพัฒ นาผูเรียนใหมีทักษะกระบวนการคิดเชิงคำนวณ
(Computational Thinking) เกิดกระบวนการคิดเชิงวิเคราะห คิดอยางเปนระบบดวยเหตุผลอยางเปน
ข้นั ตอน

3. นักเรียนมีเวทีแลกเปล่ียนเรียนรทู ่ีหลากหลาย เชน เวทีงานศิลปหัตกรรมนักเรียน ครัง้ ท่ี 69
เวทีการแขง ขนั กจิ กรรมหุนยนอ่ืน ๆ เปน ตน

ผเู สนอโครงการ ผอู นุมตั โิ ครงการ

(นางสาวเตชนิ ี ภริ มย) (นายวโิ รจน วนุ แกว )
ครโู รงเรยี นปลายพระยาวิทยาคม ผอู ำนวยการโรงเรียนปลายพระยาวิทยาคม



รายงานผลการดำเนนิ งานโครงการ
โครงการยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นวทิ ยาการคำนวณ

“Coding & Computing Science”

ผรู บั ผดิ ชอบโครงการ

นางสาวเตชนิ ี ภริ มย
โรงเรียนปลายพระยาวิทยาคม
สำนกั งานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษาเขต 13

สารบัญ หนา
1
เร่ือง 2
สารบญั 3
บทสรุป
รายงานผลการดำเนินงาน
ภาคผนวก

1. โครงการทไ่ี ดรบั อนมุ ตั ิ
2. สรุปผลการแขง ขัน
3. เกียรตบิ ตั ร
4. คำสั่งคณะกรรมการดำเนินโครงการ
5. เคร่ืองมือทีใ่ ชในการประเมนิ โครงการ (แบบสอบถาม)
6. ภาพประกอบการดำเนินโครงการ

บันทกึ ขอความ

โรงเรียนปลายพระยาวทิ ยาคม

ท่ี ............../2563 วนั ท่ี 10 เดือน มกราคม พ.ศ. 2563

เร่ือง รายงานการดำเนนิ งานโครงการยกระดบั ผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นวทิ ยาการคำนวณ

“Coding & Computing Science”

เรยี น ผูอ ำนวยการโรงเรยี นปลายพระยาวิทยาคม

ขา พเจา นางสาวเตชนิ ี ภริ มย ตำแหนง ครู ไดรบั มอบหมายใหเปน ผรู ับผิดชอบโครงการยกระดบั
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาการคำนวณ “Coding & Computing Science” ตามแผนปฏิบัติการ
ประจำปการศกึ ษา ๒๕62 เพอื่ ดำเนนิ การบริหารโครงการใหเ ปน ไปตามวตั ถปุ ระสงคข องโครงการ คือ

1) เพื่อพัฒนาศักยภาพ เพิ่มพูนความรู ความเขาใจ ในมาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัด และ
วิธีการจัดการเรียนรวู ิชาวิทยาการคำนวณ “Coding & Computing Science” ใหครูผูสอนมีความ
พรอ ม และจดั การเรียนรู วชิ าวทิ ยาการคำนวณไดอยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ

2) เพ่ือใหครูผูสอนในสังกัดพัฒ นาผูเรียนใหมีทักษะกระบวนการคิดเชิงคำนวณ
(Computational Thinking) เกิดกระบวนการคิดเชิงวิเคราะห คิดอยางเปนระบบดวยเหตุผลอยาง
เปน ข้นั ตอน

3) เพื่อพัฒนานักเรียนเขาสูเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรูที่หลากหลาย เชน เวทีงานศิลปหัตกรรม
นกั เรยี น คร้ังที่ 69 เวทกี ารแขงขันกิจกรรมหุนยนตอ น่ื ๆ เปน ตน

4) เพ่ือสรางเวทีแลกเปล่ียนเรียนรูดานวิทยาการคำนวณ “Coding & Computing
Science” ผา นกจิ กรรมหนุ ยนตแ ละบอรด สมองกลฝง ตวั KidBright

