The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by teachinee.phi, 2021-11-07 16:32:27

โครงการสอนวิทยาการคำนวณ ม.2

ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564

โครงการสอน เงอื นไขและขอ้ ตกลงเบืองตน้

ววิททิ ยยาากกาารรคคาํ ํานนววณณ มธั ยมศึกษาปที 2

ภาคเรยี นที 2 ปการศกึ ษา 2564

นางสาวเตชนิ ี ภริ มย์

ตาํ แหน่ง ครู
โรงเรียนวงั หนิ วทิ ยาคม
สํานกั งานเขตพืนทีการศกึ ษามธั ยมศกึ ษา นครศรธี รรมราช
สาํ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั พืนฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร

คำอธบิ ายรายวชิ า (พ้นื ฐาน)

รหัสวิชา ว22104 รายวชิ า เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ)
กลมุ สาระการเรียนรู วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

ชน้ั มธั ยมศึกษาปท่ี 2 เวลา 20 ช่ัวโมง/ภาคเรียน จำนวน 0.5 หนว ยกติ

ศึกษาการออกแบบอัลกอรทิ ึมท่ีใชแ นวคดิ เชิงคำนวณในการแกป ญหา หรือการทำงานที่พบในชีวิตจรงิ
การออกแบบและเขียนโปรแกรมที่ใชตรรกะและฟงกชันในการแกปญหา การเขียนโปรแกรมโดยใช
ซอฟตแวรScratch, python, java และ c อภิปรายองคประกอบและหลกั การทำางานของระบบคอมพิวเตอร
และเทคโนโลยีการสื่อสารเพื่อประยุกตใชงานหรือแกปญหาเบื้องตน ตลอดจนใชเทคโนโลยีสารสนเทศอยาง
ปลอดภัย มีความรับผิดชอบ สรางและแสดงสทิ ธใิ นการเผยแพรผ ลงาน

โดยอาศัยกระบวนการเรียนรโู ดยใชป ญ หาเปนฐาน (Problem-based Learning) และการเรยี นรแู บบ
ใชโครงงานเปนฐาน (Project-based Learning) เพื่อเนนใหผูเรยี นไดลงมือปฏิบัติ ฝกทักษะการคิด เผชิญ
สถานการณการแกปญ หา วางแผนการเรียนรู ตรวจสอบการเรียนรู และนำเสนอผา นการทำกิจกรรมโครงงาน
เพื่อใหเกิดทักษะ ความรู ความเขาใจ และทักษะใน การวเิ คราะหโจทยปญหา จนสามารถนำเอาแนวคิดเชิงค
านวณมาประยุกตใ ชใ นการสรา งโครงงานได

เพือ่ ใหผูเรียนมคี วามรู ความเขา ใจ การนำขอมลู ปฐมภูมิเขาสูระบบคอมพิวเตอร วิเคราะห ประเมิน
นำเสนอขอมลู และ สารสนเทศไดตามวตั ถุประสงค ใชท ักษะการคิดเชงิ คำนวณในการแกป ญหาทพ่ี บในชวี ติ จริง
และเขียนโปรแกรมอยางงาย เพื่อชวย ในการแกปญหา ใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารอยางรูเ ทา ทนั
และรับผิดชอบตอสังคม ตลอดจนนำความรูความเขาใจใน วิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีไปใชใหเกิด
ประโยชนตอสงั คมและการดำรงชีวิต จนสามารถพฒั นากระบวนการคดิ และจินตนาการ มคี วามสามารถในการ
แกปญ หาและมีทักษะในการสื่อสาร มีความสามารถในการตัดสินใจ และเปนผูท ี่มีจิตวิทยาศาสตร มีคุณธรรม
จรยิ ธรรม และคานิยมในการใชว ิทยาศาสตรและเทคโนโลยีอยา งสรา งสรรค

ตัวชี้วดั
ว. 4.2 เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ)
1. ออกแบบอัลกอริทึมท่ีใชแนวคดิ เชงิ นามธรรม เพอื่ แกปญหาหรอื อธิบายการทำงานที่พบในชวี ติ จริง
2. ออกแบบและเขยี นโปรแกรมอยางงา ย เพ่อื แกป ญหาทางคณิตศาสตรหรือวทิ ยาศาสตร
3. รวบรวมขอมลู ปฐมภูมิ ประมวลผล ประเมินผล นำเสนอขอมูลและสารสนเทศ ตามวัตถุประสงค

