หน้าที่ 1 (การสร้างสาวก) การสร้างสาวกแท้-เป็ นคริสเตียน ค าน า มัทธิว 28:19-20 นี่เป็นข้อพระคัมภีร์หลักที่เราใช้ใน 3 วิชา ได้แก่ วิชาพันธกิจโลก วิชาประกาศ และวิชาการสร้างสาวก ด้วย เหตุผลบางอย่างที่ชัดเจน นี่เป็นพระมหาบัญชาในพระคัมภีร์ใหม่ และพระคัมภีร์ข้อนี้ก็มีกุญแจส าคัญแห่งชัยชนะ ของคริสตจักร เป้าหมายของกิจกรรมของคริสตจักรในพระคัมภีร์ใหม่ ก็คือ เพื่อน าคนหลงหายให้รอด เพื่อรวมพวก เขาเข้าเป็นคริสตจักร และเพื่อสร้างสาวกผู้ซึ่งจะเปลี่ยนบรรยากาศฝ่ายวิญญาณของชนชาติต่างๆ ด้วยการสอน พวกเขาในสิ่งที่พระเยซูได้เคยสอนไว้ พระเยซูใช้เวลาส่วนใหญ่ในช่วง 3 ปี ของการท าพันธกิจในการสอนกลุ่มคนที่พระองค์รวบรวมเข้ามาใน ฐานะผู้ติดตาม จนกระทั้งพวกเขาเติบโตในฐานะสาวก หลังจาก 3 ปีผ่านไป พระองค์ได้ส่งต่ออนาคตของคริสตจักร และแผนการของพระองค์เพื่อการประกาศทั่วโลก ให้แก่พวกเขา ถ้าเราเชื่อฟังค าสั่งของอัครทูตอย่างจริงจังแล้ว เราก็ต้องรู้ว่า การสร้างสาวก หมายถึงอะไร คนจ านวนมาก และคริสตจักร แบบประเพณีนิยม ได้ให้ความหมายที่แตกต่างกัน ของค าว่า การสร้างสาวก ดังนั้น จึงเป็นสิ่งส าคัญ ที่เราจะต้องมาดูว่า พระคัมภีร์กล่าวถึง การสร้างสาวก ว่าคืออะไร และอะไรไม่ใช่ การสร้างสาวก 1. ความเข้าใจผิด เกี่ยวกับ การสรา้งสาวก ก. การสร้างสาวก ไม่ใช่ กิจกรรมการเป็นพี่เลี้ยง เพื่อช่วยให้คริสเตียนกลายเป็นสมาขิกที่ดีกว่าเดิม แท้จริงแล้ว การสร้างสาวก จะท าให้สมาชิกของคริสตจักรอุทิศตัวมากขึ้น แต่ว่าการเป็นสมาชิกที่ดี กว่าเดิมนั้น ไม่ใช่สิ่งที่อยู่ในความคิดของพระเยซู เมื่อพระองค์ประทานพระมหาบัญชาให้พวกเรา 1. การสร้างสาวก เริ่มต้น คนหลงหาย ไม่ใช่เริ่มต้นจากคนที่รอดแล้ว เมื่อพระเยซูตรัสสั่งให้ผู้ติดตามของพระองค์ ออกไปและสร้างสาวก พระองค์ไม่ได้คาดหวังให้พวก เขาออกไป และช่วยให้ผู้ติดตามของพระองค์กลายเป็นผู้ติดตามที่ดีกว่าเดิม พระองค์คาดหวังว่า พวกเขาจะออกไปหาคนที่ยังไม่ได้ติดตามพระองค์ และสอนพวกเขาให้เป็นสาวก 2. การสร้างสาวก จบลงด้วยการเพิ่มแบบทวีคูณ ไม่ใช่ จบลงด้วยความสมบูรณ์แบบในตัวบุคคล ถ้าสิ่งที่เราต้องการให้ส าเร็จผล คือ การอุทิศตัวมากขึน้ความเป็นผใู้หญ่และความบริสทุธิ์ในตัว บุคคล นั่นก็แสดงว่า เราก าลังพลาดจากเป้าหมายหลัก สาวกจะต้องกระท าตามพระมหาบัญชา ในการออกไป และท าให้คนอื่นกลายเป็นสาวกด้วย การสร้างสาวก เริ่มต้น และจบลงด้วยการ ประกาศ ข. การสร้างสาวก ไม่ใช่ บทเรียนเพิ่มเติม เพื่อช่วยคริสเตียนให้รู้จักพระคัมภีร์มากขึ้น
หน้าที่ 2 (การสร้างสาวก) 1. ค าสอนในเรื่องการสร้างสาวกนั้น ไม่ใช่การสอนพระคัมภีร์ในด้านความรู้เท่านั้น แต่เป็นการสอน เรื่องความเชื่อฟังต่อพระคัมภีร์ : จงสอนให้พวกเขาเชื่อฟังทุกสิ่ง การสร้างสาวก เกี่ยวข้องกับ การประยุกต์ใช้พระคัมภีร์ ไม่ใช่ การมีความรู้ในพระคัมภีร์ มันเป็นไปได้ที่จะรู้จักพระคัมภีร์มาก แต่กระท าตามแค่เล็กน้อย ถ้าความรู้ของเรา ไม่ได้ น าเราไปสู่การเชื่อฟัง มันก็เป็นแค่ความรู้ที่ท าให้เกิดความล าพอง มากกว่าที่จะเป็นการ เสริมสร้างขึ้น (1โครินธ์8:1, โคโลสี 2:18) ค. การสร้างสาวก ไม่ใช่ การมีกลุ่มที่รับรู้กัน เพื่อช่วยคริสเตียนให้ห่างไกลจากความบาป แม้ว่าการรับรู้กันในด้านศีลธรรม อาจจะเป็นส่วนหนึ่งของการสร้างสาวก แต่นั้น ไม่ใช่ วัตถุประสงค์หลัก การอยู่ห่างไกลจากความบาป เป็นแค่จุดเริ่มต้น ไม่ใช่เส้นชัยในชีวิตคริสเตียน ง. การสร้างสาวก ไม่ใช่ ค าแนะน าฝ่ายวิญญาณ ซึ่งเราจะต้องยอมจ านน รับรู้ และตัดสินใจตามนั้นไป เสียทุกเรื่อง และการตัดสินใจ ไม่ใช่เป้าหมายหลักของการสร้างสาวกในพระคัมภีร์ใหม่ มนุษย์มี แนวโน้มตามธรรมชาติที่จะดึงเอากิจกรรมทุกอย่างเข้าสู่ตนเอง แต่การสร้างสาวกตามหลักพระคัมภีร์ นั้น ถูกออกแบบมา ให้เราอุทิศชีวิตของเราออกสู่ข้างนอก คือ ออกห่างจากตัวของเราเอง 2. การทรงเรียก ให้เป็ น สาวก คืออะไร (จะเริ่มสอน WDMC. การเติบโตสู่ความเป็ นผู้ใหญ่ เมื่อพระเยซูทรงเรียกผู้คน พระองค์ทรงเรียกให้พวกเขา เข้าสู่ชีวิตของการเป็นสาวก มทัธิว บทที่4 ได้ แสดงให้เห็นความหมายที่แท้จริงของค านี้ เพื่อตอบสนองต่อการทรงเรียกนี้ มัทธิว 4:18-22 จากข้อพระคัมภีร์ ตอนนี้ เราจะเห็นมุมมอง 3 ด้านของการเป็นสาวก ก. การเป็นสาวก คือ การทรงเรียกให้ ติดตามพระคริสต์ จุดเริ่มต้นของการเป็นสาวก ก็คือ การติดตามพระเยซู มันเป็นไปได้ และเป็นเรื่องธรรมดา ที่เราอาจจะ เป็นสมาชิกที่ดีของคริสตจักร แต่เรายังไม่ได้ติดตามพระเยซูอย่างแท้จริง การติดตามพระเยซูนั้น เป็น มากยิ่งกว่าการเลียนแบบบุคลิกลักษณะนของพระองค์ การประยุกต์ใช้ค าสอนของพระองค์ หรือการ ท างานให้เหมือนพระองค์ การเป็นสาวกที่แท้จริงนั้น จะกลายเป็นชีวิตจิตใจของเรา เราจ าเป็นต้องละ ทิ้งทุกสิ่งในชีวิตของเรา เพื่อติดตามพระองค์ มาระโก 3:13 1. พระเยซูทรงเรียกสาวกกลุ่มแรกของพระองค์ เพื่อให้เขาเข้าอยู่กับพระองค์ การเป็นสาวกนั้น สิ่ง ส าคัญอันดับแรก คือ การมีความสัมพันธ์สนิทแบบส่วนตัวกับพระเยซู และการยอมจ านนทั้งสิ้น ต่อพระองค์ 2. เราต้องติดตามพระเยซู โดยไม่เหลือที่ว่างในชีวิต ให้แก่พระอื่นใด เส้นทางในชีวิต หรือ ทางเลือก อื่นๆ
หน้าที่ 3 (การสร้างสาวก) ข. การเป็นสาวก คือ การทรงเรียกให้เข้าสู่ ครอบครัวฝ่ ายวิญญาณ สอนวาระพิเศษ วันที่ 5-01-2023 ห้องเรียน คพม. ใน มาระโก 3:31-35 เหล่าสาวกได้ออกจากครอบครัวตามธรรมชาติของพวกเขา เพื่อติดตามพระเยซู พระองค์ทรงเรียกสาวกของพระองค์ว่า พี่น้องชายหญิง พ่อ และแม่ ในฐานะครอบครัวฝ่ายวิญญาณ มัทธิว 12:47-50, 1ทิโมธี 5:1-2 เรามีความสัมพันธ์กับพระบิดาในสวรรค์ ในฐานะที่เราเป็นบุตรของพระองค์ การติดตามพระเยซู เขาเรานั้นดูแล้วก็เหมือนเป็นการอยู่ในครอบครัวเดียวกัน สิ่งนี้หมายถึง การยอมให้ “พี่ๆ ของเรา” ผู้ซึ่ง เป็นผู้ใหญ่ในความเชื่อมากว่าเรา ได้ช่วยเราในการติดตามพระเยซู 1โครินธ์ 11:1, 4:15-16 สิ่งที่ ส าคัญอย่างยิ่ง ก็คือ แนวความคิดของครอบครัวฝ่ายวิญญาณที่ว่า พระเยซู ไม่ได้ฝากมอบความ รับผิดชอบบนโลกนี้ที่ยิ่งใหญ่ที่สุดนของพระองค์ คือการดูแลแม่ของพระองค์ ไว้กับญาติพี่น้องฝ่ายเนื้อ หนังของพระองค์ แต่ทรงฝากมอบไว้กับพี่ชายฝ่ายวิญญาณของพระองค์ ยอห์น 19:26-27 ค. การเป็นสาวก คือการทางเรียกให้ ออกไปจับคน พระเยซูคาดหวังให้ทุกคนที่ติดตามพระองค์ ได้ออกไปหาคนหลงหาย มาระโก1:17 “พระเยซูตรัส กับเขาว่า "จงตามเรามาเถิด และเราจะตงั้ท่านให้เป็นผู้หาคนดังหาปลา" การติดตามพระเยซู ไม่ได้หมายความว่า เราเลิกติดต่อกับคนบาปอย่างสิ้นเชิง แต่ในทางตรงกันข้าม มันหมายความว่า เรา จะต้องออกไปแสวงหาพวกเขา อย่างกระตือรือร้น เพื่อน าพวกเขามาถึงพระเยซู มัทธิวได้ตอบสนองต่อ การทรงเรียกให้เป็นสาวก และเขาก็ได้จัดงานฉลองที่บ้านของเขาทันที เพื่อแนะน าเพื่อนของเขาให้รู้จัก พระเยซู มัทธิว 9:9-10 สรุป การเป็นสาวก คือการทรงเรียกให้เข้าสู่ความสัมพันธ์ การเป็นสาวก เป็นเรื่องเกี่ยวกับ การน าคนให้กลับมามีความสัมพันธ์ที่ถูกต้องกับพระเจ้า และกับ คนอื่น มัทธิว 22:37-40 นี่คือ พระมหาบัญญัติ มันคือพื้นฐานของพระมหาบัญชา มันคือบทสรุปของพระ มหาบัญญัติทั้งสิ้นของพระเจ้า บทสรุปของสิ่งที่หมายถึง การเป็นสาวก การเป็นสาวก คือ การทรงเรียกเพื่อให้เราสร้างความสัมพันธ์ขั้นพื้นฐาน 3 อย่าง 1. การทรงเรียกให้ ติดตาม คือการทรงเรียกให้พัฒนาความสัมพันธ์ที่แนบสนิทกับพระเจ้า 2. การทรงเรียกให้เข้าสู่ ครอบครัวฝ่ ายวิญญาณ คือ การทรงเรียกให้พัฒนาความสัมพันธ์ กับ คริสเตียนคนอื่น 3. การทรงเรียกให้ ออกไปจับคน คือ การทรงเรียกให้พัฒนาความสัมพันธ์กับคนในโลกนี้ สาวก คือ คนที่รักพระเจ้า รักคริสเตียนคนอื่น และรักคนในโลกนี้ ด้วยความรักที่เพิ่มขึ้นตลอดเวลา (สอนใน คพม.วันที่ 27-10-22)