โดยมรี ะยะเวลาการดำเนนิ งานระหวา งวันท่ี 1 มถิ นุ ายน ๒๕62 – 15 มกราคม ๒๕๖3
บัดนี้โครงการยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิทยาการคำนวณ “Coding & Computing
Science” ไดดำเนินการเสร็จสิ้นเปนที่เรียบรอยแลว บรรลุผลสำเร็จตามเปาหมายและตัวช้ีวัด จึงขอ
รายงานผลดังนี้
1) นักเรยี นเขารวมประชมุ ปฏบิ ตั ิการกิจกรรมหนุ ยนต จำนวน 30 คน
2) นักเรียนเขารวมการแขง ขัน จำนวน 20 คน
3) นักเรียนมีความพึงพอใจตอการจัดการเรียนรูวิทยาการคำนวณ (Coding & Computing
Science) ดว ยกจิ กรรมหุนยนต และบอรด สมองกลฝง ตวั KidBright โดยภาพรวมอยใู นระดับมากทสี่ ุด

4) ไดรบั รางวลั เปนทีย่ อมรบั แกส าธารณชน จำนวน 4 กจิ กรรม ดงั นี้

ลำดับ รายการ ผลการแขงขนั

เวทกี จิ กรรมหุนยนตนานาชาติ International Robotic Olympiad 2019

1 SL21 Servo Motor Robot Appearance Design โลร างวัลและเกียรตบิ ตั ร

Competition For Secondary School Division รองชนะเลิศอันอับท่ี 3

เวทงี านศิลปหตั ถกรรมนกั เรยี นระดบั เขตพื้นท่ี

1 หนุ ยนตร ะดบั กลาง ม.1-ม.3 ชนะเลศิ เหรียญทอง

2 หนุ ยนตร ะดบั กลาง ม.4-ม.6 ชนะเลิศ เหรยี ญทอง

3 หุนยนตระดบั สงู ม.1-ม.3 รองชนะเลศิ เหรยี ญทอง

4 หุนยนตร ะดับสูง ม.4-ม.6 ชนะเลศิ เหรยี ญทอง

เวทีงานศิลปหัตถกรรมนกั เรียนระดบั ชาติ ภาคใต ครั้งที่ 69 จงั หวดั นครศรีธรรมราช

1 หุนยนตร ะดบั กลาง ม.1-ม.3 เหรียญทอง อันดบั ท่ี 4

2 หุนยนตร ะดับกลาง ม.4-ม.6 เหรยี ญทอง อนั ดบั ท่ี 4

3 หนุ ยนตร ะดับสูง ม.4-ม.6 เหรียญทอง อนั ดบั ท่ี 7

เวทีประกวดสิง่ ประดษิ ฐด ว ยบอรด สมองกลฝงตวั KidBright จัดโดย สวทช.

1 โรงเรือนปลกู ผกั ออรแกนิคอัจฉริยะขนาดเลก็ เขารว ม

(Mini Organic Smart Farm)

2 แยก แลก ย้มิ (Split the Smile) เขารวม

3 ระบบตรวจจับควนั อจั ฉรยิ ะ เขารว ม

(Smoke Detectors Genius System)

จงึ เรยี นมาเพื่อโปรดทราบ

ลงชื่อ
(นางสาวเตชินี ภริ มย)

ตำแหนง ครผู รู ับผดิ ชอบโครงการ

บทสรปุ

โครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาการคำนวณ “Coding & Computing
Science” มีวัตถุประสงค เพ่ือพัฒนาศักยภาพ เพิ่มพูนความรู ความเขาใจ ในมาตรฐานการเรียนรู
ตัวชี้วัด และวิธีการจัดการเรียนรูวิชาวิทยาการคำนวณ “Coding & Computing Science” ให
ครูผูสอนมีความพรอม และจัดการเรียนรู วิชาวิทยาการคำนวณไดอยางมีประสิทธิภาพ มีทักษะ
กระบวนการคิดเชงิ คำนวณ (Computational Thinking) เกิดกระบวนการคิดเชิงวิเคราะห คิดอยาง
เปน ระบบดว ยเหตผุ ลอยา งเปน ขน้ั ตอน นกั เรียนเขาสเู วทแี ลกเปล่ยี นเรยี นรทู ีห่ ลากหลาย เชน เวทงี าน
ศิลปหัตกรรมนักเรียน คร้ังท่ี 69 เวทีการแขงขันกิจกรรมหุนยนตอ่ืน ๆ เปนตน โดยมีนางสาวเตชินี
ภิรมย ครูปฏิบัติการสอนคอมพวิ เตอร โรงเรยี นปลายพระยาวิทยาคม เปน ผรู ับผิดชอบโครงการ

โครงการยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิทยาการคำนวณ “Coding & Computing
Science” ไดดำเนินโครงการที่โรงเรียนปลายพระยาวิทยาคม ระหวางวันที่ 1 มิถุนายน ๒๕62 –
15 มกราคม ๒๕๖3 โดยมีข้ันตอนการดำเนินงานตามวงจรเดมมง่ิ PDCA ดงั น้ี Plan วางแผน/เตรียม
ความพรอม Do ประชุมปฏิบัติการกิจกรรมหุนยนตและบอรดสมองกลฝงตัว KidBright ระดับ
มัธยมศึกษาตอนตนและมัธยมศึกษาตอนปลาย สำหรับนักเรียนท่ีมีความสนใจอยางทั่วถึง Check
จัดสรรนักเรียนเขารวมการแขงขันกิจกรรมหุนยนต เวทีแลกเปล่ียนเรียนรูดานวิทยาการคำนวณ
(Coding & Computing Science) ดวยกิจกรรมหุนยนตและบอรดสมองกลฝงตัว KidBright ตาม
ความเหมาะสมของแตละกิจกรรม และ Act สอบถามความพึงพอใจตอการจัดการเรียนรูวิทยาการ
คำนวณ (Coding & Computing Science) ดวยกิจกรรมหุนยนต และบอรดสมองกลฝงตัว
KidBright

สรุปผลการประเมินตามวัตถุประสงคของการประเมินโครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรียนวิทยาการคำนวณ “Coding & Computing Science” บรรลุผลสำเร็จตามเปาหมาย โดยมี
นักเรียนเขารวมประชุมปฏิบัติการกิจกรรมหุนยนต จำนวน 30 คน เขารวมการแขงขัน จำนวน 20
คน ไดร บั รางวัลเปนท่ียอมรับแกส าธารณชน จำนวน 4 กิจกรรม และนักเรยี นมีความพึงพอใจตอ การ
จัดการเรียนรูวิทยาการคำนวณ (Coding & Computing Science) ดวยกิจกรรมหุนยนต และบอรด
สมองกลฝง ตัว KidBright โดยภาพรวมอยใู นระดับมากทีส่ ุด

เตชนิ ี ภริ มย
ผูรบั ผดิ ชอบโครงการ

รายงานผลการดำเนินงาน

1. ความเปนมาและความสำคัญของโครงการและการประเมนิ โครงการ
กระทรวงศึกษาธิการ โดยสถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ไดดำเนินการ

จัดทำมาตรฐานการเรียนรูแ ละตัวช้ีวัดกลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร (ฉบับปรับปรุงพุทธศักราช
2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 โดยเพ่ิมสาระที่ 4
เทคโนโลยี ในเร่ืองการออกแบบและเทคโนโลยี วิทยาการคำนวณ การจัดการเรียนรู วิทยาการ
คำนวณ “Coding & Computing Science” เปนการจัดการเรียนรูท่ีสงเสริมผูเรียนดานการพัฒนา
ทักษะการคิดสรางสรรค ผานการจัดกิจกรรมการเรียนรูที่หลากหลายที่เนนกระบวนการคิด การคดิ
เชงิ คำนวณ การคดิ วิเคราะหแ กปญหาอยา งเปน ขั้นตอน และเปนระบบ มสี อ่ื ทง้ั แบบท่ีเปนสอื่ Online
และแบบ Offline (Unplug) รวมถึงนวัตกรรมผา นการออกแบบและประดิษฐห ุนยนตต ามการจัดการ
เรียนรู แบบ STEM Education ท่ีเปนรูปแบบหนึ่งของการเรียนการสอนในแบบ Active Learning
เปนการเรยี นรู ทเี่ นน ใหเด็กรจู ักการประดิษฐและการสรางสรรคน วัตกรรม ดว ยการใชส อื่ การเรยี นรูใน
รูปท่ีสามารถสรางสรรคได หลากหลายรูปแบบ มาประยุกตเขากับการเรียนรูดานวิทยาศาสตรและ
เทคโนโลยีสมัยใหมไปพรอม ๆ กัน เน้ือหาในหลักสูตรมุงเนนใหเด็ก ไดก ลาคิด กลา ทดลอง และรจู ัก
แกไขปญหาโดยการนำความรูตาง ๆ ในหลาย ๆ ดานมาบูรณาการเขาดวยกัน และนำมาใชในการ
แกไขโจทยป ญหาตาง ๆ ตลอดจนช้ีใหเห็นถึงการนำไปประยุกตใชใ นชีวิตจริง หรือการนำไปสรางเปน
เทคโนโลยีตาง ๆ ท่ีมีอยูในปจจุบัน โรงเรียนปลายพระยาวิทยาคมสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศกึ ษา
มัธยมศึกษาเขต 13 ไดตระหนักและเห็นความสำคัญในการจัดการเรียนรูดานวิทยาการคำนวณ
“Coding และ Computing Science” จึงไดจัดทำโครงการโครงการยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการ
เรียนวิทยาการคำนวณ “Coding & Computing Science” ผา นกิจกรรมหุนยนตและบอรด สมองกล
ฝง ตัว KidBright ข้นึ