โดยใชซอฟตแ วรห รือบรกิ ารบนอินเทอรเนต็ ที่หลากหลาย
4. ใชเ ทคโนโลยีสารสนเทศอยา งปลอดภยั ใชส่อื และแหลง ขอมลู ตามขอ กำหนดและขอตกลง

รวมท้ังหมด 4 ตัวชี้วดั

วสิ ัยทัศนโ รงเรียน (Vision)

โรงเรยี นวังหินวิทยาคม มีความพรอมในการพัฒนาผูเรียนใหมคี ุณภาพ ตามมาตรฐานการศึกษา และ
บุคลากรเปนครูมืออาชพี ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เคียงคูภูมปิ ญ ญาทองถิ่น อาศัยการมีสวนรวม
จากทุกภาคสวน

พันธกิจ (Mission)

1. พฒั นานกั เรยี นใหมีความรูตามมาตรฐานการเรยี นรูในทกั ษะการเรยี นรใู นศตวรรษที่ 21 (3Rs8Cs)
2. สง เสรมิ นักเรยี นใหมีคณุ ธรรม จริยธรรม คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค ยึดหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจ

พอเพยี ง และสง เสริมภูมปิ ญญาทองถน่ิ
3. สงเสรมิ และพัฒนาศักยภาพของบุคลากรครทู กุ สาขาวิชา
4. พัฒนาระบบบริหารจดั การศกึ ษาแบบมสี วนรว ม
5. สงเสริมและสรา งโอกาสทางการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐานอยางท่ัวถึง

เปา หมาย (Goal)
1. นักเรยี นมีโอกาสไดรับการศึกษาขั้นพ้ืนฐานอยางท่วั ถงึ
2. นกั เรยี นมคี วามรตู ามมาตรฐานการเรยี นรใู นทกั ษะการเรียนรใู นศตวรรษที่ 21 (3Rs8Cs)
3. นกั เรยี นมคี ณุ ธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะอนั พึงประสงค ยึดหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
4. บคุ ลากรครูมีความสามารถในการจัดการเรยี นการสอนอยา งมคี ุณภาพ
5. ชุมชนและองคก รอืน่ ในทองถิน่ มสี ว นรว มในการจดั การศึกษา

ตัวชีว้ ัดความสำเรจ็ (Key performance indicator : KPI)
1. รอ ยละของนักเรยี นมโี อกาสไดรบั การศึกษาข้ันพนื้ ฐานอยางทัว่ ถงึ
2. รอยละของนักเรยี นมคี วามรูตามมาตรฐานการเรยี นรใู นทักษะการเรยี นรูใ นศตวรรษท่ี 21 (3Rs8Cs)
3. รอยละของนักเรียนมีคุณธรรม จรยิ ธรรม และคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค ยึดหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ
พอเพียง
4. รอ ยละของบุคลากรครูมีความสามารถในการจัดการเรียนการสอนอยางมีคณุ ภาพ
5. ชมุ ชนและองคก รอื่นในทองถ่ินมีสวนรวมในการจดั การศึกษาอยา งมีคณุ ภาพในระดับดีข้ึนไป

กลยุทธ (Strategies)
1. ใหนักเรยี นในการไดรบั โอกาสในการศึกษาขัน้ พืน้ ฐานอยางทั่วถึง
2. ยกระดบั คณุ ภาพนักเรียนใหมคี วามรูตามมาตรฐานการเรียนรใู นทักษะการเรยี นรใู นศตวรรษที่ 21
(3Rs8Cs)
3. พัฒนาคุณภาพนักเรยี นใหมีคณุ ธรรม จริยธรรม และคณุ ลักษณะอันพึง่ ประสงคย ึดหลักปรัชญา
ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
4. ยกระดบั คณุ ภาพของบุคลากรใหเ ปนครมู อื อาชพี
5. ระดมทรพั ยากรจากชมุ ชนและองคก รอื่นในทอ งถ่นิ ใหมสี วนรว มในการจัดการศึกษา

อตั ลกั ษณข องโรงเรียน
“ลกู วงั หินวิทยาคมทุกคน แตงกายดี และมนี ิสยั รักการออม”