หน้าที่ 4 (การสร้างสาวก) 3. เราจะเป็ นสาวก ได้อย่างไร ก่อนที่เราจะสามารถสร้างสาวกได้ เราจะต้องเป็นสาวกเสียก่อน คุณสมบัติแรกของสาวก คือ เขา นมัสการพระเยซูคริสต์ ในฐานะองค์พระผู้เป็นเจ้า และพระผู้ช่วยให้รอด กิจการ 2:36, ฟิ ลิปปี 2:9-11, โรม 10:9 เราจะกลายเป็นสาวกได้ ก็ต่อเมื่อ เรายอมให้พระเยซูเป็นเจ้านายในชีวิตของเรา ซึ่งหมายความว่าเรา ได้น าทุกส่วนในชีวิตของเรา มาไว้ภายใต้กฎเกณฑ์ และระเบียบวินัย ของพระองค์ ประวัติศาสตร์ได้ พิสูจน์ให้เห็นแล้ว่า การไม่ยอมให้พระเยซู เป็นเจ้านายหรือพระผู้ช่วยให้รอดนั้น จะน าผู้เชื่อเข้าสู่ความ ล้มเหลวอย่างยิ่งใหญ่ และเขาจะกลายเป็นสาวกที่อ่อนแอ ก. ยอมรับให้พระเยซูเป็ นเจ้านาย มันเป็นไปไม่ได้ ที่จะมีสาวก แต่ไม่มีเจ้านาย พระเยซูได้ตั้งเงื่อนไข 3 ข้อ ให้แก่ทุกคนที่ต้องการให้ พระองค์เป็นเจ้านายเหนือชีวิต มาระโก 8:34 เงื่อนไขเหล่านี้ ได้แก่ การปฏิเสธตนเอง การ เสียสละ และการยอมจ านน 1. การปฏิเสธตนเอง (สอนวันที่12-01-2023) พระเยซูได้ท าให้เราเห็นอย่างชัดเจนว่า เราจะต้องจ่ายราคาเพื่อติดตามพระองค์พระองค์ได้ เตือนสติทุกคนที่ติดตามพระองค์ ให้นับราคา แม้กระทั่งก่อนที่จะเริ่มเดินทางในการเป็นสาวก ลูกา 14:27-28 ราคาเริ่มแรกของการเป็นสาวกของพระคริสต์ ก็คือ การปฏิเสธตนเอง สิ่งนี้ หมายถึงอะไร….(สอนต่อคราวต่อไป..19-01-2023 (ก) พระเยซูต้องมาก่อนความตั้งใจของตัวเอง หรือ ของฉันเอง ยอห์น 21:18-19 เรายอม มอบตัวของเราให้พระคริสต์ และวางใจในพระองค์ ในทุกสิ่งที่เราเลือกในชีวิตของเรา (ข) พระเยซูต้องมาก่อนชื่อเสียง และความสะดวกสบายส่วนตัว 2โครินธ์ 6:4-10 ไม่ว่าอะไร ก็ตามที่จ าเป็นต้องท า เราก็ต้องท าให้ได้ (ค) พระเยซูต้องมาก่อน อาชีพ และครอบครัว มัทธิว 4”21-22 (ง) พระเยซูต้องมาก่อน ความสุขส่วนตัว ฮีบรู 11:24-25 (จ) พระเยซูต้องมาก่อน ความคิดส่วนตัว 2โครินธ์:10:5 พระเยซูจะเป็นเจ้านายของเรา เมื่อเราปฏิเสธทุกคน ทุกสิ่ง หรือทุกความคิด ที่ช่วงชิงสิทธิอัน ชอบธรรมของพระองค์ในฐานะกษัตริย์แห่งชีวิตของเรา อพยพ 20:3-4 การนับถือรูปเคารพ และการให้พระเยซูเป็นเจ้านายนั้น มันเป็นสิ่งตรงข้ามกัน ที่จริง ความสะดวกสบาย และ ครอบครัว ไม่ใช่สิ่งผิดเสมอไป แต่มันจะผิด ก็ต่อเมื่อ เรายอมให้สิ่งเหล่านี้ เข้ามาแทนที่สิทธิ อ านาจของพระเจ้า ในชีวิตของเรา ค าถามหนึ่งที่มีประโยชน์ ก็คือ การถามว่า “มีอะไรบ้าง ไหมที่คุณไมเ่ต็มใจที่จะละทิง้เพื่อให้พระเยซูเป็นเจ้านายของคุณ” WDMC 19-9-22 เสวนา
หน้าที่ 5 (การสร้างสาวก) สรุป การยอมจ านนทั้งสิ้นต่อพระเยซู ในฐานะเจ้านายนั้น เป็นแค่จุดเริ่มต้น ไม่ใช่เส้นชัย ของ การเป็นสาวก
หน้าที่ 6 (การสร้างสาวก) 2. การเสียสละ การแบกกางเขนของเราแต่ละวัน หมายความว่า เราต้องรับเอาวิถีชีวิตแห่งการเสียสละ เพื่อ รักพระเจ้า และรักคนอื่น การเป็นสาวกไม่ใช่ เป็นเพียงแค่การตัดตัวเองออกไป แต่มันยัง หมายถึง การรับเอาความทุกข์ยากเข้ามาด้วย กางเขนเป็นเครื่องหมายของความตาย ใน ฐานะคริสเตียน เราจะต้องฆ่าทุกสิ่งที่ขัดขวางพระประสงค์ของพระเจ้าในชีวิตของเรา กาลา เทีย 2:20 การเสียสละ และการทนทุกข์ จะต้องเกิดขึ้น เพื่อ ก. ถวายเกียรติแด่พระเจ้า 2 ทิโมธี 3:12 ข. รักคนอื่น 2 โครินธ์ 4:10-12 ค. ตรึงเนื้อหนังไว้ที่กางเขน ฟิ ลิปปี 3:18-19 ถ้าเราไม่ฆ่าความอยากฝ่ายเนื้อหนัง และ ความสะดวกสบายของเราแล้ว เราก็จะไม่จริงจัง กับการยอมจ านนต่อพระคริสต์อยู่ เสมอ(จบตรงนี้ สอนใน คพม.19-01-2023) ง. มีประสบการณ์ในพระพร และพระสิริของพระเจ้า 1เปโตร 4:12-13 บางคนมองดู ความทุกข์ยากล าบากว่า เป็นสัญลักษณ์แห่งความไม่พอใจของพระเจ้าต่อพวกเขา แต่หนทางสู่ชีวิตนิรันดร์นั้น จะต้องผ่านทางกางเขนเสมอ พระคัมภีร์สัญญาว่า เราจะ ได้รับทั้งพระพร และความทุกข์ยากล าบาก สรุป ถ้าเราหลีกเลี่ยงความเจ็บปวด การเสียสละ และความทุกข์ยากล าบาก เราก็ ก าลังหลีกเลี่ยงการเป็นสาวก 3. การยอมจ านน การมีเจ้านาย ไม่ใช่เป็นแค่ การปฏิเสธตัวเอง และการเสียสละเท่านั้น แต่มันคือ การยอม จ านนเพื่อติดตามพระคริสต์ สิ่งนี้หมายความว่าอย่างไร ก. การประกาศออกมาด้วยค าพูด มัทธิว 10:32-33"เหตุดังนั้นทุกคนที่จะรับเราต่อหน้า มนุษย์ เราจะรับผู้นั้นต่อพระพักตร์พระบิดาของเราผู้ทรงสถิตในสวรรค์ 33แต่ผู้ใดจะไม่ยอมรับเราต่อหน้ามนุษย์ เราจะไม่ยอมรับผู้นั้นต่อพระพักตร์พระบิดาของ เราผู้ทรงสถิตในสวรรค์ด้วย ข. การอุทิศหัวใจ 1 เปโตร 3:15แต่ในใจของท่าน จงเคารพนับถือ พระคริสต์ว่าเป็น องค์ พระผู้เป็นเจ้า จงเตรียมตัวไว้ให้พร้อมเสมอ เพื่อท่านจะสามารถตอบทุกคนที่ถาม ท่านว่า ท่านมีความหวังใจเช่นนี้ด้วยเหตุผลประการใด แต่จงตอบด้วยใจสุภาพและ ด้วยความนับถือ” การมีเจ้านาย อันดับแรกนั้น เป็นเรื่องของ หัวใจ และท่าที ก่อนที่ จะเป็นการกระท า หัวใจที่ต้องอุทิศอย่างแท้จริงจะแสดงออกมาเป็นการกระท าเสมอ
หน้าที่ 7 (การสร้างสาวก) ค. การเชื่อฟังในทางปฏิบัติลูกา 6:46 มัทธิว 7:21 การเชื่อฟัง เป็นการแสดงออกด้วย การปฏิบัติว่า เราก าลังเลือกท าตามพระประสงค์ของพระเจ้า มากว่าท าตามความ ตั้งใจของเราเอง เมื่อการมีเจ้านาย เป็นเรื่องของท่าทีในหัวใจอันดับแรก ดังนั้น ถ้า ปราศจากการเชื่อฟังแล้ว มันน่าสงสัยแล้วว่า ท่าทีภายในนั้นเป็นอย่างไร ง. รูปแบบชีวิตที่ต่อเนื่อง โคโลสี 2:6 สาวกที่แท้จริง จะมีความหิวกระหายในฝ่าย วิญญาณอย่างต่อเนื่อง ที่คอยขับเคลื่อนให้พวกเขาเติบโตขึ้นในความสัมพันธ์กับพระ เจ้า และขยายอาณาจักรของพระองค์ ข. การประยุกต์ใช้ในทางปฏิบัติ ของการมีเจ้านาย ต่อไปนี้ เป็นแนวทางในการประเมิน ระดับของความเป็นเจ้านายของพระเยซูในชีวิตของเรา 1. พระเยซูเป็นเจ้านาย เหนือการปรากฏตัวของเรา หรือไม่ 1 โครินธ์6:20 ก. เราได้ถวายเกียรติแด่พระเจ้า ด้วยร่างกายของเรา หรือไม่ ข. เราได้ดูแลเอาใจใส่ร่างกายของเรา ในฐานะเป็นผู้อารักขา หรือไม่ ค. เราได้แต่งกายของเรา ตามที่พระองค์อยากให้เป็น หรือไม่ 2. พระเยซูเป็นเจ้านาย เหนือค าพูดของเรา หรือไม่ โคโลสี 4:6, สดุดี50:23 ก. พระองค์ได้ควบคุม สิ่งที่เราพูด หรือไม่ ข. พระองค์ได้ควบคุม เวลาที่เราพูด หรือไม่ ค. พระองค์ได้ควบคุม วิธีการที่เราพูด หรือไม่ 3. พระเยซูเป็นเจ้านาย เหนือกิริยามารยาท และนิสัยของเรา หรือไม่ 2ทิโมธี3:10 ก. ชีวิตประจ าวันของเราได้บ่งบอกถึง การยอมจ านนของเรา ต่อการปกครองของพระองค์ หรือไม่ 4. พระเยซูเป็นเจ้านาย เหนือความคิดของเรา หรือไม่ สุภาษิต 23:7 ความคิดของเราจะควบคุมการกระท าของเรา ถ้าความคิดของเราเปลี่ยน การกระท าของเรา ก็จะเปลี่ยนด้วย 5. พระเยซูเป็นเจ้านาย เหนืออารมณ์ของเรา หรือไม่ สุภาษิต 25:28 ก. เราสามารถใช้การบังคับตนเอง เหนือความรู้สึกของเรา ได้หรือไม่ ข. ความรู้สึกต่างๆ (รัก, เกลียด, ปรารถนา, ต้องการอย่างรุนแรง) ควบคุมเราได้หรือไม่ ค. เรายอมให้พระเยซู ควบคุมอารมณ์เหล่านี้ของเรา หรือไม่ 6. พระเยซูเป็นเจ้านาย เหนือเวลาของเรา หรือไม่ สดุดี90:12 7. พระเยซูเป็นเจ้านาย เหนือความสัมพันธ์ของเรา หรือไม่ 2 โครินธ์6:14 สรุป เรายอมรับพระเยซูเป็นเจ้านายของเรา ด้วยค าพูด, หัวใจ และการกระท าตลอดชีวิตของ เรา วิวรณ์12:11
หน้าที่ 8 (การสร้างสาวก) หมายเหตุ มุมมองที่ว่า พระเยซูเป็นพระผู้ช่วยให้รอด ได้ถูกสอนในวิชาผู้ถูกสร้างใหม่ วิชา รากฐานแห่งความเชื่อ และวิชาชีวิตแห่งชัยชนะ โดยสรุปแล้ว การรับการปลดปล่อยจาก อ านาจ และผลร้ายของความบาป ผ่านทางความสัมพันธ์กับพระเจ้า ซึ่งเกิดจากการ เผชิญหน้าส่วนตัวกับพระคริสต์โดยทางพระคุณ และด้วยการเสริมก าลังของพระวิญญาณ บริสทุธิ์เพื่อท าให้ทุกสิ่งกลายเป็นสิ่งใหม่นั้น จะท าให้เรามีชัยชนะเหนือความบาป และได้รับ การเจิมจากพระเจ้า สรุป เราไม่สามารถเป็นสาวกด้วยเงื่อนไขของเราเองได้ การที่เราจะเป็นสาวกของพระเยซูได้ นั้น พระองค์เรียกให้เราค านวณราคาของการปฏิเสธตนเอง เพื่อแบกกางเขนแห่งการเสียสละ และเพื่อยอมจ านนต่อการติดตามพระองค์ สาวกของพระเยซูเป็นคนที่ได้รับความรอดแล้ว เราได้รับความรอดจากบาป และจาก ผลกระทบของบาป และเราได้รับความรอดเข้าสู่ความสัมพันธ์ส่วนตัวกับพระเจ้า ซึ่งเต็มล้น ไปด้วยพระวิญญาณ และพระคุณของพระองค์(สอน วันที่ 26-01-2023 คพม.)ต่อคราวหน้า ความสัมพันธ์ กับครอบครัวฝายวิญญาณ บริบทของการเป็ นสาวก พระเยซูสร้างความสัมพันธ์ กับสาวกของพระองค์ อย่างไร มาระโก 3:13-14 ในกลุ่มย่อย (12คน) คริส เตียนในยุคแรก สร้างสาวกอย่าไร กิจการ 2:41-44 โดยรวมกันเป็น ชุมชนคริสเตียน อ.เปาโลสร้างสาวกใน คริสตจักรยุคแรกอย่างไร เธสะโลนิกา 2:7,11 ในฐานะ พ่อ กับลูก เมื่อเราเกิดมา พระเจ้าได้ก าหนดเราไว้ในบ้านที่เฉพาะเจาะจง เพื่อที่เราจะสามารถรับการเลี้ยงดูให้เติบโต ขึ้นเป็นผู้ใหญ่ แม้ว่าเมื่อรามองดูภาพใหญ่ คริสตจักรทั่วโลก คือ ครอบครัวฝ่ายวิญญาณของเราก็จริงอยู่ แต่พระเจ้า ท าให้เราเติบโตขึ้นในบริบทของชุมชนแห่งความเชื่อที่เฉพาะเจาะจง ในส่วนนี้ เรามาอภิปรายถึง วิธีที่จะเติบโตขึ้นในฐานะสาวก ในบริบทของครอบครัวฝ่ายวิญญาณ 1. ประโยชน์ของการมีครอบครัวฝ่ ายวิญญาณ การมีส่วนร่วมในครอบครัวของพระเจ้า จะท าให้คุณได้เข้าสู่มิติใหม่ของชีวิตในพระคริสต์ ประโยชน์ บางอย่างที่คุณจะได้รับ มีดังนี้ ก. เราจะเป็ น ผู้ใหญ่ มากขึน้ในครอบครัวฝ่ายวิญญาณ วิธีที่ง่ายที่สุด ในการไม่เติบโต ก็คือ แยกตัวของเราออกจากครอบครัว ความเป็นผู้น า และ ความสัมพันธ์ที่พบได้ในครอบครัวนั้น จะเพิ่มโอกาสในการเติบโต และความเป็นผู้ใหญ่ ซึ่งจะไม่ สามารถพบ หรือลอกเลียนแบบได้ในสถานที่อื่น
