The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by teachinee.phi, 2021-11-08 06:24:39

โครงการสอนวิทยาการคำนวณ ม.5

ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564

โครงการสอน เงอื นไขและขอ้ ตกลงเบืองตน้

วิทยาการคาํ นวณ มธั ยมศึกษาปที 5

ภาคเรียนที 2 ปการศึกษา 2564

นางสาวเตชนิ ี ภริ มย์

ตาํ แหน่ง ครู
โรงเรยี นวงั หนิ วทิ ยาคม
สํานกั งานเขตพืนทีการศึกษามธั ยมศกึ ษา นครศรีธรรมราช
สํานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั พืนฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร

คำอธิบายรายวชิ า (พืน้ ฐาน)

รหัสวชิ า ว32104 วรายวชิ า เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ)
กลมุ สาระการเรียนรู วิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

ช้ันมัธยมศกึ ษาปท่ี 5 เวลา 20 ชั่วโมง/ภาคเรยี น จำนวน 0.5 หนวยกติ

ศึกษาเกี่ยวกับวิทยาการคอมพิวเตอร สื่อดิจิทัล และเทคโนโลยีสารสนเทศกับการดำเนินชีวิต
เทคโนโลยีการจัดการขอมูล ขอมูล ฐานขอมูล คลังขอมูล การทำเหมืองขอมูล ประมวลผลขอมูล วิทยาการ
ขอ มลู ขอ มลู ขนาดใหญ การวเิ คราะหข อ มูล วิทยาการขอ มลู

โดยอาศัยกระบวนการเรียนรูโดยใชปญหาเปนฐาน (Problem–based Learning) และการเรียนรู
แบบใชโครงงานเปนฐาน(Project-based Learning) เพื่อเนนใหผูเรียนไดลงมือปฏิบัติ ฝกทักษะการคิด
เผชิญสถานการณการแกปญหาวางแผนการเรียนรู ตรวจสอบการเรียนรู และนำเสนอผานการทำกิจกรรม
โครงงาน เพื่อใหเกิดทักษะ ความรู ความเขาใจ และทักษะในการวิเคราะหโจทยปญหา จนสามารถนำเอา
แนวคิดเชิงคานวณมาประยกุ ตใ ชใ นการสรางโครงงานได

เพือ่ ใหผูเรยี นสามารถใชความรูทางดานวทิ ยาการคอมพิวเตอร สื่อดจิ ิทัล เทคโนโลยีสารสนเทศและ
การสื่อสาร เพื่อรวบรวมขอมูลในชีวิตจริงจากแหลงตาง ๆ และความรูจากศาสตรอื่นมาประยุกตใช สราง
ความรูใหม เขาใจการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีที่มีผลตอการดาเนินชีวิต อาชีพ สังคม วัฒนธรรม และใช
อยางปลอดภัย

มีจริยธรรม ตลอดจนนาความรูความเขา ใจในวิชาวิทยาศาสตร และเทคโนโลยีไปใชใหเกิดประโยชน
ตอสังคมและการดำรงชีวิต จนสามารถพัฒนากระบวนการคดิ และจินตนาการ ความสามารถในการแกป ญหา
และการจัดการทักษะในการสื่อสาร และความสามารถในการตัดสินใจ และเปนผูที่มีจิตวิทยาศาสตร
มคี ณุ ธรรม จริยธรรม และคา นยิ มในการใชวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีอยา งสรา งสรรค

มาตรฐาน
ว. 4.2 เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) เขาใจและใชแนวคิดเชิงคำนวณในการแกปญหาท่ีพบในชีวิต

จริงอยางเปน ขั้นตอนและเปนระบบ ใชเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสารในการเรียนรู การทำงาน และการ
แกป ญหาไดอ ยางมปี ระสทิ ธิภาพ รเู ทา ทัน และมีจริยธรรม

ตัวช้วี ดั
5/1 รวบรวม วิเคราะหขอมูล และใชความรูดานวิทยาการคอมพิวเตอร สื่อดิจิทัล เทคโนโลยี

สารสนเทศในการแกปญ หา หรอื เพิ่มมูลคา ใหก ับบรกิ ารหรอื ผลิตภณั ฑทใ่ี ชใ นชวี ิตจริงอยางสรางสรรค

วสิ ัยทัศนโ รงเรียน (Vision)