2. วัตถุประสงคข องการประเมนิ โครงการ
1. เพื่อพัฒนาศักยภาพ เพิ่มพูนความรู ความเขาใจ ในมาตรฐานการเรียนรู ตัวช้ีวัด และ

วิธีการจัดการเรียนรูวิชาวิทยาการคำนวณ “Coding & Computing Science” ใหครูผูสอนมีความ
พรอม และจดั การเรยี นรู วิชาวิทยาการคำนวณไดอ ยา งมปี ระสิทธิภาพ

2. เพื่อใหครูผูสอนในสังกัดพัฒ นาผูเรียนใหมีทักษะกระบวนการคิดเชิงคำนวณ
(Computational Thinking) เกิดกระบวนการคิดเชิงวิเคราะห คิดอยางเปนระบบดวยเหตุผลอยาง
เปนข้ันตอน

3. เพื่อพัฒนานักเรียนเขาสูเวทีแลกเปล่ียนเรยี นรูที่หลากหลาย เชน เวทีงานศิลปหัตกรรม
นกั เรียน ครั้งท่ี 69 เวทกี ารแขงขนั กิจกรรมหนุ ยนตอน่ื ๆ เปน ตน

4. เพื่อสรางเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรูดานวิทยาการคำนวณ “Coding & Computing
Science” ผานกิจกรรมหุนยนตและบอรด สมองกลฝงตวั KidBright

3. เปา หมาย
ดานคณุ ภาพ
1. ครูผูสอนวิชาวิทยาการคำนวณในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย มีความรู ความ

เขา ใจสามารถจัดการเรียนรวู ชิ าวิทยาการคำนวณ (Coding & Computing Science) ได
2. ครูผูสอนวชิ าวิทยาการคำนวณระดบั มัธยมศึกษาตอนปลายสามารถจัดการเรียนรู

ใหก ับผูเรยี นไดอ ยางมปี ระสิทธภิ าพ
3. นักเรียนทกุ คนไดรับการพฒั นาศักยภาพ วทิ ยาการคำนวณ อยางมีประสทิ ธภิ าพ

ดา นปรมิ าณ
1. ประชุมปฏิบัติการกิจกรรมหุนยนตและบอรดสมองกลฝงตัว KidBright ระดับ

มัธยมศึกษาตอนตนและมธั ยมศึกษาตอนปลาย สำหรบั นักเรียนท่ีมคี วามสนใจอยางท่ัวถึง จำนวนไม
นอยกวา 20 คน

2. จัดสรรนักเรียนเขารวมการแขงขันกิจกรรมหุนยนต เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรูดาน
วิทยาการคำนวณ (Coding & Computing Science) ดวยกิจกรรมหุนยนตและบอรด สมองกลฝง ตัว
KidBright จำนวนไมนอยกวารอยละ 50 ของนักเรยี นกลุม ท่ีสนใจ

3. นกั เรยี นท่เี ขา รว มแขงขันกจิ กรรมหุนยนตและบอรดสมองกลฝงตัว KidBright ใน
เวทีแลกเปลีย่ นเรยี นรูตาง ๆ ดานวิทยาการคำนวณ (Coding & Computing Science) ดวยกิจกรรม
หุนยนต และบอรดสมองกลฝงตัว KidBright ไดรับรางวัลเปนที่ยอมรับแกสาธารณชน ไมนอยกวา 3
กิจกรรม

4. นักเรียนมีความพึงพอใจตอการจัดการเรียนรูวิทยาการคำนวณ (Coding &
Computing Science) ดวยกจิ กรรมหนุ ยนต และบอรด สมองกลฝง ตวั KidBright อยูใ นระดับมาก

4. ผลการประเมนิ โครงการ
4.1 ขอ มลู พื้นฐานการดำเนนิ งานโครงการ
ครูและนักเรียนรวมกันดำเนินโครงการยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิทยาการ

คำนวณ “Coding & Computing Science” ระหวางวันท่ี 1 มิถุนายน ๒๕62 – 15 มกราคม
๒๕๖3 โดยมีนางสาวเตชินี ภริ มย เปนหัวหนาทีมและรับผิดชอบโครงการ

4.2 ผลการประเมนิ ความสำเรจ็ ของการดำเนนิ งานโครงการ
1) นักเรยี นเขา รวมประชมุ ปฏิบัติการกจิ กรรมหนุ ยนต จำนวน 30 คน
2) นักเรยี นเขา รว มการแขง ขนั จำนวน 20 คน
3) ไดรบั รางวลั เปน ที่ยอมรบั แกสาธารณชน จำนวน 4 กิจกรรม
4) นักเรียนมีความพึงพอใจตอการจัดการเรียนรูวิทยาการคำนวณ (Coding &

Computing Science) ดวยกิจกรรมหุนยนต และบอรด สมองกลฝงตัว KidBright โดยภาพรวมอยูใน
ระดับมากทีส่ ดุ

5. สรปุ คาใชจา ยของโครงการ/กจิ กรรม

กจิ กรรม รายละเอยี ด ลักษณะรายจา ยงบประมาณ ผรู บั ผดิ ชอบ

คา ตอบแทน คา ใชส อย คาวัสดุ รวม

การเขารว ม 1. ประชุมวางแผน เตชนิ /ี

แขงขนั ทักษะวิชาการ 2. จัดซ้ือวสั ดุ 10,000 10,000 เอกรัตน

ไดแ ก อปุ กรณที่ใชใน

- แขงขันหุนยนต การฝกซอม

นานาชาติ 3. ฝกซอมนักเรียน

International เขารวมการแขง ขัน

Robotic Olympiad 4. สง นักเรยี นเขา

2019 รวมการแขงขัน

- ศิลปหัตถกรรม - คาเดินทาง 2,000 2,000
4,160 4,160
นกั เรยี น - คาเบี้ยเล้ียง 5,500 5,500

- คาที่พัก - 11,660 10,000 21,660

5. สรุป รายงานผล

รวมท้ังสน้ิ

6. สรปุ ผลและขอเสนอแนะ
โครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาการคำนวณ “Coding & Computing

Science” บรรลุผลสำเร็จตามเปาหมาย โดยมีนักเรียนเขารวมประชุมปฏิบัติการกิจกรรมหุนยนต
จำนวน 30 คน เขา รว มการแขงขัน จำนวน 20 คน ไดร ับรางวลั เปน ทย่ี อมรับแกสาธารณชน จำนวน
4 กิจกรรม และนักเรียนมีความพึงพอใจตอการจัดการเรียนรูวิทยาการคำนวณ (Coding &
Computing Science) ดว ยกจิ กรรมหุนยนต และบอรดสมองกลฝงตัว KidBright โดยภาพรวมอยูใน

ระดับมากที่สุด คาเฉล่ียเทากับ 4.60 (x=4.60) ขอเสนอแนะเพ่ิมเติม นักเรียนตอ งการเวทีสำหรับ
การแลกเปลี่ยนเรียนรูดานหุนยนตและบอรดสมองกลฝงตัวท่ีหลากหลาย นอกเหนือจากเวทีงาน
ศลิ ปหตั ถกรรมนกั เรยี น

ลงช่ือ.................................... ผูร ับผดิ ชอบโครงการ
(นางสาวเตชินี ภิรมย)

ตำแหนงครู โรงเรียนปลายพระยาวทิ ยาคม

ภาคผนวก

ภาคผนวก
1. โครงการทีไ่ ดรบั อนมุ ตั ิ
2. สรุปผลการแขง ขนั
3. เกยี รติบัตร
4. คำสัง่ คณะกรรมการดำเนินโครงการ
5. เคร่อื งมือที่ใชใ นการประเมินโครงการ (แบบสอบถาม)
6. ภาพประกอบการดำเนนิ โครงการ