หน้าที่ 9 (การสร้างสาวก) มิตรภาพไม่สมารถทดแทนครอบครัวได้ ถ้าความตรึงเครียดเกิดขึ้นในมิตรภาพ คุณก็สามารถออกจาก ความสัมพันธ์นั้นได้ แต่คุณต้องสะสางปัญหาของคุณที่มีกับครอบครัว สิ่งที่ท าให้เราเติบโตขึ้นใน ครอบครัวนั้น ไม่ใช่เกิดจาก การใช้เวลากับผู้น าเท่านั้น แต่ยังเกิดจาก ความตึงเครียด และการทนทุกข์ ที่เกิดขึ้น เมื่อ “พี่น้อง” พยายามที่จะปรับตัวเข้าหากัน ฮีบรู 12:8 ข. เรา เป็นส่วนหนึ่ง ในครอบครัวฝ่ ายวิญญาณ ทุกคนจ าเป็นต้องเป็นส่วนหนึ่ง ของที่ใดที่หนึ่ง เพื่อมี ความสุขกับ ความรู้สึกมั่นคงแห่งความสัมพันธ์ที่แนบสนิทในระยะยาว 1โครินธ์12:27 ผู้คนมาที่ คริสตจักรด้วยเหตุผลหลายอย่าง แต่เขาจะอยู่ต่อไปด้วยเหตุผลเดียว นั่นคือ ความสัมพันธ์ ค. เรา ได้รับการเลีย้งดูในครอบครัวฝ่ ายวิญญาณ อวัยวะที่ถูกตัดออก จะตายอย่างรวดเร็ว พระคริสต์เลี้ยงดูเราผ่านทางคนอื่น เอเฟซัส 4:14-16 สัญลักษณ์แรกที่บ่งบอกว่า บางคน “ก าลังถอยหลัง” ในความสัมพันธ์กับพระเจ้า ก็คือ เขาเริ่มที่จะออก ห่างจากความสัมพันธ์กับคริสตจักรของพระเจ้า ยิ่งเขาได้รับค าหนุนใจน้อยลงจากครอบครัวฝ่าย วิญญาณ พวกเขาก็จะยิ่งมีความสัมพันธ์ที่ไม่ราบรื่นกับพระเจ้า เราไม่สามารถแยกความสัมพันธ์ของ เรากับพระบิดา ออกจากความสัมพันธ์ของเรากับบรรดาบุตรของพระองค์ได้ ง. เรา ได้รู้จักบทบาทของเรา ในครอบครัวฝ่ ายวิญญาณ เช่นเดียวกับ ดวงตา หรือ เท้า ในร่างกายของมนุษย์ เราเข้าใจว่า เราเป็นใคร และเราท าอะไรในบริบท ของอวัยวะส่วนอื่นๆ “เมื่อคุณค้นพบผู้คนของคุณ คุณก็จะได้ค้นพบวัตถุประสงค์ของคุณ” แขนข้าง หนึ่งก็เป็นเพียงแค่เนื้อชิ้นหนึ่ง ถ้าหากมันไม่ได้ ติดอยู่กับมือ และไหล่ 1โครินธ์12:18 จ. เรา ได้รับการปกป้อง ในครอบครัวฝ่ ายวิญญาณ สัตว์ที่กินเนื้อ จะพยายามแยกเหยื่อของมันออกจากฝูงเสมอ ความปลอดภัยของเรา ขึ้นอยู่กับ การอยู่ ในฝูง ภายใต้การดูแลของผู้เลี้ยงแกะ แกะที่อยู่ตัวเดียว จะถูกหมาป่าคาบไปกิน กิจการ 20:28-29 มัน เป็นสิ่งที่อันตราย เมื่อเราแยกตัวออกมาจากครอบครัวของพระเจ้า และเรายังเอาความรอดของเราเข้า สู่อันตรายด้วย สุภาษิต 18:1 ฉ. เรา เกิดผล ในครอบครัวฝ่ ายวิญญาณ ปริมาณของผลในชีวิตของเรานั้น จะเป็นอัตราส่วนโดยตรงกับ คุณภาพของความร่วมมือของเรากับ พระคริสต์ และกับพระกายของพระองค์ แขนงต้องติดอยู่กับพระคริสต์ และต้องติดอยู่กับ ซึ่งกันและ กันด้วย ยอห์น 15:5 การท างานร่วมกันทุกส่วน ย่อมดีกว่าผลรวมของอวัยวะแต่ละส่วนเสมอ เราเกิดผลส่วนตัวมากว่า เสมอในบริบทของความสัมพันธ์ ของประทาน และแหล่งทรัยยากรในชุมชนของพระเจ้า บทสรุป ก็คือ สาวกจะต้องใช้เวลาร่วมกับสาวกคนอื่นๆ สุภาษิต 13:20
หน้าที่ 10 (การสร้างสาวก) 2. การเป็นส่วนหนึ่งในครอบครัวฝ่ายวิญญาณ คุณภาพหลัก 4 อย่างที่บ่งบอกถึง การเป็นส่วนหนึ่งในครอบครัวฝ่ายวิญญาณ ก. การอุทิศตัว สมาชิกทุกคนในครอบครัว จะอุทิศตัวเพื่อ 3 สิ่งหลัก ดังนี้ (1) ผู้คน หัวใจของคริสตจักร ก็คือ ความสัมพันธ์ต่อซึ่งกันและกัน การเข้าร่วมในคริสตจักร ไม่ใช่การ เข้าร่วมการประชุม แต่เป็นการสร้างความสัมพันธ์แห่งพันธสัญญา ความสัมพันธ์เป็น องค์ประกอบส าคัญในการสร้าง และการเติบโตของอาณาจักรที่ประสบความส าเร็จในระยะยาว เหตุผลที่เราต้องมาอยู่ร่วมกัน ก็คือ เพื่อแสดงออกถึง การอุทิศตัว และวัตถุประสงค์ด้วยหัวใจ และ ความคิดอย่างเดียวกัน ฟิ ลิปปี 2:2 (2) วัตถุประสงค์คริสตจักร คือ “ชุมชนที่มีวัตถุประสงค์” การเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งในครอบครัวของพระ เจ้า หมายถึง การับเอาค าสั่งนั้น มาเป็นของคุณเอง มัทธิว 28:19-20 เราไม่ได้มีความสัมพันธ์ต่อ กัน เพื่อเห็นแก่ความสัมพันธ์ แต่เราให้เกียรติแก่ความสัมพันธ์ เพื่อว่าเราะจะสามารถเคลื่อนที่ไปสู่ วัตถุประสงค์เหมือนเป็นคนๆ เดียวกัน (3) เส้นทาง การที่คุณตระหนักถึงเป้าหมายของคุณในพระคริสต์ได้นั้น จะไม่เกิดขึ้นโดยบังเอิญ การมี ส่วนร่วมในกิจกรรม และโอกาสต่างๆ ของคริสตจักรนั้น เป็นสิ่งที่ส าคัญต่อการสร้าสาวก ทุก คริสตจักรควรมีเส้นทางสู่การเป็นสาวก เราจะกล่าวถึงเส้นทางสู่การเป็นสาวกในช่วงหลังของ บทเรียนนี้ เรย์ แม็คโคลัม กล่าวว่า “ถ้าคุณเอารถไฟออกมาจากราง มันก็เป็นอิสระ แต่มันจะไปไหนไม่ได้” ข. การติดตาม กิจการ 15:4 ได้กล่าวถึง 2 ขอบข่ายของสิทธิอ านาจในคริสตจักร ซึ่งได้แก่ อัครทูต, ผู้ปกครอง และ สมาชิก * อัครทูต คือ ผู้บุกเบิกพันธกิจใหม่ และคอยดูแลอยู่เหนือคริสตจักรท้องถิ่น * ผู้ปกครอง คือ ผู้น าในท้องถิ่น ทุกกลุ่มจะต้องมีผู้น า ศิษยาภิบาลมักจะเป็นผู้น าของกลุ่ม * สมาชิกคริสตจักร มีความรับผิดชอบที่เจาะจง เพื่อกรท าพันธกิจ และงานรับใช้ของคริสตจักร ความคิดเห็น ต่อค าว่า “การยอมจ านนต่อผู้น า” นั้น มีหลานแง่มุม การยอมจ านนที่ดีนั้น มีรากฐานอยู่ บนความไว้วางใจ คือ ไว้วางใจในการจัดวางของพระเจ้า ที่น าคุณมาอยู่ในครอบครัวฝ่ายวิญญาณ และไว้วางใจในบุคลิกลักษณะ และการทรงเรียกของผู้น าคุณ ความสัมพันธ์จะถูกสร้างขึ้นผ่านทาง ความไว้วางใจ เป็นสิ่งแรก ต่อไปนี้เป็นคุณสมบัติหลัก ของผู้น าที่เราไว้วางใจได้ * พวกเขา ต้องเป็นผู้ตามก่อน * พวกเขา มีชวีิตที่บริสทุธิ์
หน้าที่ 11 (การสร้างสาวก) * พวกเขา ใช้สิทธิอ านาจ เพื่อรับใช้ และสร้างผู้อื่นขึ้น * พวกเขา น าผู้คนเข้าหาพระคริสต์ และเป็นผู้น า * พวกเขา ไม่เรียกร้องความไว้วางใจ แต่ได้รับความไว้วางใจเป็นของขวัญ * พวกเขา ยอมรับนับถือ ผู้มีสิทธิอ านาจ ที่อยู่ในต าแหน่งอื่นๆ ด้วย หมายเหตุเรากล่าวถึงสิ่งนี้ ในที่นี้ ด้วยเหตุผล 2 ข้อ คือ 1) เพื่อเราจะสามารถยอมรบนับถือ ประเภทนของผู้น าที่พระเจ้าอยากให้เรามี 2) เพื่อให้เป็นมาตรฐานของประเภทของผู้น า ที่จะเกิดขึ้นหลังจากผ่านกระบวนการสร้างสาวก ถ้าเราน า ด้วยวิธีนี้ เราก็จะได้ผลิตผู้น าที่เป็นสาวก ซึ่งจะน าด้วยวิธีนี้เช่นกัน เราจะยอมจ านน ต่อผู้น าประเภทนีไ้ด้อย่างไร * การยอมจ านน เป็นการแสดงออกถึงความเชื่อของเราในพระเจ้า เราวางใจในพระจ้า เราจึงอธิษฐานเผื่อ ผู้น าที่พระองค์ตั้งไว้เหนือชีวิตของเรา เพราะเราเชื่อว่า พวกเขาเป็นส่วนหนึ่งของแผนการของพระเจ้า เพื่อ น าพระพร และการทรงน า มาถึงชีวิตของเรา * เราติดตามผู้น า และผู้น านั้นติดตามพระคริสต์ เราไม่เลียนแบบทุกอย่างของผู้น า ไม่มีใครสมบูรณ์แบบ แต่เราส าแดงสิ่งต่างๆ ที่สะท้อนถึงพระเยซูคริสต์ เราไว้วางใจในทิศทางการน าของผู้น า แต่ไม่ไว้วางใจ ใน ความสมบูรณ์แบบของพวกเขา เมื่อเราไว้วางใจผู้น าของเรา พวกเขาก็จะกลายเป็นคนที่น่าไว้วางใจมาก ขึ้น ถ้ามีเรื่องราว หรือมีปัญหากับผู้น าคนหนึ่ง ทางที่ดี คือ “จงถาม ขึ้นไป” ซึ่งหมายความว่า เราควร แบ่งปันความทุกข์ยากล าบากของเรา กับผู้น าคนอื่นๆ ไม่ใช่แบ่งปันกับเพื่อนๆ ของเรา * ขอค าแนะน า และรับการตักเตือนเมื่อจา เป็น สิ่งแรกที่พระเยซูบอกเปาโล หลังจากที่เขาได้เผชิญหน้ากับพระองค์บนถนนจะไปเมืองดามัสกัส ก็ คือ “จงเข้าไปในเมือง และจะมีคนบอกเจ้าว่า จะต้องท าอย่างไรบ้าง” กิจการ 9:6 ผู้น าคนแรกของเปาโล คือ อานาเนีย ซึ่งเป็นสาวกคนหนึ่ง จงสังเกตบทเรียนที่เราได้รับในตรงนี้ การได้เผชิญหน้ากับพระเยซู ยังไม่ เพียงพอที่จะท าให้เรายิ่งใหญ่ เราจะต้องมีสาวกแบบอานาเนียด้วย ซึ่งเป็นผู้ที่พูดบางอย่างเข้ามาในชีวิต ของเรา คนที่ “ฟังเสียงของพระเจ้า” เท่านั้น จะไม่สามารถเป็นสาวกที่เกิดผลได้เลย สาวกควรเต็มใจที่จะให้ คนอื่นน าทางพวกเขาในการเดินกับพระเจ้า อะไรคือประโยชนข์องท่าทีหรือหัวใจที่ยอมจา นน * หัวใจที่ยอมจ านน จะเผชิญหน้ากับความคิดที่เป็นบาป และธรรมชาติบาปของเรา โรม 8:7 * หัวใจที่ยอมจ านน จะท าให้เราถ่อมลง และจะท าลายความหยิ่งออกไป 1 เปโตร 5:5