โรงเรยี นวังหินวิทยาคม มีความพรอมในการพัฒนาผูเรียนใหมคี ุณภาพ ตามมาตรฐานการศึกษา และ
บุคลากรเปนครูมืออาชพี ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เคียงคูภูมปิ ญ ญาทองถิ่น อาศัยการมีสวนรวม
จากทุกภาคสวน

พันธกิจ (Mission)

1. พฒั นานกั เรยี นใหมีความรูตามมาตรฐานการเรยี นรูในทกั ษะการเรยี นรใู นศตวรรษที่ 21 (3Rs8Cs)
2. สง เสรมิ นักเรยี นใหมีคณุ ธรรม จริยธรรม คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค ยึดหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจ

พอเพยี ง และสง เสริมภูมปิ ญญาทองถน่ิ
3. สงเสรมิ และพัฒนาศักยภาพของบุคลากรครทู กุ สาขาวิชา
4. พัฒนาระบบบริหารจดั การศกึ ษาแบบมสี วนรว ม
5. สงเสริมและสรา งโอกาสทางการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐานอยางท่ัวถึง

เปา หมาย (Goal)
1. นักเรยี นมีโอกาสไดรับการศึกษาขั้นพ้ืนฐานอยางท่วั ถงึ
2. นกั เรยี นมคี วามรตู ามมาตรฐานการเรยี นรใู นทกั ษะการเรียนรใู นศตวรรษที่ 21 (3Rs8Cs)
3. นกั เรยี นมคี ณุ ธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะอนั พึงประสงค ยึดหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
4. บคุ ลากรครูมีความสามารถในการจัดการเรยี นการสอนอยา งมคี ุณภาพ
5. ชุมชนและองคก รอืน่ ในทองถิน่ มสี ว นรว มในการจดั การศึกษา

ตัวชีว้ ัดความสำเรจ็ (Key performance indicator : KPI)
1. รอ ยละของนักเรยี นมโี อกาสไดรบั การศึกษาข้ันพนื้ ฐานอยางทัว่ ถงึ
2. รอยละของนักเรยี นมคี วามรูตามมาตรฐานการเรยี นรใู นทักษะการเรยี นรูใ นศตวรรษท่ี 21 (3Rs8Cs)
3. รอยละของนักเรียนมีคุณธรรม จรยิ ธรรม และคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค ยึดหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ
พอเพียง
4. รอ ยละของบุคลากรครูมีความสามารถในการจัดการเรียนการสอนอยางมีคณุ ภาพ
5. ชมุ ชนและองคก รอื่นในทองถ่ินมีสวนรวมในการจดั การศึกษาอยา งมีคณุ ภาพในระดับดีข้ึนไป

กลยุทธ (Strategies)
1. ใหนักเรยี นในการไดรบั โอกาสในการศึกษาขัน้ พืน้ ฐานอยางทั่วถึง
2. ยกระดบั คณุ ภาพนักเรียนใหมคี วามรูตามมาตรฐานการเรียนรใู นทักษะการเรยี นรใู นศตวรรษที่ 21
(3Rs8Cs)
3. พัฒนาคุณภาพนักเรยี นใหมีคณุ ธรรม จริยธรรม และคณุ ลักษณะอันพึง่ ประสงคย ึดหลักปรัชญา
ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
4. ยกระดบั คณุ ภาพของบุคลากรใหเ ปนครมู อื อาชพี
5. ระดมทรพั ยากรจากชมุ ชนและองคก รอื่นในทอ งถ่นิ ใหมสี วนรว มในการจัดการศึกษา

อตั ลกั ษณข องโรงเรียน
“ลกู วงั หินวิทยาคมทุกคน แตงกายดี และมนี ิสยั รักการออม”

จุดเนน (Focus)

1. ดานผูเ รยี น
1.1 นกั เรียนเปนคนดี เกง กลา มที กั ษะการแกป ญ หา มีจิตสาธารณะ และอยูอยา งพอเพียง
1.2 นักเรียนมคี วามมงุ มน่ั ในการศึกษาและการทำงาน สามารถปรบั ตวั เขากับชุมชน และสงั คม

2. ดานครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา
2.1 ครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษามวี นิ ยั คณุ ธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณของวิชาชพี

3. ดานการบริหารจดั การ
3.1 สถานศึกษามีความเขมแข็งและมีคณุ ภาพเปนทย่ี อมรบั ของชุมชน

โครงสรา งรายวิชา (พ้ืนฐาน)

รหัสวชิ า ว32104 รายวิชา เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ)
กลุมสาระการเรียนรู วิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี

ชนั้ มธั ยมศึกษาปที่ 5 เวลา 20 ชั่วโมง/ภาคเรียน จำนวน 0.5 หนวยกิต

หนวยการ ชอ่ื หนวยการเรียนรู ตวั ชี้วัด เวลาเรียน น้ำหนกั
เรยี นรูท่ี ว 4.2 ม.5/1 (ชั่วโมง) คะแนน
แนวคิดเชิงคำนวณในการพฒั นาโครงงาน
1 - วิทยาการคอมพิวเตอรกับการดำเนินชวี ิต ว 4.2 ม.5/1 4 15
- สือ่ ดิจิทลั กบั การดำเนนิ ชวี ิต 1 5
2 - เทคโนโลยสี ารสนเทศกบั การดำเนนิ ชวี ิต ว 4.2 ม.5/1 1 5
3 - การเพม่ิ มลู คา ใหกับสนิ คา และบริการ 1 2
เทคโนโลยีการจัดการขอ มูล 1 3
3 - ขอมลู 5 12
- ฐานขอมลู 1 2
- คลงั ขอมูล 1 3
- การทำเหมอื งขอ มลู 1 2
ประมวลผลขอ มลู 2 5
- การทำความเขา ใจวัตถุประสงคและการเก็บรวบรวม 1 3
1 3
รวมจำนวนชั่วโมง/คะแนนเกบ็
10 30
สอบกลางภาค
ว 4.2 ม.5/1 5 20
คะแนนรวมกอนกลางภาค/กลางภาค 1
ประมวลผลขอมูล 1 50
- ขอ มลู และการเตรียมขอมลู 1
- การประมวลผลขอมลู 2 20
- การวิเคราะหขอมลู ทางสถิติ 2
- การทำขอมูลใหเปนภาพ 3
5
10

วทิ ยาการขอ มูล ว 4.2 ม.5/1 5 10
1 2
4 - องคความรูสำหรับวิทยาการขอมูล 1 3
- ขอมูลขนาดใหญ 3 5
30
- การวิเคราะหข อมูล 10
20
รวมจำนวนชัว่ โมง/คะแนนเกบ็
50
สอบปลายภาค

คะแนนรวมหลังกลางภาค/ปลายภาค

สัดสวนคะแนนการวดั ผลประเมนิ ผล

กำหนดมาตรฐานการเรียนรู หนวยการเรยี นรู
ผลการเรียนรูตามตัวชีว้ ดั /จุดประสงค

คะแนนท่ปี ระเมิน

ชื่อหนว ย ชว่ั โมง จุดประสงคก ารเรยี นรู ความ ูร
ทักษะกระบวนการ
คุณธรรมจริยธรรม
รวมคะแนนเ ็กบ
คะแนนกลางภาค
คะแนนปลายภาค
รวมคะแนน ั้ทงหมด