จุดเนน (Focus)

1. ดานผูเ รยี น
1.1 นกั เรียนเปนคนดี เกง กลา มที กั ษะการแกป ญ หา มีจิตสาธารณะ และอยูอยา งพอเพียง
1.2 นักเรียนมคี วามมงุ มน่ั ในการศึกษาและการทำงาน สามารถปรบั ตวั เขากับชุมชน และสงั คม

2. ดานครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา
2.1 ครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษามวี นิ ยั คณุ ธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณของวิชาชพี

3. ดานการบริหารจดั การ
3.1 สถานศึกษามีความเขมแข็งและมีคณุ ภาพเปนทย่ี อมรบั ของชุมชน

โครงสรางรายวิชา (พ้นื ฐาน)

รหสั วชิ า ว22104 รายวชิ า เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ)
กลมุ สาระการเรียนรู วทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี

ชนั้ มัธยมศึกษาปที่ 2 เวลา 20 ช่ัวโมง/ภาคเรยี น จำนวน 0.5 หนวยกติ

หนว ยการ ชอ่ื หนว ยการเรยี นรู ตัวชว้ี ดั เวลาเรยี น นำ้ หนกั
เรยี นรทู ี่ ม.2/1 (ช่ัวโมง) คะแนน
แนวคดิ เชงิ คำนวณกบั การแกปญ หา
1 - แนวคดิ เชงิ คำนวณ ม.2/2 2 1
- ตวั อยา งการแกปญ หาโดยใชแนวคิดเชงิ คำนวณ 0.5 1
2 การออกแบบขัน้ ตอนการทำงานดวยการเขยี นโปรแกรม 1.5
ดว ยภาษา Python
- การออกแบบขน้ั ตอนการทำงานของโปรแกรม 9
- ตวั แปรภาษาไพทอน
- รหสั ควบคมุ รหสั รปู แบบขอมลู และตัวดำเนินการใน 15
ภาษาไพทอน 12
- การเขียนโปรแกรมดวยภาษาไพทอน (Python) 13
- การใชงานฟงกชนั ในโปรแกรมไพทอน
- โครงสรางการทำงานแบบเรยี งลำดบั 1 10
- โครงสรางการทำงานแบบเลือกทำ 23
12
รวมจำนวนชว่ั โมง/คะแนนเก็บ 13

สอบกลางภาค 10 30
คะแนนรวมกอ นกลางภาค/กลางภาค
20

50

หนว ยการ ชือ่ หนวยการเรยี นรู ตวั ชวี้ ัด เวลาเรยี น น้ำหนัก
เรยี นรทู ่ี ม.2/2 (ชว่ั โมง) คะแนน
การออกแบบขนั้ ตอนการทำงานดวยการเขียนโปรแกรม ม.2/3
2 ดวยภาษา Python 13
- โครงสรา งการทำงานแบบเลือกทำ ม.2/4 5
3 ระบบคอมพิวเตอร 13
- องคประกอบของระบบคอมพวิ เตอร 15
4 - หลกั การทำงานของระบบคอมพวิ เตอร 25
- เทคโนโลยกี ารสือ่ สาร 15
- การประยุกตใ ชงานและการแกป ญ หาเบอ้ื งตน
4
การใชเทคโนโลยีสารสนเทศอยางปลอดภยั 12
- การใชเ ทคโนโลยสี ารสนเทศ 12
- การปฏิบตั ติ นเมื่อพบเน้ือหาท่ไี มเหมาะสม 12
- ความรับผดิ ชอบตอ การใชง านเทคโนโลยสี ารสนเทศ 13
- ทรพั ยสินทางปญญา
10 30
รวมจำนวนช่วั โมง/คะแนนเกบ็ 20

สอบปลายภาค 50

คะแนนรวมหลังกลางภาค/ปลายภาค

สดั สวนคะแนนการวัดผลประเมนิ ผล

กำหนดมาตรฐานการเรียนรู หนวยการเรียนรู
ผลการเรียนรตู ามตวั ชี้วัด/จุดประสงค

คะแนนทป่ี ระเมิน

ชือ่ หนวย ช่ัวโมง จุดประสงคก ารเรยี นรู ความ ูร
ทักษะกระบวนการ
คุณธรรมจริยธรรม
รวมคะแนนเ ็กบ
คะแนนกลางภาค
คะแนนปลายภาค
รวมคะแนน ั้ทงหมด