หน้าที่ 12 (การสร้างสาวก) * หัวใจที่ยอมจ านน จะฝึกลิ้นของเราให้เชื่อง และจะเปิดหูของเราออก อิสยาห์ 50:4 ค. การรับใช้ เราสามารถส าแดงความรัก และการยอมจ านนของเรา ต่อครอบครัวฝ่ายวิญญาณ ได้อย่างชัดเจน มากที่สุด ด้วยวิธีการที่เรารับใช้ เรารับใช้ด้วยสิ่งต่อไปนีข้องเรา * เวลา การแสดงออกที่ชัดเจนมากที่สุด ของการเป็นส่วนหนึ่งของครอบครัวฝ่ายวิญญาณ ก็คือ ความ เต็มใจของเรา ที่จะเข้าร่วมในกิจกรรมต่างๆ ในครอบครัว ค าว่า ความรัก มักจะถูกสะกดแบบนี้ คือ “ เ -ว – ล - า“ สิ่งนี้ท าให้คุณต้องให้เวลาของคุณ แก่ผู้คน และความจ าเป็นที่เป็นรูปธรรม * ทรัพย์สมบัติการใช้เงินของเราเพื่อสิ่งใดนั้น บ่งถึงว่า หัวใจของเราอยู่ที่ไหน พระคัมภีร์ได้สอนเราว่า พระเจ้าคาดหวังให้คุณ ถวายสิบลด (1 ใน 10 ของรายได้ของคุณ) ให้แก่คริสตจักรของคุณ เพื่อ สนับสนุนผู้รับใช้และงานของพระเจ้า นอกเหนือจากสิบลดของคุณแล้ว พระคัมภีร์ยังหนุนใจคุณ ให้ ถวาย “เงินถวาย” เพื่อความจ าเป็นพิเศษ และโอกาสต่างๆ ในงานรับใช้ * ของประทาน พระเจ้าได้ให้เราแต่ละคน มีของประทานและความสามารถที่ส าคัญ ซึ่งจ าเป็นต่อ คริสตจักรของพระองค์ เพื่อท าให้พระมหาบัญชาส าเร็จ 1เปโตร 4:10 จงจ าไว้ว่า กุญแจดอกหนึ่งของการเป็นสาวก ก็คือ การมีเจ้านาย เราสามารถถามค าถามเหล่านี้ ได้ “พระเยซูเป็นเจ้านายเหนือเวลาของฉันไหม พระเยซูเป็นเจ้านายเหนือทรัพย์สมบัติของฉันไหม พระ เยซูเป็นเจ้านายเหนือความสามารถของฉันไหม ทุกอย่างอยู่ภายใต้การควบคุมของพระองค์ หรือฉัน” ง. การออกไปหาผู้คน คริสตจักรเป็นองค์กรหนึ่ง ที่ด ารงอยู่เพื่อคนที่ยังไม่ได้เป็นสมาชิก ความจริงก็คือ ครอบครัวที่มีสุขภาพ ดีนั้น จะมีความสามารถในการให้ก าเนิดบุตร เมื่อเรามีความคิดเช่นนี้แล้ว เราจึงมอบหมายให้สมาชิก ทุกคน ท าสิ่งต่อไปนี้ * การต้อนรับแขก ให้เป็นแบบอย่าง การต้อนรับแขก เป็นขั้นตอนแรกของการประกาศ เราได้กล่าวถึงเรื่องนี้ด้วย ในวิชาครอบครัว คริส เตียน คริสเตียนต้องพัฒนาวิถีชีวิตที่มีคนอื่นรวมอยู่ด้วย * การสร้างสาวก สมาชิกทุกคน สร้างสาวกจากขอบข่ายของคนที่พวกเขามีความสัมพันธ์ด้วย สรุป สดุดี 68:6 พระเจ้าเตรียมบ้านที่ดีเลิศ และอนาคตที่เจริญรุ่งเรืองไว้ให้แก่ผู้คน ซึ่งถ่อมตัวลง และ เข้าร่วมในบ้านฝ่ายวิญญาณ สถานที่เพื่อการเลี้ยงดู และการเกิดผล ก็คือ ครอบคัวฝ่ายวิญญาณ ดังนั้น เราต้องตัดสินใจว่า เราต้องการที่จะเข้าร่วมอย่างเต็มที่ ในครอบคัว และพระกายของพระคริสต์ หรือไม่ * ฉันจะยอมจ านน ต่อผู้คน วัตถุประสงค์ และเส้นทางของคริสตจักรของฉันหรือไม่ * ฉันจะทา ตามผนู้ าของฉัน เมื่อเขาทา ตามพระคริสตห์รือไม่
หน้าที่ 13 (การสร้างสาวก) * ฉันจะรับใช้ด้วย เวลา ทรัพย์สมบัติ และของประทาน ของฉันหรือไม่ * ฉันจะเข้าถึงคนอื่น โดยการเป็นแบบอย่างในการต้อนรับแขก และการสร้างสาวก หรือไม่ * ฉันจะทา สิ่งเหล่านี้ในระยะยาวหรือไม่ “เป้าหมายที่ถูกตั้งขึ้นมาอย่างผิวเผิน และขากการเอาใจใส่ ก็จะถูกล้มเลิกไป ตั้งแต่มีอุปสรรคครั้ง แรก” ความสัมพันธ์ กับคนหลงหาย การเป็นสาวก คือ การทรงเรียกให้ติดตามพระคริสต์ การทรงเรียกให้เข้าสู่ครอบครัวฝ่ายวิญญาณ และการทรงเรียกให้จับคนเหมือนอย่างจับปลา ทั้ง 3 ส่วนประกอบนี้ จะต้องมีอยู่ในส่วนประกอบของ สาวกที่มีสุขภาพดี ซึ่ง ได้แก่ การรักพระเจ้า, การรักซึ่งกันและกัน, (พระมหาบัญญัติ) และการรักคน หลงหาย (พระมหาบัญชา) ต่อไปนี้ คือ ความสัมพันธ์ระหว่าง สาวก กับการเป็นสาวก 1. ความสัมพันธ์ระหว่าง การติดตามพระเจ้า กับ การออกไปหาคนหลงหายนั้น ไม่สามารถแยก จากกันได้ 2. ในการสร้างสาวกที่เข้มแข็งนั้น เราจะต้องคาดหวังว่า คนที่เราก าลังสร้างอยู่นั้น จะออกไป สร้างคนอื่นให้เป็นสาวกด้วย 2 ทิโมธี2:2 3. เมื่อพระเยซูบอกผู้ติดตามของพระองค์ ให้สร้างสาวกนั้น พระองค์ก าลังบอกพวกเขาให้ ออกไปหาคนหลงหาย ไม่ใช่ออกไปช่วยผู้ติดตามคนอื่นๆ ให้กลายเป็น ผู้ติดตามที่ดีกว่าเดิม การเป็นสาวกตามหลักพระคัมภีร์นั้นเริ่มต้น และจบลงด้วย การประกาศข่าวประเสริฐ วิธีการสร้างสาวก ค าน า ฤทธิ์เดชและรูปแบบ 1. พระคมัภีรไ์ดส้อนเราเรื่อง หลกัการของ ฤทธิ์เดชและรูปแบบ 2ทิโมธี3:5 พระเยซูได้ใช้ตัวอย่างเรื่อง น ้าองุ่น และถุงหนัง เพื่อแสดงให้เราเห็น หลักการนี้ ลูกา 5:37-38 * รูปแบบ หรือวิธีการ ถา้ไมม่ ีฤทธิ์เดช ก็เป็นแค่ ประเพณีหรือการกระทา ทางศาสนา ที่ตาย แล้ว 2. ฤทธิ์เดชเป็นสิ่งที่อย่ภูายใน รูปแบบเป็นสิ่งที่อย่ภูายนอก * ฤทธิ์เดช เป็นตวัแทนของสิ่งที่ เราต้องการท าให้ส าเร็จ รูปแบบเป็นตัวแทนของ วิธีการ ที่เรา จะท าให้ส าเร็จ * ฤทธิ์เดช เริ่มตน้มาจาก พระวิญญาณบริสทุธิ์รูปแบบเริ่มตน้มาจาก การตอบสนองของ มนุษย์
หน้าที่ 14 (การสร้างสาวก) 3. เราต้องมีภาชนะในฝ่ายวัตถุ หรือโครงสร้าง เพื่อบรรจฤุทธิ์เดชที่เหนือธรรมชาติและการทรง สถิตของพระเจ้า * ภาชนะบรรจุเหล่านี้ ก็คือ ผู้คน ( 1 โครินธ์ 3:16) * ภาชนะบรรจุเหล่านี้ ยังหมายถึง แผนต่างๆ รวมทั้งวิธีการ และวัสดุอุปกรณ์ (กิจการ 17:2) อ.เปาโลมีแผนการในการประกาศข่าวประเสริฐ รูปแบบนั้นคือ ยุทธวิธีที่มีประสิทธิภาพในการ ประกาศข่าวประเสริฐ 4. พระคมัภีร์ใหค้วามสา คญัแก่ฤทธิ์เดช มากกวา่รูปแบบ * พระเจ้าสนใจ ทั้งแรงจูงใจ และการแสดงออกภายนอก (ลูกา 11:42) * อย่างไรก็ตาม ท่าทีภายใน ก็เป็นตัวก าหนด การกระท าภายนอก (มัทธิว 12:34) 1 โครินธ์ 2:4-5 ถา้ไม่มีฤทธิ์เดชของพระเจ้า นอกจาก ความพยายามของเราจะไร้ผลแล้ว มันยัง ท างานเพื่อต่อต้านการถวายเกียรติแด่พระเจ้าอีกด้วย คณุลกัษณะภายใน เป็นฤทธิ์เดช ที่ก่อใหเ้กิด การกระทา ภายนอก การที่เราจะมีการ เปลี่ยนแปลงในการกระท าภายนอกอย่างถาวรได้นั้น เราจ าเป็นต้องเปลี่ยนท่าที และคุณลักษณะ ภายในเสียก่อน พระเยซูไดป้ระยกุตห์ลกัการของ ฤทธิ์เดชและรูปแบบ ใหเ้ขา้กบัเรื่อง ศีลธรรมดว้ยเช่นกนั เมื่อพระองค์ตรัสเกี่ยวกับ ราคะตัณหาในใจ และการล่วงประเวณีภายนอก แม้ว่าทั้ง 2 อย่างนี้ ต่าง ก็เป็นความบาป แต่การกระท าภายนอก ก็เกิดมาจากหัวใจของเรา มัทธิว 5:28 5. ถ้าไม่มีรูปแบบ ฤทธิ์เดชก็ไม่สามารถถกูถ่ายทอดได้ ถา้ไม่มีสายไฟ กระแสไฟฟ้าก็ไม่สามารถถกูส่งไปยงัเครื่องใชไ้ฟฟ้าได้เช่นเดียวกนัฤทธิ์เดช ของการเป็นสาวก ก็จ าเป็นต้องมีรูปแบบเพื่อถา่ยทอดฤทธิ์เดช จากคนรุน่หนึ่งไปยงัคนรุน่ ต่อไป รูปแบบชว่ยทา ใหฤ้ทธิ์เดชถกูถ่ายทอดออกมาได้ 6. ถา้ไม่มีฤทธิ์เดช รูปแบบก็ไม่มีประโยชน์ เช่นเดียวกบัที่ฤทธิ์เดชจะไม่ถกูถ่ายทอด ถา้ไม่มีรูปแบบ รูปแบบที่ไม่มีฤทธิ์เดชก็ไมม่ ี ประโยชน์ เช่นกัน หลอดไฟที่ไม่มีกระแสไฟฟ้า ก็ไม่มีประโยชน์ 2 ทิโมธี 3:5 อ.เปาโลได้ เตือนสติทิโมธีเก่ียวกบัคนที่ภายนอกดเูป็นคนบริสทุธิ์แต่ไม่มีฤทธิ์เดชฝ่ายวิญญาณ คน เหล่านี้ไม่มีอะไรเลย นอกจากประเพณีทางศาสนาที่ว่างเปล่า จุดที่ส าคัญมาก ก็คือว่า อ. เปาโลได้สอนทิโมธีให้หลีกเลี่ยงคนประเภทนี้เป็นพิเศษ 7. พระเจา้ออกแบบใหฤ้ทธิ์เดชของพระองค์ทา งานรว่มกบัแผนการ หรือความพยายามของ มนุษย์ 1โครินธ์15:10
หน้าที่ 15 (การสร้างสาวก) คริสเตียนบางคนเน้นหนักที่ การท างานหรือแผนการของเรา ในขณะที่คริสเตียนคนอื่นๆ เนน้หนกัที่ฤทธิ์เดชของพระเจา้ ในพระคมัภีรต์อนนี้เราเห็นว่า มมุมองแบบผใู้หญ่ฝ่าย วิญญาณ ก็คือ การมองเห็นความจ าเป็นของทั้งความพยายามของเรา และ พระคุณของพระ เจ้า “แม้แต่ นักรบที่มีความสามารถที่สุด ก็ยังจ าเป็นต้องมี ดาบ” เราทุแคนจ าเป็นต้องมีเครื่องมือ หรือรูปแบบการคิดถึงรูปแบบต่างๆ ในฐานะเป็นบันไดน าสู่เป้าหมายนั้น เป็นสิ่งที่มีประโยชน์ รูปแบบเป็นสิ่งที่จ าเป็น แต่ไม่ใช่สิ่งถาวร สิ่งที่เกิดขึ้นในชีวิตของผู้คนต่างหาก ที่คงอยู่ถาวร 8. รูปแบบบางอย่าง สา แดงฤทธิ์เดชของพระเจา้ไดด้ีกว่ารูปแบบอื่น เป้าหมายของรูปแบบ เมื่อเราติดตามพระคริสต์ ก็คือ เพื่อส าแดงถึงการทรงสถิตของพระเจ้า 2 โครินธ์ 4:7, มัทธิว 5:15-16 พระเยซูก าลังบอกว่า เราต้องออกแบบรูปแบบของเราเพื่อ ส าแดงพระสิริของพระเจ้า เราต้องการสร้างคนประเภทนี้ให้เติบโตขึ้น และใช้แผนการต่างๆ ที่ ส าแดงแสงสว่างของพระเจ้า จากพระคัมภีร์ 2 ตอนนี้ เราเห็นว่าทั้ง 2 รูปแบบนี้ ท าให้ผู้คนหลง ทางออกไป จากการเห็นแสงสว่างของพระเจ้า * รูปแบบที่สะดุดตา และเร้าใจจะดึงดูดความสนใจเข้าสู่ตัวของพวกมันเอง โอ่งที่ใส่ดินเหนียว นั้นไม่น่าดูเลย เมื่อมองจากภายนอก สิ่งของที่ส่องประกายจากข้างนอกนั้นจะดึงความสนใจ ของคนไปจากสิ่งที่อยู่ข้างใน * รูปแบบที่ไม่น่าดู และไม่มีระเบียบ จะท าลายความดีเลิศ และความสวยงามของพระเจ้า แสงสว่างที่ถูกตั้งไว้บนที่ตั้งนั้น ย่อมมีความส าคัญ “ความดีเลิศนั้น จะถวายเกียรติแด่พระเจ้า และสร้างแรงบันดาลใจให้ผู้คน” 9. หลกัการของ ฤทธิ์เดช และรูปแบบ เป็นสิ่งพืน้ฐาน สา หรบัการสรา้งสาวก ที่มีประสิทธิภาพ * วิธี หรือวัสดุอุปกรณ์ใดๆ ที่เราใช้นั้น เป็นรูปแบบภายนอก หรือ “ขั้นตอน” ของการสร้างสาวก * สิ่งที่เรากา ลงัพยายามทา ใหส้า เร็จนนั้เปรียบเหมือน เป้าหมาย หรือ ฤทธิ์เดชทอี่ย่ภูายใน ของการเป็นสาวก มีหลายวิธี ที่สามารถท าเป้าหมายของการเป็นสาวกให้ส าเร็จได้ ดังนั้น ก่อนที่เราจะมองดูที่วิธี ที่เฉพาะเจาะจง (รูปแบบภายนอก) ของกระบวนการ การสร้างสาวก เราต้องเข้าใจเป้าหมาย หลกัเสียก่อน (ฤทธิ์เดชภายใน) ฤทธิ์เดชของการสร้างสาวก : วงล้อของการสร้างสาวก ถ้าการทรงเรียกแรก ที่มีต่อคริสเตียน คือ เพื่อให้เราออกไปสร้างสาวก การทรงเรียกนี้ มี ลักษณะอย่างไร ให้เรามาพิจารณาวงล้อ ที่อธิบายถึงความหมายของ สาวก 1. ดุมล้อ หรือศูนย์กลางของวงล้อ ก็คือ ความรอด และความเป็นเจ้านายของพระคริสต์