K P A 30 20 20 100

1 1.1 วทิ ยาการคอมพวิ เตอรกบั การดำเนินชวี ิต 3 - 252- 7
1 1.2 สื่อดจิ ิทัลกบั การดำเนนิ ชีวติ
1. แนวคดิ เชิงคำนวณ 1 1.3 เทคโนโลยสี ารสนเทศกับการดำเนนิ ชีวติ 2 - 352- 7
ในการพัฒนาโครงงาน 1 1.4 การเพิม่ มูลคา ใหกบั สินคาและบริการ
1 - 122- 4
2. เทคโนโลยีการ คะแนนรวมหนวยท่ี 1
จัดการขอมลู 1 2.1 ขอมลู 1 2 -35- 8
1 2.2 ฐานขอ มลู
3. การนำแนวคิด 1 2.3 คลงั ขอ มูล 7 2 6 15 11 - 26
เชิงคำนวณพฒั นา 2 2.4 การทำเหมอื งขอ มูล
โครงงานที่เกย่ี วกับ 2 - -23- 5
ชีวิตประจำวนั คะแนนรวมหนวยท่ี 2
1 3.1 การทำความเขาใจวัตถุประสงค 2 - 133- 6
3. การนำแนวคิด
เชิงคำนวณพฒั นา และการเกบ็ รวบรวม 2 - -23- 5
โครงงานท่เี กี่ยวกับ
ชีวิตประจำวนั คะแนนรวมหนวยที่ 3 (กอนกลางภาค) - 5 -5 -5
คะแนนเกบ็ และคะแนนกลางภาค
4.วทิ ยาการขอ มูล 1 3.2 ขอ มลู และการเตรียมขอ มลู 6 5 1 12 9 - 21
1 3.3 การประมวลผลขอมลู
1 3.4 การวเิ คราะหขอ มูลทางสถติ ิ 3 - -3-- 3
2 3.5 การทำขอ มลู ใหเ ปน ภาพ
3 - -3-- 3
คะแนนรวมหนวยท่ี 3 (หลังกลางภาค)
1 องคค วามรูสำหรบั วิทยาการขอ มูล 16 7 7 30 20 - 50
1 ขอ มลู ขนาดใหญ
3 การวิเคราะหขอมลู 1 1 -2-24
1 2 -3-36
คะแนนรวมหนวยที่ 3 2 3 - 5 - 5 10
คะแนนเก็บและคะแนนปลายภาค - 10 - 10 - 3 13
4 16 - 20 - 13 33
2 - -2-3 5
3 - -3-2 5
- 5 -5-27
5 5 - 10 - 7 17
9 21 - 30 - 20 50

อตั ราสวนระหวางภาค : ปลายภาค 60 : 40 คะแนน
คะแนนระหวางภาค 60 คะแนน

คะแนนสอบกลางภาค 20 คะแนน
คะแนนสอบปลายภาค 20 คะแนน
รวมคะแนนท้ังสน้ิ 100 คะแนน

ขอตกลงในการวดั – ประเมินผล
รายวชิ า เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ) รหัสวิชา ว32104

รายละเอียดในการวดั – ประเมนิ ผล
คะแนนเก็บระหวา งภาค : คะแนนปลายภาค = 80 : 20
อัตราสว น คะแนน K : P : A = 40 : 50 : 10

โดยมรี ายละเอยี ด ดังน้ี

การประเมนิ คะแนน วธิ ีวดั เคร่อื งมอื วดั ตวั ช้วี ัด เวลาที่ใช
กอ นกลางภาค 25 ว 4.2 ม.5/1 ตลอดภาคเรยี น
คุณลักษณะฯ 5 ชน้ิ งาน แบบประเมนิ ตลอดภาคเรยี น
กลางภาค 20 และทดสอบ ช้ินงาน คณุ ลักษณะฯ 30 นาที
หลงั กลางภาค 25 ทั้ง ๘ ขอ ตลอดภาคเรยี น
คณุ ลักษณะฯ 5 สงั เกต แบบประเมนิ ว 4.2 ม.5/1 ตลอดภาคเรยี น
ปลายภาค 20 พฤติกรรม พฤติกรรม 30 นาที
ว 4.2 ม.5/1
รวม ทดสอบ แบบทดสอบ
จำนวน 20 ขอ คุณลักษณะฯ
ท้งั ๘ ขอ
ชน้ิ งาน แบบประเมนิ ว 4.2 ม.5/1
และทดสอบ ช้ินงาน
สังเกต แบบประเมนิ 100 คะแนน
พฤติกรรม พฤติกรรม

ทดสอบ แบบทดสอบ
จำนวน 20 ขอ

กำหนดภาระงาน
รายวิชา เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) รหัสวิชา ว32104 ไดกำหนดใหนักเรียนทำกิจกรรม/

ปฏิบัตงิ าน (ภาระงาน) ดงั นี้

ท่ี ช่อื งาน ตวั ช้วี ดั ประเภทงาน กำหนดสง
กลมุ เดีย่ ว
ตนเดอื นพฤศจิกายน
1 ใบกิจกรรม การสรา ง Infographic ว 4.2 ม.5/1 / กลางเดอื นพฤศจกิ ายน
ปลายเดือนพฤศจิกายน
2 ใบกิจกรรม ประโยชนข องเทคโนโลยีสารสนเทศ ว 4.2 ม.5/1 / ตน เดือนธันวาคม