สรุปผลการแขง ขนั
ระหวางวนั ที่ 1 มกราคม 2562 - วันที่ 15 มกราคม 2563

ลำดับ รายการ ผลการแขง ขนั

เวทีกิจกรรมหุนยนตน านาชาติ International Robotic Olympiad 2019

1 SL21 Servo Motor Robot Appearance Design โลร างวัลและเกยี รตบิ ตั ร

Competition For Secondary School Division รองชนะเลศิ อันอบั ท่ี 3

เวทีงานศลิ ปหัตถกรรมนกั เรยี นระดับเขตพื้นท่ี

1 หนุ ยนตร ะดับกลาง ม.1-ม.3 ชนะเลิศ เหรียญทอง

2 หนุ ยนตระดบั กลาง ม.4-ม.6 ชนะเลิศ เหรยี ญทอง

3 หนุ ยนตระดบั สงู ม.1-ม.3 รองชนะเลศิ เหรียญทอง

4 หนุ ยนตร ะดบั สูง ม.4-ม.6 ชนะเลิศ เหรียญทอง

เวทีงานศิลปหัตถกรรมนกั เรยี นระดับชาติ ภาคใต ครง้ั ที่ 69 จังหวดั นครศรีธรรมราช

1 หุนยนตร ะดับกลาง ม.1-ม.3 เหรยี ญทอง อันดับท่ี 4

2 หนุ ยนตร ะดับกลาง ม.4-ม.6 เหรยี ญทอง อันดบั ท่ี 4

3 หุนยนตร ะดับสูง ม.4-ม.6 เหรยี ญทอง อันดับที่ 7

เวทปี ระกวดสิง่ ประดิษฐดว ยบอรดสมองกลฝง ตัว KidBright จดั โดย สวทช.

1 โรงเรอื นปลกู ผักออรแกนคิ อจั ฉรยิ ะขนาดเลก็ เขา รว ม

(Mini Organic Smart Farm)

2 แยก แลก ยิ้ม (Split the Smile) เขา รวม

3 ระบบตรวจจับควนั อจั ฉรยิ ะ เขารวม

(Smoke Detectors Genius System)

ภาพประกอบการดำเนินโครงการ
โครงการยกระดบั ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นวิทยาการคำนวณ

“Coding & Computing Science”

ภาพนักเรยี นรับรางวลั รองชนะเลศิ อนั ดบั ท่ี 3
หนุ ยนตน านาชาติ International Robotic Olympiad 2019

ภาพแสดงความยินดี นกั เรียนรับรางวลั กจิ กรรมหุนยนต เหรียญทอง อนั ดับท่ี 4
งานศิลปหตั ถกรรมนกั เรียนระดับชาติ (ภาคใต) ครั้งที่ 69

ภาพประกอบการดำเนินโครงการ
โครงการยกระดบั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาการคำนวณ

“Coding & Computing Science”

ภาพแสดงการรบั มอบบอรดสมองกลฝง ตัวจาก สวทช.
เพ่ือสงเสรมิ การเรียนการสอนดา นวทิ ยาการคำนวณ

ภาพแสดงกจิ กรรมนกั เรียนเขารวมแขงขันหนุ ยนตระดับชาติ
งานศลิ ปหตั ถกรรมนกั เรยี น

คำสง่ั โรงเรยี นปลายพระยาวทิ ยาคม
ท่ี 78 / 2562

เร่ืองแตง ตั้งคณะกรรมการโครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นวทิ ยาการคำนวณ
“Coding & Computing Science”
ปการศกึ ษา 2562

-------------------------------------------------
ดว ยกระทรวงศกึ ษาธกิ าร โดยสถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ไดดำเนินการ
จัดทำมาตรฐานการเรียนรูและตัวช้ีวัดกลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร (ฉบับปรับปรุงพุทธศักราช 2560)
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 โดยเพ่ิมสาระที่ 4 เทคโนโลยี ในเรอื่ งการ
ออกแบบและเทคโนโลยี วิทยาการคำนวณ การจัดการเรียนรู วิทยาการคำนวณ “Coding & Computing
Science” เปน การจัดการเรียนรูที่สงเสริมผเู รียนดานการพัฒนาทักษะการคิดสรา งสรรค ผานการจัดกิจกรรม
การเรียนรูท่หี ลากหลายที่เนนกระบวนการคิด การคิดเชิงคำนวณ การคิดวิเคราะหแกปญหาอยางเปน ขั้นตอน
และเปนระบบ
เพื่อใหการดำเนินการโครงการยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิทยาการคำนวณ “Coding &
Computing Science” ของโรงเรียนไดรับการดำเนินการอยางมีประสิทธิภาพและเกิดประโยชนสูงสุด ให
เปนไปตามนโยบายของสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ดงั นั้น อาศัยอำนาจตามความในมาตรา
39 แหงพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษา และมาตรา 27 แหงพระราชบัญญัตริ ะเบียบ
ขาราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2547 จงึ แตง ต้ังบุคลากรปฏบิ ัติงานหนาที่ฝา ยตาง ๆ ดังน้ี