K P A 30 20 20 100

1. แนวคดิ เชงิ คำนวณ 0.5 1.1 แนวคดิ เชงิ คำนวณ 1 - -1 -1

กบั การแกป ญหา 1.5 1.2 ตวั อยางการแกปญ หาโดยใชแ นวคิดเชงิ คำนวณ - 1 -12- 3

คะแนนรวมหนวยท่ี 1 11 22- 4

1 2.1 การออกแบบขั้นตอนการทำงานของโปรแกรม 1 4 - 5 - - 5

2. การออกแบบ 1 2.2 ตัวแปรภาษาไพทอน - 2 -22- 4
ขน้ั ตอนการทำงาน 2.3 รหสั ควบคมุ รหสั รปู แบบขอ มลู และตัวดำเนินการ - 3 -3-- 3
1 ในภาษาไพทอน
ดว ยการเขยี น 2.4 การเขยี นโปรแกรมดวยภาษาไพทอน (Python) 3 10 10 10 - 20
โปรแกรมดวย 1 2 3 -3
ภาษา Python 2 2.5 การใชงานฟงกชนั ในโปรแกรมไพทอน 23- 5
1
2.6 โครงสรา งการทำงานแบบเรยี งลำดับ

2 2.7 โครงสรา งการทำงานแบบเลือกทำ 3 3 3 - 6

คะแนนรวมหนวยท่ี 2 (กอนกลางภาค) 9 19 - 28 18 - 46

คะแนนเกบ็ และคะแนนกลางภาค 10 20 - 30 20 - 50

สัดสว นคะแนนการวดั ผลประเมนิ ผล

กำหนดมาตรฐานการเรียนรู หนวยการเรยี นรู
ผลการเรียนรตู ามตัวชีว้ ดั /จุดประสงค

คะแนนท่ีประเมนิ

ชอื่ หนวย ชวั่ โมง จดุ ประสงคก ารเรยี นรู ความ ูร
ทักษะกระบวนการ
คุณธรรมจริยธรรม
รวมคะแนนเ ็กบ
คะแนนกลางภาค
คะแนนปลายภาค
รวมคะแนน ั้ทงหมด

3. ระบบ 2.7 โครงสรางการทำงานแบบเลอื กทำ K P A 30 20 20 100
คอมพวิ เตอร - 3 -3-- 3
คะแนนรวมหนวยที่ 2 (หลงั กลางภาค)
4. การใช - 3 -3-- 3
เทคโนโลยี 1 3.1 องคป ระกอบของระบบคอมพิวเตอร
สารสนเทศอยาง 1 3.2 หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร 3 - -3-25
ปลอดภยั 2 3.3 เทคโนโลยกี ารสื่อสาร 5 - - 5 - 5 10
1 3.4 การประยกุ ตใชงานและการแกปญ หาเบอื้ งตน 5 - -5-38
คะแนนรวมหนวยที่ 3 (หลังกลางภาค) - 5 -5-38
1 - การใชเ ทคโนโลยีสารสนเทศ 13 5 - 18 - 13 31
1 - การปฏิบัติตนเม่อื พบเน้อื หาทไี่ มเหมาะสม - 2 -2-24
1 - ความรับผดิ ชอบตอ การใชง านเทคโนโลยสี ารสนเทศ - - 22-2 4
1 - ทรัพยสินทางปญญา - - 22-1 3
คะแนนรวมหนว ยท่ี 3 (หลงั กลางภาค) 2 - 13-2 5
2 2 5 9 - 7 16
คะแนนเก็บและคะแนนปลายภาค
15 10 5 30 - 20 50

อัตราสวนระหวางภาค : ปลายภาค 60 : 40 คะแนน
คะแนนระหวางภาค 60 คะแนน
คะแนนสอบกลางภาค 20 คะแนน
คะแนนสอบปลายภาค 20 คะแนน
รวมคะแนนท้งั สิ้น 100 คะแนน

ขอ ตกลงในการวดั – ประเมินผล
รายวชิ า เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ) รหัสวชิ า ว22104