3 ใบกจิ กรรม การเพิ่มมลู คา สนิ คา OTOP ว 4.2 ม.5/1 / กลางเดอื นธันวาคม
ปลายเดือนธนั วาคม
4 หนวยการเรียนรูที่ 1 วทิ ยาการคอมพวิ เตอร สื่อดจิ ิทลั / ตน เดือนมกราคม

และเทคโนโลยสี ารสนเทศกบั การดำเนินชวี ิต ปลายเดือนมกราคม

5 ใบกิจกรรม ประเภทของขอ มูล ว 4.2 ม.5/1 / ตนเดือนกุมภาพนั ธ
กลางเดือนกมุ ภาพันธ
6 ใบกิจกรรม การจดั การขอมูลเชิงสมั พันธ ว 4.2 ม.5/1 /

7 แบบทดสอบ หนว ยการเรยี นรูที่ 2 ว 4.2 ม.5/1 /

เทคโนโลยกี ารจัดการขอ มลู

8 แบบทดสอบ หนว ยการเรยี นรูท่ี 3 ว 4.2 ม.5/1 /

ประมวลผลขอ มูล

9 ใบกิจกรรม การวเิ คราะหขอ มลู Big Data ว 4.2 ม.5/1 /

10 ใบกจิ กรรม การใชป ระโยชนข องการวเิ คราะหขอมลู ว 4.2 ม.5/1 /

หากนกั เรยี นขาดสง งาน จำนวน 5 ชนิ้ ขนึ้ ไป และมีคะแนนตลอดภาคเรยี นไมถ ึง 50 คะแนน จะ
ไดร บั ผลการเรยี น “ ร ” ในรายวชิ าน้ี

ลงชื่อ ครปู ระจำวิชา ลงชื่อ หัวหนา กลุม สาระฯ

(นางสาวเตชินี ภริ มย) (นางสาวจริยา ยงกำลงั )

ลงชือ่ หัวหนา กลมุ งานวิชาการ ลงชื่อ ผอู ำนวยการสถานศกึ ษา

(นางสาวรจุ ิรา บวั ลอย) (นางจิราพร อินทรทัศน)

เง่อื นไขและขอตกลงเบ้ืองตน
วิชา เทคโนโลยี (วทิ ยาการคำนวณ) ระดบั ชนั้ มัธยมศึกษาปท ่ี 1 - 6

ครเู ตชินี ภิรมย

1. การเขาชั้นเรียน นักเรียนทุกคนจะตองเขาชั้นเรียนอยางนอยรอยละ 80 ของเวลาเรียนทั้งหมด
นัน่ หมายถึง มเี วลาเรียน 20 ช่ัวโมงหรือ 20 ครง้ั นกั เรยี นขาดเรยี นไดไ มเ กิน 4 ช่วั โมงหรือ 4 ครง้ั

2. การเขาหอ งเรียนสาย นกั เรียนท่ีเขา หองเรียนสาย 2 ครง้ั (โดยไมมเี หตุผลสมควร) จะปรบั เปนขาดเรียน
๑ ครั้ง หากเขาหองสายติดตอกัน 4 ครั้งโดยไมมีเหตุผลสมควร ครูผูสอนจะรายงานครูที่ปรึกษา
และฝายกิจการนกั เรียนตอ ไป การสาย หมายถึง เขา หอ งเรียนหลังครผู สู อน

3. การหนเี รียน นักเรยี นทห่ี นีเรียน จะมบี ทลงโทษดงั น้ี

จำนวนครง้ั ทหี่ นี บทลงโทษ หมายเหตุ
บันทึกในสัญญาพฤตกิ รรม
1 วากลา วตกั เตอื น บนั ทึกในสญั ญาพฤติกรรม
บันทึกในสญั ญาพฤติกรรม
2 วา กลา วตักเตอื นและรายงานครูทป่ี รกึ ษา บันทกึ ในสญั ญาพฤตกิ รรม

3 รายงานฝา ยกจิ การนักเรียนและแจงผูป กครอง

4 รายงานฝายกิจการนกั เรียนและผอู ำนวยการ

4. การรายงานผลการเรียนระหวางภาคเรียน กรณีนักเรียนขาดความตั้งใจเรียน เหมอลอย ไมสนใจ
และมีแนวโนมผลการเรียนไมดีหรือออน ครูผูสอนจะรายงานใหผูปกครองรับทราบเปนรายกรณี ๆ
แลว แตสภาพของนกั เรียนแตละคน