1. คณะกรรมการอำนวยการประกอบดวย

1.1 นายวิโรจน วุน แกว ผอู ำนวยการโรงเรยี นปลายพระยาวิทยาคม

ประธานกรรมการ

1.2 นางสาวนศิ ารตั น สุวรรณภักดี ปฏบิ ตั หิ นาทรี่ องผูอำนวยการฝา ยวิชาการ กรรมการ

1.3 นายเอกรตั น มัจฉากลุ ครโู รงเรยี นปลายพระยาวิทยาคม กรรมการ

1.4 นายพิทักษพงศ แสวงการ เจา หนา ทศ่ี ูนยเ ทคโนโลยีสารสนเทศ กรรมการ

1.5 นางสาวเตชินี ภริ มย ครโู รงเรียนปลายพระยาวิทยาคม กรรมการและเลขานุการ

2. คณะกรรมการรับผิดชอบโครงการยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิทยาการคำนวณ

“Coding & Computing Science” ประกอบดว ย

2.1 นางสาวเตชนิ ี ภริ มย ครูโรงเรยี นปลายพระยาวิทยาคม หวั หนา

2.2 นายเอกรัตน มัจฉากลุ ครโู รงเรียนปลายพระยาวิทยาคม ผชู วย

2.3 นายกิตตินันท ดวงจันทร นกั เรยี นระดบั ชนั้ มัธยมศึกษาปท่ี 6 ผชู วย

2.4 นายอคั รชัย คำกลนั่ นกั เรียนระดับช้ันมธั ยมศึกษาปท่ี 6

2.5 นายพัทนันท มีมะแม นกั เรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 4
2.6 นายวศิ รุต ยศบุญเรือง นักเรียนระดับช้นั มัธยมศึกษาปที่ 4

3. กำหนดเวลาฝกซอม กิจกรรมหุนยนตและพัฒนาโครงงานส่ิงประดิษฐดวยบอรดสมองกลฝงตัว
KidBright ดังน้ี

3.1 นางสาวเตชินี ภริ มย ครโู รงเรยี นปลายพระยาวิทยาคม
ฝก ซอ มเตรียมการแขง ขันกิจกรรมหุนยนตน านาชาติ
International Robotic Olympiad 2019
และส่งิ ประดิษฐด ว ยบอรดสมองกลฝง ตวั KidBright

3.2 นายเอกรตั น มจั ฉากุล ครูโรงเรยี นปลายพระยาวทิ ยาคม
ฝก ซอมเตรยี มการแขง กจิ กรรมหนุ ยนต
งานศลิ ปหตั ถกรรมนักเรยี น

4. การรายงานผลการดำเนนิ งาน
ครูผูรับผิดชอบโครงการรายงานผลการดำเนินงานใหผูบริหารทราบแนวทางการดำเนิน

โครงการ ปญ หาอปุ สรรคในการดำเนินงาน และผลของการดำเนนิ งาน เมอ่ื ส้ินสุดโครงการ

ขอใหครแู ละผูที่ไดรับมอบหมายรับผิดชอบโครงการทุกทาน ไดปฏบิ ัติหนา ที่และงานทไี่ ดรับมอบหมาย
ตามบทบาทและหนาที่ของครูอยางแทจริง เพื่อประโยชนตอผูเรียน หรือการจัดการศึกษาโดยสวนรวม
ท้งั นต้ี ั้งแตบ ดั นเ้ี ปน ตน ไป

ส่งั ณ วนั ท่ี 21 พฤษภาคม 2562

(นายวโิ รจน วนุ แกว )
ผอู ำนวยการโรงเรียนปลายพระยาวทิ ยาคม

แบบสอบถามโครงการ
ยกระดับผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาการคำนวณ “Coding & Computing Science”

คำชแ้ี จง :
แบบสอบถามนมี้ วี ัตถุประสงคเพอื่ ประเมินความพึงพอใจของนักเรยี นทีม่ ตี อการจดั การเรียนรู

วิทยาการคำนวณ (Coding & Computing Science) ดวยกิจกรรมหุนยนตและบอรดสมองกลฝงตัว
KidBright ผลการประเมินและขอเสนอแนะท่ีไดจากแบบสอบถามน้ีจะถูกนำไปประมวลผลใน
ภาพรวม และนำผลไปใชในการปรับปรุงสำหรับการจัดการเรียนการสอนวิทยาการคำนวณในคร้ัง
ตอไปใหมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น จึงขอความรวมมือจากทานใหความอนุเคราะหในการตอบ
แบบสอบถามดงั กลาวน้ี จกั ขอบคณุ ยงิ่