หน้าที่ 16 (การสร้างสาวก) 1 โครินธ์ 13:11เราวางรากฐานนี้ผ่านทางความเป็นเจ้านาย การกลับใจใหม่ การให้อภัย การบพัติศมาในนา ้และการบพัติศมาในพระวิญญาณบริสทุธิ์ฮีบรู 6:1-2 ปรากฏอยู่ใน วิชา รากฐานแห่งความเชื่อ, วิชาผู้ถูกสร้างใหม่, วิชาโลหิตแห่งพันธสัญญา ฯลฯ หัวใจ หลัก ก็คือ เราเป็นใครในพระคริสต์ และพระคริสต์เป็นใครในเรา 2. ขอบข้างนอกของวงล้อ ก็คือ ความสัมพันธ์ที่เราก าลังพูดถึง ได้แก่ ความรักต่อพระเจ้า ความรักต่อครอบครัวฝ่ายวิญญาณของเรา และความรักต่อคนในโลกนี้ มัทธิว 22:37-40 พระมหาบัญญัติ คือเป้าหมายของการสร้างสาวก * เรารักพระเจ้า เป็นอันดับแรก และรักมากที่สุด เราจะท าให้ความสัมพันธ์นี้แข็งแรง เพิ่มขึ้นได้ ด้วยการอธิษฐาน การอ่านพระคัมภีร์ และการเชื่อฟัง * หลังจากนั้น เราก็ส าแดงความรักของเรา ต่อครอบครัวฝ่ายวิญญาณ ยอห์น 13:35 สัญลักษณ์ของสาวกที่รักพระเจ้า ก็คือ สาวกที่มีความสัมพันธ์ที่ถูกต้องกับ ครอบครัวของตนเอง เราส าแดงสิ่งนี้ โดยการลงทุนในผู้คน และในวัตถุประสงค์ของคริสต จักร ด้วย เวลา ทรัพย์สมบัติ และของประทานของเรา * พระเจ้าทรงบัญชาให้เรา ออกไปหาคนในโลกนี้ มาระโก 16:15 การต้อนรับแขก และการอธิษฐาน เป็นการวางรากฐาน ส าหรับประกาศใน กลุ่มเป้าหมาย และในโอกาสต่างๆ 3. ซี่ล้อ คือสิ่งที่น าเอาคุณค่าหลักออกมาสู่ขอบนอก ที่นี่ เรามี ความจริง การกลับใจใหม่ และความเชื่อ เราส่งรูปแบบทั้งหมดของเรา (กิจกรรม, แผน, ความพยายาม) มุ่งตรงเข้าสู่ การเพิ่มแบบทวีคูณของสาวกประเภทนี้ ซี่ล้อเหล่านี้ เป็นกุญแจสู่การสร้างความสัมพันธ์ เล่านั้นที่ขอบนอก ซึ่งเป็นที่ที่เราต้องด าเนินชีวิตออกมาให้คนอื่นเห็น * การเป็นสาวก เริ่มต้นด้วย ความจริง เสมอ เอเฟซัส 4:15, ยอห์น 8:31-32 เราต่อต้านค าโกหก และเราเติบโตขึ้นในความ จริง ผ่านทาง ความสมัพนัธพ์ระวจนะ และพระวญิญาณบริสทุธิ์ เราก าลังพูดถึง ความถ่อมใจและความเชื่อ ที่ยอมให้พระวิญญาณของพระเจ้า สอนหัวใจของเรา ไม่ใช่สอนเพียงแค่ความคิดของเราเท่านั้น เราจะเห็นได้อย่างชัดเจนที่นี่ ว่า เราจ าเป็นต้องพูดความจริงต่อซึ่งกันและกันด้วย เราเป็นเหล็กที่ลับเหล็กได้ สุภาษิต 27:17 2 ทิโมธี 3:16 การตักเตือนกัน คือการสอนแบบเผชิญหน้า (1 ต่อ 1) เมื่อเกิด ความผิดพลาด หรือ ความล้มเหลว ที่จ าเป็นจะต้องรับการเปลี่ยนแปลง เราจ าเป็นต้องสามารถ ยอมรับการตักเตือนตามหลักการของพระคัมภีร์ จากซึ่ง กันและกันได้
หน้าที่ 17 (การสร้างสาวก) เราจ าเป็นต้องกล้าตักเตือนตามหลักการของพระคัมภีร์ แก่ซึ่งกันและกัน นี่แหละ คือวิธีการที่เราเติบโตขึ้น เราจะเติบโตโดยไม่มีสิ่งนี้ไม่ได้ สิ่งนี้น าชีวิตให้ เกิดขึ้น สุภาษิต 6:23 * การกลับใจใหม่ เป็นการตอบสนองที่ถูกต้องเพียงอย่างเดียว ต่อความจริง ค าภาษากรีก ส าหรับค าว่าสาวก คือ มันทาโน่ หมายถึง “การได้เรียนรู้สิ่งใดๆ และเข้าใจสิ่งนั้น” หนังสืออธิบายพระคัมภีร์ฉบับ เล็กซิคอน ให้ความหมายว่า ถ้าเราอยาก มีความสัมพันธ์กับพระองค์ เราก็ต้องรู้จักพระองค์ และการรู้จักพระองค์ ก็คือ การรู้จักค า สอนของพระองค์ และมีชีวิตอยู่โดยค าสอนนั้น สาวก คือ ผู้ประยุกต์ความจริงให้เข้ากับทุกเรื่อง โดยการหันจากความบาป และค าโกหก แล้วเชื่อฟังความจริง การกลับใจใหม่ คือการยอมรับความจริงของพระเจ้าจากภายใน แล้วแสดงออกมา ภายนอกเป็นการตั้งใจเชื่อฟังความจริงนั้น * ความเชื่อ เป็นทางเดียวเท่านั้นที่จะท าให้เรากลับใจใหม่ได้ส าเร็จ ความจริงและการกลับใจใหม่ ยังไม่เพียงพอในการสร้างสาวก ถ้ามีแค่ 2 อย่างนี้ เท่านั้น เรื่อง คริสเตียนก็คล้ายๆ กับศาสนาอื่นๆ แต่ความเชื่อ คือสิ่งที่ท าให้เราเป็น มากกว่าการนับถือศาสนา สิ่งที่ความเชื่อท า มีดังต่อไปนี้ * ความเชื่อ น าเราสู่เสรีภาพจากความบาปและการถูกผูกมัด กาลาเทีย 5:1 * ความเชื่อ น าเราสู่ชัยชนะเหนือความบาป 1 ยอห์น 5:4 * ความเชื่อ น าเราสู่ชีวิตที่เกิดผล 1 ทิโมธี 6:12 * ความเชื่อ น าเราสู่ความมั่นใจ เอเฟซัส 3:12 สรุป เราเติบโตในพระคริสต์ โดยการได้ยินความจริง , การหันเข้าหาความจริงนั้นด้วยการ กลับใจใหม่ และการเดินตามความจริงในความเชื่อ, การเข้าใจวงล้อของการสร้างสาวก นั้น จะท าให้เป้าหมายของการสร้างสาวกชัดเจนขึ้น มันท าให้เราสามารถเห็นวิธีที่จะ ปรับปรุงรูปแบบ และกิจกรรมต่างๆ ของเรา 2 เปโตร 1:5-8 ในขอบด้านนี้ เราสร้าง วิชาบุคลิกภาพคริสเตียน วิชาผลของ พระวิญญาณ และวิชาความเป็นผู้น าของผู้รับใช้ ฯลฯ กระบวนการ ของการสร้างสาวก (รูปแบบ) เส้นทางการสร้างสาวก หรือ “วิธีการสู่...” เป็นวิธีการที่เราแสวงหา เพื่อท าให้เป็นเป้าหมายในการ สร้างสาวกของเราส าเร็จ ในการที่เราจะท าได้เช่นนี้ เราต้องท าตามรูปแบบพื้นฐาน ต่อไปนี้
หน้าที่ 18 (การสร้างสาวก) กระบวนการ เครื่องมือ / อุปกรณ์ 1. ประกาศ กับคนหลงหาย วิชาการประกาศ และวิชาพันธกิจโลก 2. สร้าง ผู้เชื่อใหม่ ให้ตั้งมั่นคง วิชารากฐานแห่งความเชื่อ, วชิาพระวญิญาณบรสิทุธิ์ วิชาผถู้กูสรา้งใหม่, วชิาฤทธิ์เดชแห่งการอธิษฐาน วิชาการแสวงหาพระเจ้า, วิชาชีวิตแห่งชัยชนะ * ในความเชื่อ วิชาหลักการแห่งความเชื่อ, วิชาการรักษาของพระเจ้า * ในพระวจนะ วิชาฤทธิ์เดชแห่งพระวจนะ, วชิาโลหิตแห่งพันธสัญญา * ในคริสตจักร วิชาหัวใจผู้รับใช้, วิชาการเงินตามหลักพระคัมภีร์ 3. เตรียมชีวิต สู่การรับใช้ วิชาการพัฒนาบุคลิกภาพ, วิชาสิทธิอ านาจของผู้เชื่อ วิชาครอบครัวคริสเตียน, วิชาพันธกิจเด็ก วิชาของประทาน 5 อย่าง 4. เสริมก าลัง เพื่อสร้างสาวก วิชาการสร้างสาวก, วิชาพันธกิจโลก, วิชาการประกาศ 1. การสร้างผู้เชื่อใหม่ให้ตั้งม่ันคง พระเยซูคาดหวังให้เรา ไป และเกิดผล และผลนั้นจะยังคงอยู่ (ยอห์น 15:16) แต่ความเป็นจริงบอกเราว่า ผลมาก จะไม่คงอยู่ อะไรคือหลักการที่จะท าให้เราสามารถเกิดผล โดยที่ผลนั้นจะยังคงอยู่ได้ ก. ท าไมผลบางส่วน จึงคงอยู่ไม่ได้ ค าอุปมาเรื่องดิน ใน มทัธิว บทที่13 ได้บอกเหตุผลต่างๆ ว่า ท าไมผลบางส่วนจึงคงอยู่ไม่ได้ 1) บางคนได้ยินพระวจนะของพระเจ้า แต่ไม่เข้าใจ (ข้อ19) * นี่เป็นสาเหตุว่า ท าไมการติดตามผลส่วนตัวแบบทันที จึงส าคัญอย่างยิ่ง ซาตานจะพยายาม ขโมยเมล็ดทันทีที่มันถูกหว่านลงไป เราจ าเป็นต้องเข้าไปหาสาวกคนใหม่ให้เร็วกว่าซาตาน * ในการประชุมครั้งแรกๆ ของเรา จงมอบความจริงให้แก่พวกเขา เพื่อความจริงจะท าให้พวกเขา สามารถต่อต้านค าโกหกของศัตรูได้ เมื่อพวกเขาเข้าใจ ถึงวิธีที่ศัตรูจะใช้เพื่อพยายามขโมยความ เชื่อ และความเชื่อฟังของพวกเขาไป และสิ่งที่ความจริงเอาชนะค าโกหกเหล่านั้นได้ ก็จะถูกตั้ง มั่นคงขึ้นในความเชื่อใหม่ของพวกเขา * สอนพวกเขาถึงวิธีที่จะเลี้ยงดูตัวเอง ด้วยพระวจนะของพระเจ้า 2) บางคนได้ยินพระวจนะของพระเจ้า แต่พวกเขา ยังไม่ได้กลับใจจากความบาป พื้นหินเป็นสิ่งที่ เหลืออยู่ในดิน จากอดีต ซึ่งจ าเป็นที่จะต้องถูกก าจัดออกไป (ข้อ 20-21)