รายละเอียดในการวัด – ประเมนิ ผล
คะแนนเกบ็ ระหวางภาค : คะแนนปลายภาค = 80 : 20
อตั ราสว น คะแนน K : P : A = 40 : 50 : 10

โดยมรี ายละเอยี ด ดังนี้

การประเมิน คะแนน วิธีวัด เครือ่ งมอื วดั ตัวช้ีวดั เวลาท่ใี ช
กอนกลางภาค 25 ตลอดภาคเรียน
คุณลักษณะฯ 5 ช้ินงาน แบบประเมนิ ว 4.2 ม.2/1
กลางภาค 20 และทดสอบ ชิน้ งาน ว 4.2 ม.2/2 ตลอดภาคเรยี น
หลังกลางภาค 25
คณุ ลักษณะฯ 5 สงั เกต แบบประเมิน คุณลักษณะฯ 30 นาที
ปลายภาค 20 พฤติกรรม พฤติกรรม ท้ัง ๘ ขอ
ตลอดภาคเรยี น
รวม ทดสอบ แบบทดสอบ ว 4.2 ม.2/1
จำนวน 20 ขอ ว 4.2 ม.2/2

ชิ้นงาน แบบประเมนิ ว 4.2 ม.2/3
และทดสอบ ชิ้นงาน
สงั เกต แบบประเมนิ คุณลกั ษณะฯ ตลอดภาคเรยี น
พฤติกรรม พฤติกรรม ทง้ั ๘ ขอ

ทดสอบ แบบทดสอบ ว 4.2 ม.2/3-4 30 นาที
จำนวน 20 ขอ

100 คะแนน

กำหนดภาระงาน
รายวิชา เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) รหัสวิชา ว22104 ไดกำหนดใหนักเรียนทำกิจกรรม/

ปฏิบัตงิ าน (ภาระงาน) ดงั นี้

ท่ี ช่ืองาน ตัวชว้ี ัด ประเภทงาน กำหนดสง
กลมุ เด่ยี ว

1 ใบกิจกรรม การแกปญ หาโดยใชแ นวคิดเชงิ คำนวณ ว 4.2 ม.2/1 / ตนเดือนพฤศจกิ ายน

2 แบบทดสอบ แนวคิดเชงิ คำนวณกบั การแกป ญ หา ว 4.2 ม.2/1 / ตน เดอื นพฤศจิกายน

3 ใบกิจกรรม การออกแบบขั้นตอนการทำงานโดยใช ว 4.1 ม.2/2 / กลางเดือนพฤศจิกายน

ภาษาธรรมชาติ

4 ใบกจิ กรรม การออกแบบข้นั ตอนการทำงานโดยใช ว 4.1 ม.2/2 / กลางเดอื นพฤศจิกายน

รหสั จำลอง

5 ใบกิจกรรม การออกแบบขน้ั ตอนการทำงานโดยใชผ ังงาน ว 4.1 ม.2/2 / ตน เดือนธันวาคม

6 ใบกจิ กรรม ตวั แปรในภาษาไพทอน ว 4.1 ม.2/2 / ตนเดอื นธันวาคม

กำหนดภาระงาน (ตอ)
รายวิชา เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) รหัสวิชา ว22104 ไดกำหนดใหนักเรียนทำกิจกรรม/