แบบสอบถามแบง เปน 3 ตอน ไดแก
ตอนที่ 1 ขอมลู ทั่วไปของผูตอบแบบสอบถาม
ตอนที่ 2 ระดับความพึงพอใจท่ีมีตอการจัดการเรียนรูวิทยาการคำนวณ (Coding &
Computing Science) ดวยกิจกรรมหุนยนต และบอรด สมองกลฝงตวั KidBright
ตอนที่ 3 ขอคดิ เหน็ ปญ หา / อุปสรรค และขอเสนอแนะเพิ่มเตมิ

คำส่งั โปรดเติมเคร่อื งหมาย  และกรอกขอความใหส มบรู ณ

ตอนท่ี 1 ขอมูลทั่วไปของผตู อบแบบสอบถาม

1. เพศ  ชาย  หญงิ

ตอนท่ี 2 ความพงึ พอใจตอการจัดการเรียนรูวิทยาการคำนวณ (Coding & Computing Science)
ดว ยกิจกรรมหุนยนต และบอรดสมองกลฝง ตัว KidBright

ระดับ 5 = มากทส่ี ดุ หรอื ดีมาก 4 = มากหรอื ดี 3 = ปานกลางหรอื พอใช
2 = นอ ยหรือตำ่ กวามาตรฐาน 1 = นอยท่ีสดุ หรอื ตอ งปรับปรงุ แกไข

รายละเอียด ระดบั ความพงึ พอใจ
5 4321
1. ดา นเนอ้ื หา

1.1 เนอ้ื หามีความเหมาะสม สอดคลองกบั สาระและมาตรฐานการเรียนรู
1.2 เนอ้ื หามคี วามสมบรู ณถกู ตองตามหลักวชิ า
1.3 เนอ้ื หาเพิ่มพูนองคค วามรูใหแ กผ ูเ รยี น
1.4 ภาษาท่ีใชถกู ตอง ชดั เจน เขา ใจงาย
1.5 เนอื้ หามีความสอดคลองกบั วัตถุประสงค
2. ดานเทคโนโลยีหุนยนต / บอรดสมองกลฝงตวั KidBright

2.1 มคี วามเหมาะสมกับลกั ษณะของผเู รียน
2.2 มวี ธิ กี ารใชง า ย
2.3 มลี ักษณะท่นี าในใจและดงึ ดดู ความสนใจ

รายละเอยี ด ระดบั ความพงึ พอใจ
5 4321
3. ดานเวทีการแลกเปล่ยี นเรยี นรู
3.1 มเี วทีแลกเปลยี่ นเรยี นรูท ี่หลากหลาย
3.2 ความเหมาะสมของเวทใี นการแลกเปล่ยี นเรียนรู
3.3 กจิ กรรมเวทแี ลกเปล่ยี นเรียนรูม ีหลากหลาย

5. ความพึงพอใจของทา นตอ ภาพรวมของการจัดการเรียนรวู ิทยาการ
คำนวณ (Coding & Computing Science) ดว ยกจิ กรรมหนุ ยนต
และบอรด สมองกลฝง ตัว KidBright

การสรุปผลการประเมิน เม่ือไดคาเฉล่ียของคะแนนแตละขอแลว นำมาเทียบกับเกณฑการ

ประเมนิ ผล ซึ่งมกี ารแปลผลตามระดบั คา เฉลี่ยจากอนั ตรภาคชัน้ ดังน้ี

คะแนนเฉลีย่ สงู กวา 4.50 ความพึงพอใจในระดบั มากท่สี ดุ

คะแนนเฉล่ียระหวา ง 3.50 – 4.49 ความพงึ พอใจในระดบั มาก

คะแนนเฉล่ยี ระหวาง 2.50 – 3.49 ความพึงพอใจในระดบั ปานกลาง

คะแนนเฉลย่ี ระหวา ง 1.50 – 2.49 ความพงึ พอใจในระดบั นอ ย

คะแนนเฉลี่ยตำ่ กวา 1.50 ความพงึ พอใจในระดบั นอ ยทส่ี ุด

ตอนที่ 3 ขอคดิ เห็น ปญ หา / อุปสรรค และขอ เสนอแนะเพิ่มเตมิ
1) ปญหา / อุปสรรค
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

2) ขอ เสนอแนะ
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................

ขอขอบคุณในความรว มมือ


Click to View FlipBook Version