หน้าที่ 19 (การสร้างสาวก) * ถ้าไม่มีการกลับใจใหม่ ความจริงก็ไม่สามารถหยั่งรากลึกลงได้ การมีแค่ความชื่นชมยินดี เหนือ การให้อภัยยังไม่เพียงพอ สิ่งนี้จะไม่คงอยู่เมื่อเกิดความยากล าบากในการด าเนินชีวิต * ถ้าคนๆ หนึ่งยังคงรักความบาปของเขาอยู่ พวกเขาจะไม่สามารถทนต่อความเจ็บปวด หรือการ ถูกข่มเหงได้ พวกเขาจะละทิ้งพระเจ้าและหันกลับไปหา “เพื่อนเก่า” ของพวกเขา * ความจริงจะสามารถหยั่งรากลึก ลงในชีวิตขนองคนๆ หนึ่งได้ ก็ต่อเมื่อ เขากลับใจใหม่จากความ บาปเท่านั้น 3) บางคนได้ยินพระวจนะของพระเจ้า แต่กังวลในชีวิต ได้รัดพระวจนะนั้นเสีย (ข้อ 22) * พวกเขาได้เข้าใจความจริง และกลับใจใหม่ แต่ไม่มีความเชื่อ ท าให้ความกังวลรัดชีวิตฝ่าย วิญญาณของพวกเขา ผู้เชื่อใหม่ชอบมองไปที่ “ความร ่ารวย” หรือ “สิ่งอื่นๆ “ เพื่อหาความ ช่วยเหลือ และการบรรเทาทุกข์ การมีความร ่ารวย หรือการมีสิ่งอื่นๆ นั้น ไม่ใช่ปัญหา ถ้าหากเรา ไม่ได้วางใจในสิ่งเหล่านั้นแทนพระเจ้า แต่การวางใจในสิ่งเหล่านั้น จะกลายเป็นรูปเคารพ และมัน จะท าให้เรา ใช้ความเชื่อ และความไว้วางใจอย่างไม่ถูกต้อง * ความกังวล เป็นสัญญาณว่า ผู้เชื่อใหม่ไม่รู้วิธีที่จะไว้วางใจในพระเจ้าในชีวิตประจ าวัน เรา จ าเป็นต้องสอนพวกเขา ถึงวิธีที่จะได้รับความช่วยเหลือในพระเยซู * สาวกคนใหม่ ต้องเข้าใจหน้าที่ของพวกเขาในการติดตามพระเยซู (การกลับใจใหม่ และการเชื่อ ฟัง) และพวกเขาตอ้งเขา้ใจหนา้ที่ของพระเจา้ดว้ย (ความรกั, ฤทธิ์เดช และความสตัยซ์ื่อของ พระองค์) ฟิ ลิปปี4:6-7 สรุป เราจ าเป็นต้องสร้างความเชื่อ และรากฐานที่แข็งแรงในตัวผู้เชื่อใหม่ เพื่อที่พวกเขาจะ สามารถรู้จักความจริงหันออกมาจากความบาป พัฒนาความไว้วางใจที่เป็นรูปธรรม และพัฒนา ความเชื่อส่วนตัวในพระเจ้า 2. สิ่งสา คัญ 3 ประการ เพื่อการมีผลที่คงอยู่ การ “ตั้งให้ม่ันคง” หมายถึง การท าให้อยู่อย่างถาวร ถ้าผู้เชื่อใหม่ต้องประสบความส าเร็จในชีวิตคริสเตียน มีอยู่ 3 ด้าน ที่เขาจ าเป็นต้องถูกตั้งให้มั่นคง หรืออยู่อย่างถาวร แต่ถ้า 1 ใน 3 ด้านนี้ ไม่ได้ถูกตั้งให้มั่นคง แล้วผู้เชื่อใหม่ก็จะคงอยู่ได้ไม่ถาวร ก. ตั้งผู้เชื่อใหม่ให้มั่นคงในความเชื่อ การแค่น าคนๆ หนึ่งอธิษฐานรับเชื่อนั้น ยังไม่เพียงพอ ถ้าเราต้องการช่วยตั้งผู้เชื่อใหม่ให้มั่นคงในความ เชื่อ เราต้องสอน และท าตามรากฐานแห่งความเชื่อ ต่อไปนี้ * การกลับใจใหม่ : คือ การตัดสินใจครั้งเดียว และเป็นรูปแบบชีวิตตลอดไป * การบัพติศมาในน ้า : คือ การจัดงานศพให้แก่มนุษย์ตัวเก่า และการอุทิศถวายเด็กที่เกิดใหม่ * การให้อภัย : คือ การมองไปที่พระเมตตาของพระเจ้า ไม่ใช่การกระท า หรือความดีของเรา
หน้าที่ 20 (การสร้างสาวก) * การบพัติศมาในพระวิญญาณบริสทุธิ์: คือ ฤทธิ์เดช หรือความสามารถที่จะท าให้การกลับใจใหม่ของ เราส าเร็จ ข. ตั้งผู้เชื่อใหม่ให้มั่นคงในพระวจนะ ไม่มีอะไรที่ส าคัญต่อชีวิตของสาวกมากไปกว่าพระวจนะของพระเจ้า ผู้เชื่อจะถูกตั้งมั่นในพระวจนะ ด้วยวิธีต่อไปนี้ * ได้ยินการเทศนาพระวจนะ จากการเข้าร่วมนมัสการ, การฟังเทป, การฟังในอินเตอร์เน็ต ฯลฯ * อ่านพระคัมภีร์ทุกวัน เริ่มนิสัยใหม่เพื่อสร้างความสัมพันธ์กับพระเจ้า * ศึกษาพระคัมภีร์เพื่อเพิ่มพูนความรู้ในพระคัมภีร์ และเติบโตขึ้น * ใคร่ครวญพระวจนะอยู่ในพระวจนะ และท่องจ าเพื่อจะได้รับการเติมเต็ม * อธิษฐานตามพระสัญญาในพระคัมภีร์รับเข้ามาเป็นตนเอง และด าเนินชีวิตตามนั้น * พูดตามพระคัมภีร์ความเชื่อเกิดขึ้นได้จากการได้ยิน และสิ่งที่ยิ่งใหญ่จะเกิดขึ้น * เชื่อฟังพระคัมภีร์ พวกเขาจ าเป็นต้องเป็นผู้กระท าตาม ไม่ใช่เป็นเพียงแค่ผู้ฟังเท่านั้น * แบ่งปันพระคัมภีร์ถ้าพวกเขาได้รับการเติมเต็ม พวกเขาก็ควรจะให้แก่คนอื่นด้วย ค. ตั้งผู้เชื่อใหม่ให้มั่นคงในคริสตจักร ถ้าเราต้องการให้ผู้เชื่อใหม่ประสบความส าเร็จ เราจ าเป็นต้องช่วยพวกเขาให้ค้นพบสถานที่ของพวก เขาในครอบครัวของพระเจ้า ไม่มีใครสามารถเดินคนเดียวได้ เราเป็นครอบครัว เป็นกลุ่มชน และเป็น พระกายเดียวกัน เราจ าเป็นต้องมีกันและกัน * สิ่งนี้สามารถเกิดขึ้นได้ ในแบบ 1ต่อ1, ในกลุ่มย่อย ในกลุ่มศึกษาพระคัมภีร์ กลุ่มประชุมอธิษฐาน กลุ่มนมัสการวันอาทิตย์ฯลฯ วิธีเริ่มต้นกลุ่มเป้าหมาย (ที่เราจะประกาศดว้ย) ยุทธวิธีของเราในการสร้างสาวกนั้น มีพื้นฐานอยู่ใน เอเฟซัส 4:2 เป็นเวลานานเกินไปแล้ว ที่คริสตจักรได้ท าตามต้นแบบธุรกิจของชาวตะวันตก ส าหรับการเป็นผู้น า และ การรับใช้ แทนที่จะท าตามต้นแบบที่แท้จริงในพระคัมภีร์ ผลลัพธ์ก็คือ สาวกเกิดความเบื่อหน่าย ศิษยาภิบาล และ ผู้น าเหน็ดเหนื่อยเพราะต้องท างานหนักเกินไป คริสตจักรไม่สามรถบุกเบิกคริสตจักรใหม่ได้ เพราะว่า เราไม่ได้ท า ตามหลักการของพระคัมภีร์
หน้าที่ 21 (การสร้างสาวก) เอเฟซัส บทที่4 ได้บอกเราว่า พระเจ้าได้ประทานผู้น าเข้ามาเพื่อ “เตรียมธรรมิกชนให้เป็นคนที่จะรับใช้” ผู้น าจะเข้าไปหาคนหลงหาย ประกาศให้รับเชื่อ สร้างให้เป็นสาวก และท าให้พวกเขาเติบโตขึ้นเป็นผู้น า นี่คือ ต้นแบบในพระคัมภีร์ใหม่ พระเยซูเตรียมชีวิตของสาวก 12 คน มอบงานให้แก่พวกเขา และละพวกเขาไว้ให้ รับผิดชอบงานในโลกนี้ ถ้าเราท าตามรูปแบบเดียวกัน เราก็จะได้เห็นผลลัพธ์แบบเดียวกันด้วย 1. เอเฟซัส 4:12 ได้บอกแก่เราว่า ยุทธศาสตรน์ ั้น ถูกสร้างขนึ้บนความเชื่อม่นัสา คัญ 5 ประการ ก. คริสตจักรทุกแห่งควรเติบโตขึ้น ในด้านสุขภาพ ปริมาณ และอิทธิพล กิจการ 19:20 ข. สาวกทุกคนควรสร้างสาวก มัทธิว 28:18-20 พระเจ้าไม่เคยบอกให้เรา สร้างหรือท าให้คริสตจักรของเราเติบโต พระองค์เป็นผู้กระท าเองในส่วนนี้ (มัทธิว 16:18) พระองค์บอกให้เราสร้างสาวก *พระเจ้าได้เจิมผู้เชื่อทุกคนเพื่อท าพันธกิจของพระองค์ กิจการ 2:17-18, 2 โครินธ์ 5:17-20 ค. กลุ่มย่อยเป็นแกนหลัก หรือเป็นนิวเคลียส (หัวใจ) ของการสร้างสาวก * พระเยซูรับใช้กับ รายบุคคล เช่น นาธานาเอล นิโคเดมัส หญิงชาวสะมาเรีย ฯลฯ * พระเยซูรับใช้กับ กลุ่มคนจ านวนมาก จากรูปแบบ 1ต่อ1 จนถึง การพบปะคนจ านวนมากนั้น มันเกิดจากความสัมพันธ์ และการเป็นสาวก ซึ่ง เกิดขึ้นในกลุ่มย่อย ยิ่งพระเยซูลงทุนชีวิตในสาวก 12 คนมากเท่าไหร่ จ านวนคนที่ติดตามพระองค์ยิ่ง มากขึ้นเท่านั้น และยิ่งจ านวนคนเพิ่มขึ้นมากเท่าไหร่ พระเยซูก็ยิ่งลงทุนชีวิตในสาวก 12 คนมากขึ้น เท่านั้น * พระเยซูใช้กลุ่มย่อยของพระองค์ ทั้งเพื่อการประกาศ และการพัฒนาผู้น า พระองค์รับประทาน อาหารในบ้านของพวกเขา แบ่งปันความรอดกับเพื่อนของพวกเขาที่ยังไม่เชื่อ ท าการอัศจรรย์ และ สอนพวกเขาให้เติบโตขึ้น * กลุ่มย่อยนั้น มีประสิทธิภาพ เพราะว่ามันก่อให้เกิดระดับที่เหมาะสม ของความรับผิดชอบ ความสัมพันธ์ และการเกิดกลุ่มใหม่ๆ ตามมา > ผู้คนเติบโตขึ้น ในบริบทของการเป็นกลุ่มที่รับรู้กัน และสนับสนุนกัน > ผู้คนเติบโตมากขึ้น ผ่านทางความสัมพันธ์ มากกว่าผ่านทางการสอนในห้องเรียน > กลุ่มย่อย ก่อให้เกิดการสร้างสาวก และมันจะสร้างพื้นฐาน ที่มีประสิทธิภาพ ส าหรับการเพิ่ม แบบทวีคูณ คริสตจักรทุกแห่งที่มีสุขภาพดี จ าเป็นต้องมีพื้นที่ เพื่อการประกาศผ่านทางความสัมพันธ์ และต้องมีการพัฒนาผู้น าด้วย กลุ่มเป้าหมาย กับกลุ่มผู้น า จะก่อให้เกิดโครงสร้างแรกเริ่ม ส าหรับ ยุทธศาสตร์ใน เอเฟซัส 4:12 ง. ผู้น า เป็นผู้เตรียมชีวิตผู้คนของพระเจ้า ให้ไปสร้างสาวก นี่ไม่ใช่ต้นแบบที่เราเคยเห็น แต่ต้นแบบที่เราคุ้นเคยนั้น ไม่ใช่ต้นแบบที่เกิดผลมากที่สุด วิธีการตาม ประเพณีของเราในการท าสิ่งต่างๆ นั้น สามารถขัดขวางการเติบโตตามหลักพระคัมภีร์ที่แท้จริง ทั้งการ
หน้าที่ 22 (การสร้างสาวก) เติบโตในด้านจิตวิญญาณ, ด้านส่วนตัว และด้านจ านวน เมื่อผู้น าได้เตรียมชีวิตคนอื่นแล้ว ก็จะมีการ เพิ่มแบบทวีคูณของผู้รับใช้ และจะมีการเพิ่มจ านวน แบบไม่จ ากัดของผู้คนที่สามารถรับเอาพันธกิจได้ * อานาเนีย ได้เป็นพี่เลี้ยง หรือเป็นผู้ฝึกอบรม ของ อ.เปาโล เมื่อ อ.