ปฏิบัติงาน (ภาระงาน) ดงั นี้

ที่ ชือ่ งาน ตวั ชว้ี ดั ประเภทงาน กำหนดสง
กลุม เด่ยี ว
7 ใบกิจกรรม รหสั ควบคมุ และรหสั รปู แบบขอ มูล ว 4.1 ม.2/2 กลางเดอื นธนั วาคม
8 ใบกิจกรรม ตวั ดำเนนิ การ ว 4.1 ม.2/2 / กลางเดือนธันวาคม
9 ใบกจิ กรรม การเขียนโปรแกรมดวยภาษาไพทอน ว 4.1 ม.2/2 / กลางเดือนธันวาคม
10 ใบกจิ กรรมการใชงานฟง กชันคำสงั่ แสดงผลทางหนา จอ ว 4.1 ม.2/2 / ปลายเดอื นธันวาคม
11 ใบกจิ กรรมการเขียนโปรแกรมการทำงานแบบเรยี งลำดับ ว 4.1 ม.2/2 / ปลายเดอื นธันวาคม
12 ใบกิจกรรม การทำงานแบบ Single Selection ว 4.1 ม.2/2 / ตน เดือนมกราคม
13 ใบกิจกรรม การทำงานแบบ Double Selection ว 4.1 ม.2/2 / ตน เดอื นมกราคม
14 ใบกจิ กรรม องคป ระกอบของฮารด แวรแ ละซอฟตแ วร ว 4.1 ม.2/3 / กลางเดือนมกราคม
15 ใบกิจกรรม หลักการและขัน้ ตอนการทำงานของระบบ ว 4.1 ม.2/3 / กลางเดือนมกราคม
/
คอมพวิ เตอร ว 4.1 ม.2/3 ปลายเดือนมกราคม
16 ใบกจิ กรรม องคป ระกอบ ทิศทาง และส่อื กลางของ /
ว 4.1 ม.2/4 ปลายเดือนมกราคม
การสอ่ื สารขอมลู /
17 ใบกิจกรรม คณุ ประโยชนและโทษจากการใชเทคโนโลยี ว 4.1 ม.2/4 ตน เดอื นกุมภาพันธ
/
สารสนเทศ
18 ใบกจิ กรรม ประเภทของลขิ สิทธิ์

หากนักเรยี นขาดสง งาน จำนวน 10 ชิ้นขนึ้ ไป และมีคะแนนตลอดภาคเรยี นไมถึง 50 คะแนน จะ
ไดร บั ผลการเรยี น “ ร ” ในรายวิชานี้

ลงชือ่ ครปู ระจำวิชา ลงชอื่ หวั หนา กลุมสาระฯ

(นางสาวเตชนิ ี ภริ มย) (นางสาวจรยิ า ยงกำลงั )

ลงชอื่ หัวหนากลมุ งานวิชาการ ลงช่อื ผอู ำนวยการสถานศึกษา

(นางสาวรจุ ริ า บวั ลอย) (นางจริ าพร อนิ ทรทัศน)

เง่อื นไขและขอตกลงเบ้ืองตน
วิชา เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ) ระดบั ชนั้ มัธยมศึกษาปท ่ี 1 - 6

ครเู ตชินี ภิรมย

1. การเขาชั้นเรียน นักเรียนทุกคนจะตองเขาชั้นเรียนอยางนอยรอยละ 80 ของเวลาเรียนทั้งหมด
นัน่ หมายถึง มเี วลาเรียน 20 ช่ัวโมงหรือ 20 ครง้ั นกั เรยี นขาดเรยี นไดไ มเ กิน 4 ช่วั โมงหรือ 4 ครง้ั

2. การเขาหอ งเรียนสาย นกั เรียนท่ีเขา หองเรียนสาย 2 ครง้ั (โดยไมมเี หตุผลสมควร) จะปรบั เปนขาดเรียน
๑ ครั้ง หากเขาหองสายติดตอกัน 4 ครั้งโดยไมมีเหตุผลสมควร ครูผูสอนจะรายงานครูที่ปรึกษา
และฝายกิจการนกั เรียนตอ ไป การสาย หมายถึง เขา หอ งเรียนหลังครผู สู อน

3. การหนเี รียน นักเรยี นทห่ี นีเรียน จะมบี ทลงโทษดงั น้ี

จำนวนครง้ั ทหี่ นี บทลงโทษ หมายเหตุ
บันทึกในสัญญาพฤตกิ รรม
1 วากลา วตกั เตอื น บนั ทึกในสญั ญาพฤติกรรม
บันทึกในสญั ญาพฤติกรรม
2 วา กลา วตักเตอื นและรายงานครูทป่ี รกึ ษา บันทกึ ในสญั ญาพฤตกิ รรม

3 รายงานฝา ยกจิ การนักเรียนและแจงผูป กครอง

4 รายงานฝายกิจการนกั เรียนและผอู ำนวยการ

4. การรายงานผลการเรียนระหวางภาคเรียน กรณีนักเรียนขาดความตั้งใจเรียน เหมอลอย ไมสนใจ
และมีแนวโนมผลการเรียนไมดีหรือออน ครูผูสอนจะรายงานใหผูปกครองรับทราบเปนรายกรณี ๆ
แลว แตสภาพของนกั เรียนแตละคน