5. หนังสือเรียนและสมุดในรายวิชาเทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) ที่ครูเตชินี ภิรมย เปนผูสอน

นกั เรียนตองมีและตองนำมาในชั่วโมงเรียนทุกครั้งที่มีการเรียนการสอน หากนักเรียนไมนำมาอยางใด

อยางหนงึ่ จะมบี ทลงโทษดังนี้

จำนวนครั้งท่ไี มนำหนังสือเรยี น บทลงโทษ หมายเหตุ

หรอื สมุดมาในชั่วโมงเรียน

1 - 2 วากลา วตักเตือน

3 - 4 วากลาวตกั เตอื นและลงโทษลุกน่งั 10 ครงั้

5 - 6 วากลาวตักเตือนและลงโทษลุกน่งั 20 ครั้ง บันทึกในสญั ญาพฤตกิ รรม

7 - 8 วากลาวตกั เตือนและลงโทษลุกนง่ั 40 คร้ัง บนั ทึกในสญั ญาพฤตกิ รรม

9 - 10 วากลาวตกั เตือนและลงโทษลุกน่งั 80 ครงั้ บันทึกในสัญญาพฤติกรรม

มากกวา 10 ครั้ง ดำเนินการแจง ผปู กครอง บนั ทึกในสญั ญาพฤตกิ รรม

6. อุปกรณเ สริมทีน่ กั เรยี นทกุ คนควรมี

6.1 ปากกาน้ำเงิน ,แดง , ดินสอ , สี , ไมบรรทดั และยางลบ เพื่อใชใ นการทำกิจกรรมในการเรียน
แตละคาบ

6.2 แฟมสำหรบั เก็บชิน้ งานและจดั ทำเปน แฟมสะสมงานตอไป

7. สมุดบันทึกการสั่งงาน นักเรียนทุกคนที่เรียนวิชาเทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) จะตองมีสมุดบันทึก
การส่ังงาน โดยนกั เรยี นสามารถบันทึกการส่งั งานไดทกุ รายวิชาทีเ่ รยี น

8. ระดบั ผลการเรยี น นักเรียนทกุ คนทเี่ รียน ครผู สู อนจะมีสดั สว นการใหผลการเรยี น ดงั น้ี
ระดบั 1 นักเรียนสงงาน 50 % - 59% มีเวลาเรียนครบตามเกณฑที่กำหนด คือ รอยละ 80

ไมห นหี ายไปโดยไมม เี หตผุ ลสมควร และทำงานแบบไมต้งั ใจ ชิน้ งานอาจไมดหี รอื มสี วนทต่ี องปรับปรงุ เยอะ
ระดบั 2 นักเรียนสงงาน 60% - 69 % มีเวลาเรียนครบตามเกณฑที่กำหนด คือ รอยละ 80

และไมหนีหายไปโดยไมมีเหตุผลสมควร และทำงานดวยความตั้งใจ แตชิ้นงานอาจไมดีหรือมีสวนที่ตอง
ปรับปรงุ เยอะ

ระดับ 3 และ ระดบั 4 นักเรยี นสง งาน 70% - 100% และมผี ลงานดี มคี ณุ ภาพ

9. สัดสวนคะแนนและเกณฑการประเมนิ

คะแนนระหวางภาค : ปลายภาค 80 : 20

เกณฑก ารประเมินผลสมั ฤทธ์ิ

คะแนน 0 – 49 ไดผ ลการเรยี น 0
1
50 – 54 ไดผ ลการเรยี น 1.5
2
55 – 59 ไดผ ลการเรยี น
2.5
60 – 64 ไดผ ลการเรยี น 3
3.5
65 – 69 ไดผ ลการเรียน 4

70 – 74 ไดผลการเรียน

75 – 79 ไดผลการเรยี น

80 ขนึ้ ไป ไดผลการเรยี น

(นางสาวเตชนิ ี ภิรมย)
ครผู สู อน

ผูปกครองรบั ทราบและแสดงความคิดเห็น

........................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................................

(....................................................)
ผูปกครอง............................................................

โครงการสอน เงอื นไขและขอ้ ตกลงเบืองตน้

วิทยาการคาํ นวณ มธั ยมศกึ ษาปที 5

[Learning Online]


Click to View FlipBook Version