เปาโลยังเป็นผู้เชื่อใหม่อยู่ * เอลียาห์ ได้เป็นพี่เลี้ยง เอลีชา, ในฐานะของลูกชายฝ่ายวิญญาณ เอลีชาจึงเกิดผล 2 เท่า ในการ รับใช้ * โมเสส ได้เป็นพี่เลี้ยงของ โยชูวา, โมเสสน าประชาชนออกมา และโยชูวาน าประชาชนเข้าไป * ดาวิด ได้เป็นพี่เลี้ยงของ ซาโลมอน ดาวิดมีความรอบคอบ ที่จะไม่ส่งต่อเพียงแค่นิมิตเท่านั้น แต่ยัง ได้มอบแผนการอย่าละเอียดส าหรับการสร้างพระวิหารให้ด้วย สิ่งนี้รับประกันความส าเร็จของคนใน รุ่นต่อไป เราต้องส่งต่อไม่เพียงแต่ แบบอย่างของการเป็นสาวกเท่านั้น แต่เราต้องส่งต่อวิธีการที่ได้รับ การพิสูจน์แล้วของการสร้างสาวกด้วย การเป็นพี่เลี้ยงจะท าให้สาวกรุ่นใหม่ได้สานต่อการงานของคนในรุ่นก่อน เนื่องจากพวกเขา สามารถเรียนรู้ได้จากความผิดพลาดของเรา และเนื่องจากพวกเขาสามารถสานต่อรากฐานที่เราได้ วางไว้แล้ว ดังนั้น พวกเขาจึงสามารถเคลื่อนที่ จากการเพิ่มแบบวิธีบวก ไปสู่การเพิ่มแบบทวีคูณได้ ถ้าเราอยากจะเห็นเมือง และประเทศของเราเปลี่ยนแปลง เราจ าเป็นต้องรับเอาทัศนคติของการ สร้างสาวกแบบหลายชั่วอายุคนเข้ามาใช้ ผู้น าต้องประเมินความส าเร็จของตนเอง ด้วยความส าเร็จ ของคนที่เขาสร้างให้เป็นสาวก จ. การเพิ่มแบบทวีคูณ จ าเป็นต้องมีวิธีการ ที่สามารถถูกถ่ายทอดได้ และใช้วัสดุอุปกรณ์ที่ง่ายๆ คริสตจักรที่ถูกสร้างขึ้นบนบุคลิกภาพแบบ คาริสแมติก (เนน้ฤทธิ์เดชและประสบการณฝ์่ายวิญญาณ) แต่ใช้วิธีที่ไม่ชัดเจนนั้น จะไม่สามารถมีประสบการณ์แห่งการเพิ่มแบบทวีคูณได้ คนในรุ่นต่อไป อาจจะไม่สามารถเลียนแบบงานพันธกิจนั้นได้เลย * ในขณะที่ความสัมพันธ์ เป็นกุญแจ, สาวกจะเจริญเติบโตได้ ก็ต่อเมื่อ พวกเขาถูกเตรียมชีวิตด้วย วิธีการ และวัสดุอุปกรณ์ที่มีประโยชน์ * วัสดุอุปกรณ์ที่มีพื้นฐานมาจากพระคัมภีร์ ในเรื่องการสร้างสาวก และงานพันธกิจ เราจะสามารถ เพิ่มจ านวนผู้รับใช้ และคนที่ถูกรับใช้ ได้แบบทวีคูณ ถ้าเราท าตามรูปแบบดั้งเดิม ของผู้รับใช้เต็มเวลา มืออาชีพ ผู้ที่ท างานพันธกิจทุกอย่างคนเดียว เราจะกลายเป็นผู้รับใช้ที่หมดเรี่ยวแรง และกลายเป็นคน ยากจนที่ไม่มีวันจะก้าวไปถึงระดับสูงสุดแห่งศักยภาพของตนเอง การเสริมก าลังให้แก่สาวกของคุณ 1. พระเยซู และการพัฒนาความเป็ นผู้น า พระเยซูได้กระท าให้เราเห็นต้นแบบ ของการพัฒนาผู้น า ขอให้เรามาดูต้นแบบของพระองค์ในบริบท ของการเริ่มต้น และการน ากลุ่มย่อยของผู้น า เพื่อสร้างผู้น าในอนาคต
หน้าที่ 23 (การสร้างสาวก) ก. การเพิ่มขึน้ คือการท าให้สมาชิกของกลุ่มย่อย (สาวก) เติบโตขึ้นจนกลายเป็นผู้น า โรเบิร์ต โคลแมน กล่าวว่า “พระเยซูได้ฝึกฝนคนจ านวนน้อย เพื่อเอาชนะคนกลุ่มใหญ่ได้” กุญแจแห่งการเพิ่มทวีคูณ ก็คือ ความสามารถในการพัฒนาผู้น า การเพิ่มขึ้นในด้านจ านวนของ การประกาศ จะยังคงด ารงอยู่ได้ โดยความเป็นผู้น าที่มีประสิทธิภาพเท่านั้น ความเป็นผู้น าที่มี ประสิทธิภาพ จะเติบโตขึ้นได้ โดยผ่านทางความสัมพันธ์ การเป็นพี่เลี้ยง, การเป็นต้นแบบหรือ การอบรมพิเศษแบบนี้ จะถูกกระท าได้ดีที่สุด โดย วิธีการ 1ต่อ1 และการมีกลุ่มย่อย จะส่งผลดีต่อการสร้างผู้น า อย่างน้อย 3 ประการ คือ 1) ประเด็นที่เกิดขึ้นในกลุ่มย่อย ท าให้เกิดบริบทของการพบปะกันแบบ 1 ต่อ 1 ประเด็น ที่เราเห็นในเรื่องบุคลิกภาพ, ความเชื่อ ,ท่าที ฯลฯ สามารถที่จะถูกกล่าวถึงได้ในแบบ 1 ต่อ1 2) ประเด็นเหล่านี้ จะมีประสิทธิภาพมากขึ้น เมื่อเราพิจารณาถึงการจัดการเวลาของเรา การมีกลุ่มใหญ่ต้องใช้เวลามากขึ้น และแต่ละคนจะมีส่วนร่วมแบบส่วนตัวลดลง 3) สมาชิกจะกลายเป็นผู้ใหญ่มากขึ้น เมื่อพวกเขาได้มีส่วนร่วมกับคนอื่น เราเรียนรู้ ด้วยกัน และเราเรียนรู้จากซึ่งกันและกัน คุณสมบัติทเี่ป็นกุญแจสา หรับผู้น าทมี่ีศักยภาพ ก็คือ ความหิวกระหายฝ่าย วิญญาณ ท่าทีที่ยอมให้คนอื่นสอนตนเองได้ และความสามารถที่จะท างานจนเสร็จสิ้นได้ ถ้าไม่มีคุณสมบัติเหล่านี้ เราจะไม่สามารถพัฒนาพวกเขาให้เป็นผู้น าได้เลย เราจ าเป็น จะต้องกลับไปและช่วย “สร้าง” รากฐานฝ่ายวิญญาณของพวกเขา ข. การลงทุน จงลงทุนด้วยตัวของคุณเอง ในชีวิตของพวกเขา พระเยซูกระท าสิ่งนี้ จนเป็นนิสัย คือ “การอยู่ด้วยกับ” สาวกของพระองค์ หัวใจส าคัญของ “การ ฝึกอบรม” ของพระองค์ ก็คือ การให้สาวกติดตามพระองค์ การสังเกตสิ่งที่เกิดขึ้น การตอบ ค าถามของพวกเขา ฯลฯ เมื่อเรามาอยู่ด้วยกัน เหตุการณ์ต่างๆ จะสร้างโอกาส ให้เกิด การสอน การถ่ายทอด และการเป็นต้นแบบ * จงให้เวลา พลังงาน และความสนใจของคุณแก่พวกเขา เราไม่สามารถเป็นพี่เลี้ยงได้อย่าง แท้จริงในการประชุมที่มีขั้นตอนอย่างละเอียด การเป็นพี่เลี้ยงนั้น มันมีอะไรมากกว่านี้อีก เรา จ าเป็นต้องสร้างมิตรภาพและความสัมพันธ์ขึ้น ค. การสอน จงคาดหวัง การเชื่อฟังตลอดชีวิต ที่มีต่อพระคริสต์ และพระวจนะของพระองค์ * จงเรียกให้พวกเขา เข้าสู่มาตรฐานแห่งชีวิตที่มาจากพระคัมภีร์ เราเป็นผู้ตรวจสอบผล เรา สัมพันธ์กับทีมผู้น าทั้งหมดของเรา โดยมีพื้นฐานอยู่บนผล และบุคลิกภาพที่กล่าวไว้ในพระคัมภีร์
หน้าที่ 24 (การสร้างสาวก) ซึ่งได้แก่ ความรัก ความปลาบปลื้มใจ สันติสุข ความถ่อมใจ การรับใช้ ความสัตย์ซื่อ การเชื่อฟัง ฯลฯ ที่มีต่อ สามี ภรรยา ลูก ธุรกิจ และทุกสิ่ง * จงเรียกให้พวกเขา เข้าสู่มาตรฐานที่สูงขึ้น จงตั้งมาตรฐานให้สูงขึ้น อย่าท าให้มาตรฐานต ่าลง * พระคัมภีร์ เป็นเครื่องมือเบื้องต้นของเราในการสร้างสาวก ที่จุดนี้ในชีวิตของพวกเขา คุณภาพ ของพวกเขาในฐานะผู้น านั้น จะสัมพันธ์มากที่สุดกับความสามารถของพวกเขาในการเชื่อฟังพระ เจ้า ความไม่รู้ พอจะถูกยอมรรับได้ แต่การไม่เชื่อฟังนั้น ไม่อาจเป็นที่ยอมรับได้เลย บทเรียนต่างๆ ของผู้น า จะถูกเรียนรู้ได้อย่างดีที่สุด ผ่านทางการเชื่อฟัง ไม่ใช่ผ่านทางการเรียน ง. การถ่ายทอด จงให้ทั้งชีวิตทั้งหมดของคุณแก่พวกเขา ผู้น าที่ชอบรับใช้ และเสียสละ ก็จะท าให้ เกิดสาวกที่ชอบรับใช้ และเสียสละด้วยเช่นกัน คุณจะผลิตคนที่เป็นเหมือนคุณเสมอ * เราไม่สามารถสร้างผู้น าได้อย่างแท้จริง ถ้าเราห่างเหิน ผู้น าจะเติบโตขึ้นและเรียนรู้ เมื่อพวกเขา สังเกตดูคุณในการกระท า ในการตอบสนอง ในความยากล าบาก ในสถานการณ์ชีวิต ในความท้า ทาย ในโอกาสต่างๆ ฯลฯ สิ่งที่จะท าให้คุณได้รับผู้น าที่ดีนั้น ไม่ใช่บทเรียนที่พิมพ์ไว้ในกระดาษ หรือคู่มือเรื่องการ เป็นผู้น าของคนอื่น แต่มันคือ การถ่ายทอดหัวใจ และชีวิตของคุณ ให้แก่พวกเขา 1เธสะโลนิกา 2:8 * จงให้เขามีส่วนร่วมในชีวิตของคุณ นอกเหนือการรับใช้ พระเยซูฝึกอบรมหลายครั้งในช่วง “อาหารเย็น” จ. การเข้ารวมในกลุ่มด้วย จงท าพันธกิจร่วมกับพวกเขา จงน าพวกเขาด้วยการเป็นแบบอย่าง ยอห์น 13:13-15 * แสดงให้พวกเขาเห็นวิธีการท า โดยการท าพันธกิจต้นแบบ ห้องเรียนนั้น ย่อมมีอยู่เสมอ จงมอง หาโอกาสที่จะยอมให้พวกเขา สังเกตคุณในการสร้างคนอื่นให้เป็นสาวก 1เธสะโลนิกา 1:5-6 * การเป็นพี่เลี้ยง จ าเป็นต้องมีคุณธรรม เราต้องเทศนาเฉพาะสิ่งที่เราปฏิบัติ และด าเนินชีวิตจริง * อย่าท าสิ่งใด หรือไปที่ไหนคนเดียว จงพาบางคนที่คุณก าลังเป็นพี่เลี้ยงอยู่ไปด้วยกับคุณเสมอ พระเยซูจะชวนสาวกของพระองค์ไปด้วยเสมอ ในทุกกิจกรรมที่พระองค์กระท า ฉ. การให้มีส่วนร่วม จงมอบหมายโอกาสในการรับใช้ที่เฉพาะเจาะจงให้แก่พวกเขา ในท้ายที่สุดแล้ว คนเราจะเรียนรู้ โดยการกระท า มัทธิว 10:1 * จงให้โอกาสที่เจาะจง ที่เต็มด้วยความเชื่อ และที่เป็นจริงได้ ให้แก่พวกเขา จงแบ่งขนาดความส าเร็จ ให้กลายเป็นขั้นตอนที่มีขนาดพอเหมาะ คือใหญ่เพียงพอที่จะใช้ความ เชื่อ และเล็กเพียงพอที่จะเป็นไปได้จริง จงคาดหวังว่าสมาชิกของคุณจะเติบโตขึ้นเป็นผู้น าที่คุณ ก าลังฝึกฝนอยู่นั้น ควรมีส่วนร่วมในกลุ่มเป้าหมาย ซึ่งมีการประกาศ และการสร้างสาวกในกลุ่มนี้ ด้วย
หน้าที่ 25 (การสร้างสาวก) * เราจา เป็นตอ้งวางใจในผคู้น และวางใจในพระวิญญาณบริสทุธิ์ที่มีอย่ในผู้คนเหล่านี้ ู เราไม่เคยรู้สึกว่า มีบางคนที่ดีสมบูรณ์แบบ และพร้อมที่จะน าแล้ว เราอาจจะรู้สึกว่า เรา สามารถท างานได้ดีขึ้น ถ้าเราท าด้วยตนเอง แต่การเป็นพี่เลี้ยงนั้น เราจ าเป็นต้องใช้ความเสี่ยง คนที่ชอบควบคุม และชอบบังคับนั้น จะไม่สามารถผลิตผู้น าที่สร้างสาวก และพัฒนางานรับใช้ได้ เลย เมื่อเราปลดปล่อยผู้น าออกไป มันก็เป็นการปลดปล่อยของประทาน และการเจิมที่พวก เขาจ าเป็นจะต้องมีเพื่อน าคนอื่น เมื่อคุณ “ส่งพวกเขาออกไป” เพื่อท าบางสิ่งบางอย่าง พระ วิญญาณบริสทุธิ์ของคณุจะกลายเป็นพระวิญญาณบริสทุธิ์ของพวกเขา และการเจิมสา หรบัการ เป็นผู้น าก็ถูกปลดปล่อยไปยังพวกเขาด้วย พระเยซูเห็นการรักษาโรค ความรอด และการปลดปล่อยของโลกนี้ ผ่านทางสาวก เหล่านั้น งานรับใช้ทั้งหมดนั้น เกิดผ่านทางเรา ของประทานในการรับใช้ ก็คือ ของประทานที่เรา เป็นผู้อารักขา พัฒนา และส่งต่อให้แก่ผู้อื่น ช. การสร้างแรงบันดาลใจ จงช่วยเหลือพวกเขาให้ยึดเอา หัวใจของวัตถุประสงค์ของงานรับใช้ ยอห์น 15:15 ผู้คนจ าเป็นต้องมีนิมิตและการเปิดเผยจากพระเจ้า ไม่ใช่มีแค่ ข้อมูลเท่านั้น เมื่อเราสอน สิ่งที่เราปฏิบัติในชีวิตของเราเอง สิ่งเหล่านี้จะเกิดขึ้นในชีวิตของคนที่เราน าด้วยเช่นกัน เมื่อสาวกได้รับเอาภาระใจ และนิมิตของพระเยซู และถูกเตรียมชีวิตเพื่อน าเอาสิ่งเหล่านี้ ออกไปแล้ว พระองค์ก็ส าเร็จงานของพระองค์ในเรื่องการเป็นผู้น าบนโลกนี้แล้ว ซ. การตรวจสอบ จงชี้ให้พวกเขาเห็นข้อผิดพลาดในการงานของพวกเขา ลูกา 9:10 มันเป็นสิ่งส าคัญอย่างยิ่ง ที่เราจะต้องประเมินผล และเตือนสติกันในทางบวก เรา จ าเป็นต้องพูดคุยเกี่ยวกับสิ่งที่ถูกต้อง และสิ่งที่ผิด ทางที่ดีที่สุดในการท าเช่นนี้ ก็คือ การพูดคุย เป็นการส่วนตัว เกี่ยวกับปัญหาที่ขัดขวางการเกิดผลของพวกเขา ในฐานะผู้น า คุณมีการเจิมที่จะ มองเห็นสิ่งต่างๆ ในชีวิตของคนที่คุณน า เพื่อปกป้อง และช่วยเหลือพวกเขา ถ้าคุณไม่ช่วยเปิดตา ของพวกเขาให้มองเห็นจุดอ่อนของพวกเขาแล้ว คุณก็ก าลังทิ้งให้พวกเขาอยู่โดยไม่มีการปกป้อง และน าพวกเขาสู่ความล้มเหลว จงชี้น าพวกเขาในทิศทางที่ถูกต้อง คือให้พวกเขาเน้นไปที่ การเจริญเติบโตขึ้น ไม่ใช่ ความสมบูรณ์แบบ จงประเมินผลตามทิศทางของพวกเขา ว่า พวกเขาก าลังเจริญเติบโตขึ้น และ ก าลังเดินไปในทิศทางที่ถูกต้อง หรือไม่? อย่าประเมินว่าพวกเขาสมบูรณ์แบบแล้วหรือยัง? จงจดจ าว่า คุณมาจากที่ไหน และคุณต้องใช้เวลานานแค่ไหน ก่อนที่คุณจะก้าวมาถึงจุด ที่คุณก าลังยืนอยู่ อย่าดึงผู้คนให้ต ่าลง ด้วยการคาดหวังที่ไม่มีเหตุผล หลายครั้งที่เราเริ่มต้นด้วย