5. หนังสือเรียนและสมุดในรายวิชาเทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) ที่ครูเตชินี ภิรมย เปนผูสอน

นกั เรียนตองมีและตองนำมาในชั่วโมงเรียนทุกครั้งที่มีการเรียนการสอน หากนักเรียนไมนำมาอยางใด

อยางหนงึ่ จะมบี ทลงโทษดังนี้

จำนวนครั้งท่ไี มนำหนังสือเรยี น บทลงโทษ หมายเหตุ

หรอื สมุดมาในชั่วโมงเรียน

1 - 2 วากลา วตักเตือน

3 - 4 วากลาวตกั เตอื นและลงโทษลุกน่งั 10 ครงั้

5 - 6 วากลาวตักเตือนและลงโทษลุกน่งั 20 ครั้ง บันทึกในสญั ญาพฤตกิ รรม

7 - 8 วากลาวตกั เตือนและลงโทษลุกนง่ั 40 คร้ัง บนั ทึกในสญั ญาพฤตกิ รรม

9 - 10 วากลาวตกั เตือนและลงโทษลุกน่งั 80 ครงั้ บันทึกในสัญญาพฤติกรรม

มากกวา 10 ครั้ง ดำเนินการแจง ผปู กครอง บนั ทึกในสญั ญาพฤตกิ รรม

6. อุปกรณเ สริมทีน่ กั เรยี นทกุ คนควรมี

6.1 ปากกาน้ำเงิน ,แดง , ดินสอ , สี , ไมบรรทดั และยางลบ เพื่อใชใ นการทำกิจกรรมในการเรียน
แตละคาบ

6.2 แฟมสำหรบั เก็บชิน้ งานและจดั ทำเปน แฟมสะสมงานตอไป

7. สมุดบันทึกการสั่งงาน นักเรียนทุกคนที่เรียนวิชาเทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) จะตองมีสมุดบันทึก
การส่ังงาน โดยนกั เรยี นสามารถบันทึกการส่งั งานไดทกุ รายวิชาทีเ่ รยี น

8. ระดบั ผลการเรยี น นักเรียนทกุ คนทเี่ รียน ครผู สู อนจะมีสดั สว นการใหผลการเรยี น ดงั น้ี
ระดบั 1 นักเรียนสงงาน 50 % - 59% มีเวลาเรียนครบตามเกณฑที่กำหนด คือ รอยละ 80

ไมห นหี ายไปโดยไมม เี หตผุ ลสมควร และทำงานแบบไมต้งั ใจ ชิน้ งานอาจไมดหี รอื มสี วนทต่ี องปรับปรงุ เยอะ
ระดบั 2 นักเรียนสงงาน 60% - 69 % มีเวลาเรียนครบตามเกณฑที่กำหนด คือ รอยละ 80

และไมหนีหายไปโดยไมมีเหตุผลสมควร และทำงานดวยความตั้งใจ แตชิ้นงานอาจไมดีหรือมีสวนที่ตอง
ปรับปรงุ เยอะ

ระดับ 3 และ ระดบั 4 นักเรยี นสง งาน 70% - 100% และมผี ลงานดี มคี ณุ ภาพ

9. สัดสวนคะแนนและเกณฑการประเมนิ

คะแนนระหวางภาค : ปลายภาค 80 : 20

เกณฑก ารประเมินผลสมั ฤทธ์ิ

คะแนน 0 – 49 ไดผ ลการเรยี น 0
1
50 – 54 ไดผ ลการเรยี น 1.5
2
55 – 59 ไดผ ลการเรยี น
2.5
60 – 64 ไดผ ลการเรยี น 3
3.5
65 – 69 ไดผ ลการเรียน 4

70 – 74 ไดผลการเรียน

75 – 79 ไดผลการเรยี น

80 ขนึ้ ไป ไดผลการเรยี น

(นางสาวเตชนิ ี ภิรมย)
ครผู สู อน

ผูปกครองรบั ทราบและแสดงความคิดเห็น

........................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................

(....................................................)
ผูปกครอง............................................................

โครงการสอน เงอื นไขและขอ้ ตกลงเบืองตน้
วทิ ยาการคาํ นวณ มธั ยมศกึ ษาปที 2

[Learning Online]


Click to View FlipBook Version