หน้าที่ 26 (การสร้างสาวก) ผู้คนที่ยังไม่ได้ถูกสอน และยังไม่เป็นผู้ใหญ่ ถ้าพวกเขาก าลังก้าวไปข้างหน้าในความเชื่อ และ ก าลังก้าวเข้าสู่การเป็นคริสเตียนที่เปลี่ยนโลก แสดงว่าเราก็สามารถเป็นผู้สร้างสาวกได้ ฌ. การเริ่มต้น และพัฒนาคนอนื่ จงคาดหวังให้พวกเขาท าสิ่งนี้ กับคนอื่นต่อไป เราต้องการให้พวกเขาเริ่มกระบวนการเป็นพี่เลี้ยงแบบเดียวกันนี้ กับคนอื่นด้วย ในขณะ ที่พวกเขาก าลังเติบโตขึ้น 2 ทิโมธี 2:2, มัทธิว 28:18-20 ไม่มีแผนการอื่นใดอีกแล้ว ในการสร้าง สาวกเป็นการส่วนตัว, การฝึกอบรมผู้น า, การด าเนินชีวิตตามพระมหาบัญญัติ และการท าให้ พระมหาบัญชาส าเร็จ * พัฒนากระบวนการง่ายๆ เพื่อการสร้างสาวก และการพัฒนาผู้น า * ใช้การพบปะกันแบบ 1 ต่อ 1 และการประชุมกลุ่มย่อย ทุกสัปดาห์ หรือ เดือนละ 2 ครั้ง * พัฒนาผู้คนให้ครบทุกด้าน ตามที่เราได้เรียนในวิชานี้ คือ การทรงเรียก, บุคลิกภาพ, ของประทาน และผล * ใช้วัสดุอุปกรณ์ง่ายๆ ที่สามารถหาได้จากวิชาต่างๆ ที่เราสอน หรือจากแหล่งอื่นๆ 2. การน า ในฐานะของสาวก “การน า” หมายถึง การพาไปโดยมือ มันค่อนข้างเหมือนกับการดึงเข้ามา การด าเนินต่อไป และการ แนะน าโดยการเดินไปก่อน ผู้น าจะได้รับสิทธิอ านาจอย่างเจาะจง ที่จะเรียกคนอื่นให้เติบโตขึ้นในฝ่าย วิญญาณ ก. การสร้างสาวก เป็นกระบวนการของการฝึกความเป็นผู้น า ลูกา 22:24-30 ข. การปรารถนาที่จะเติบโตขึ้นเป็นผู้น าฝ่ายวิญญาณนั้นเป็นสิ่งที่ดี 1 ทิโมธี 3:1 ค. การเป็นผู้น าฝ่ายวิญญาณที่แท้จริง จ าเป็นจะต้องมีท่าที แห่งการเป็นผู้รับใช้ มาระโก 10:35-45 1) การเป็นผนู้า เป็นสิทธิพิเศษ (การทรงเรียก) ไม่ใช่เป็นแค่สิทธิ์ 2) การเป็นผู้น า เป็นการให้ชีวิต ไม่ใช่ การับเอาชีวิต 3) ผู้น านั้น มีชีวิตอยู่เพื่อผู้คน ไม่ใช่ ผู้คนมีชีวิตอยู่เพื่อผู้น า 4) การเป็นผู้น า เป็นท่าทีที่ถูกต้อง หรือ กรอบแห่งความคิด ง. การเป็นผู้น าฝ่ายวิญญาณที่แท้จริง จะสะท้อนถึงหัวใจ และชีวิตของพระเจ้า ยากอบ 3:13-18 1) การเป็นผู้น า จ าเป็นต้องมีสติปัญญาจากเบื้องบน สุภาษิต 2:1-4 2) การเป็นผู้น า จะน าสันติสุขเข้ามา มัทธิว 5:9 3) การเป็นผู้น า ต้องมีความอ่อนโยน 4) การเป็นผู้น า ต้องเต็มใจที่จะยอมจ านน 5) การเป็นผู้น า ต้องมีความเมตตา 6) การเป็นผู้น า ต้องเกิดผล 7) การเป็นผู้น า เป็นการตัดสินใจ (เราสามารถตัดสินใจได้ และเราต้องตัดสินใจเอง)
หน้าที่ 27 (การสร้างสาวก) 8) การเป็นผู้น า เป็นสิ่งที่เป็นจริง (ไม่เป็นเรื่องทางศาสนา) หมายเหตุเราได้กล่าวถึงคุณสมบัติอีกหลายประการ ของผู้น าฝ่ายวิญญาณใน วิชาของประทาน 5 อย่าง และในวิชาหัวใจของผู้รับใช้ เราต้องการที่จะรวมเอาแนวความคิดที่นี่เข้าไปด้วย เพื่อ สนับสนุนความจริงที่ว่า การสร้างสาวกนั้นเป็นสะพานสู่ การเป็นผู้น า และแนวความคิดเหล่านี้ ควรถูกสร้างขึ้นในกระบวนการนี้ กลุ่มเป้าหมาย (ที่เราจะประกาศด้วย) สิ่งที่เราก าลังบอก ก็คือ คริสเตียนทุกคนควรเป็นสาวก และคริสเตียนทุกคนควรสร้างสาวก วิธีที่ดีที่สุดใน การเริ่มสร้างสาวก ก็คือ การท าตามแบบอย่างของพระเยซู โดยการ เชิญชวนให้คนกลุ่มเล็กๆ เข้ามาในชีวิตของ คุณ, ในบ้านของคุณ ในบริเวณที่คุณมีอิทธิพลอยู่ สิ่งนี้กลายเป็น “กลุ่มเป้าหมายที่เราจะประกาศด้วย” โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อการสร้างสาวก 1. พันธกิจกลุ่มย่อย อะไรคือ คุณสมบัติของกลุ่มสร้างสาวกที่มีสุขภาพดี ก. กลุ่มสร้างสาวกที่มีสุขภาพดี ไม่ใช่ อะไรบ้าง * กลุ่มห่วงใย ที่เน้นหนักไปที่ ความจ าเป็นส่วนตัว * กลุ่มศึกษาพระคัมภีร์ ที่เน้นหนักไปที่ ผู้สอน * กลุ่มสามัคคีธรรม ที่เน้นหนักไปที่ ซึ่งกันและกัน * กลุ่มที่รับรู้กัน เพื่อการพัฒนาตนเอง * กลุ่มนมัสการของโบสถ์ ที่น ามาจัดที่บ้าน * ช่วงเวลาแห่งการทดลองใช้ของประทานฝ่ายวิญญาณ แม้ว่า หลายสิ่งเหล่านี้จะต้องเกิดขึ้น แต่ว่า สิ่งเหล่านี้ก็ไม่ใช่สิ่งที่จะต้องกระท าเป็นอันดับแรกในกลุ่ม ข. ยุทธวิธี ใน เอเฟซัส 4:12 มีกลุ่มของการสร้างสาวกอยู่ 2 แบบ 1) กลุ่มเป้าหมาย (ที่เราจะประกาศด้วย) 2) กลุ่มผู้น า ทั้ง 2 กลุ่มนี้ ด ารงอยู่ เพื่อเหตุผลเดียว นั่นก็คือ เพื่อการสร้างสาวก ค. ความแตกต่าง ระหว่าง 2 กลุ่ม กลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้น า ผู้เข้าร่วม ใครก็ได้ ผู้น าของกลุ่มเป้าหมาย จา นวนคนที่จา กัด ไม่จ ากัด 12 คน
หน้าที่ 28 (การสร้างสาวก) เวลาทจี่า กัด 60 นาที 90 นาที วัตถุประสงค์ ท าให้กลุ่มเติบโต (ทวีคูณ) ท าให้ผู้น าเติบโต เพศ เปิดรับทั้งหมด ผู้ชายกับผู้ชาย, ผู้หญิงกับผู้หญิง หมายเหตุสิ่งเหล่านี้ ใช้เป็นแค่แนวทาง วัฒนธรรม ฯลฯ อาจจะเปลี่ยนจ านวนเวลาที่ใช้ แต่จงดูให้แน่ใจว่า คุณได้ กระท าสิ่งที่จ าเป็นจริงๆ จ านวนของคนในกลุ่ม สามารถเปลี่ยนแปลงจากนี้ ได้เล็กน้อย ฯลฯ คุณสามารถใช้กลุ่มเป้าหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ ในประเทศที่ปิด ประเทศที่ถูกเรียกว่า ใต้ดิน ประเทศ ที่มีความเชื่อทางศาสนาหลากหลาย ในเมืองเล็ก ในเมืองใหญ่ และในพื้นที่ชนบท ถ้าเราใช้หลักการเหล่านี้ด้วย สติปัญญา และท าอย่างต่อเนื่อง มันก็จะเกิดผลในเมืองของเรา ง. สิ่งที่สามารถท าลายกลุ่มการสร้างสาวก สิ่งที่ได้ถูกพิสูจน์แล้ว่า สามารถน าไปสู่ความล้มเหลวได้ มี ดังนี้ * ห้ามเอา เรื่องธุรกิจ เข้ามาในการสร้างสาวก * ห้ามเอา เรื่องการเมือง เข้ามาในการสร้างสาวก * ห้ามรับใช้แบบส่วนตัว กับเพศตรงข้าม * ห้ามจีบกัน * ห้ามยืมเงินกัน * ห้ามเน้นหนักถึง งานพันธกิจอื่น หรือเหตุการณ์อื่น ผ่านทางกลุ่มย่อย * ห้ามเชิญวิทยากรพิเศษ * ห้ามรับเงินสิบลด หรือเงินถวาย สิ่งเหล่านี้ คือ กลุ่มเป้าหมาย และกลุ่มสร้างสาวก ที่ก าลังถูกน าโดยคนที่เราก าลังฝึกอบรมอยู่ พวกเขา ไม่ใช่กลุ่มนมัสการเล็กๆ ของคริสตจักรที่ก าลังถูกด าเนินการโดยผู้น าฝ่ายวิญญาณ เราเน้นหนักเฉพาะกระบวนการ สร้างสาวกเท่านั้น สิ่งอื่นๆ จะต้องถูกด าเนินการในระบบของคริสตจักร 2. คุณจะเริ่มต้นกลุ่มเป้าหมายได้อย่างไร พระเยซูได้บอกสาวก ให้ออกไปตามหาคนหลงหาย ใครคือคนหลงหาย ก็คือ คนที่ยังไม่ได้ถูกสร้างให้เป็น สาวก * คนหลงหายฝายวิญญาณ คือ คนที่ยังไม่ได้เป็นผู้เชื่ออย่างแท้จริง > คนที่ยังไม่รอด > คนที่ยังไม่ได้ไปโบสถ์ > คริสเตียนที่สอนผิด, คริสเตียนปลอม > คริสเตียนตามประเพณี
หน้าที่ 29 (การสร้างสาวก) > ศาสนาอื่นๆ > คนที่ไม่เชื่อว่ามีพระเจ้า * ผู้เชื่อ ที่ยังไม่ค้นพบทาง และวัตถุประสงค์ ของพวกเขา > แกะที่หลงหาย > แกะที่เจ็บป่วย > แกะที่อดอยาก > แกะที่ถูกล่วงละเมิด > แกะที่เร่ร่อน > แกะที่ไม่มีผู้เลี้ยง ไม่ว่าคนหลงหาย จะเป็นคริสเตียนหรือไม่ก็ตาม เราต้องสร้างคนที่ยังไม่ได้รับการสร้างให้เป็นสาวก เป้าหมาย ของกลุ่มเป้าหมาย (ที่เราจะประกาศด้วย) ก็คือ เพื่อสร้างสาวกโดยการออกไปหาคนหลงหาย โดยเริ่มจาก เพื่อนที่หลงหาย ครอบครัว และคนที่รู้จัก มีอยู่3 ขั้นตอน ในการเริ่มต้น ดังนี้ 1) อธิษฐานวิงวอน ร่วมกับผู้เชื่ออีก 2-3 คน จากคริสตจักรของคุณ ผู้ซึ่งปรารถนาที่จะสร้างสาวกโดยการ ออกไปหาคนหลงหาย * ไม่ควรมีมากกว่า 3 หรือ 4 คนในช่วงเริ่มต้น จ านวนคนที่เพิ่มขึ้นต้องมาจากการออกไปหาคนหลง หาย * ในการประชุมครั้งแรกของคุณ จงจดรายชื่อคนหลงหาย 10 คน * อดอาหาร และอธิษฐานด้วยกันทกุสปัดาห์เป็นเวลา 1 เดือน การอธิษฐานเป็นฤทธิ์เดชที่จะทา ให้ การประกาศ และการสร้างสาวกเกิดผลได้ การอดอาหารจะเป็นการท าลายการผูกมัดของความเป็น ทาส 2) ลงทุน ในเพื่อน ครอบครัว และคนที่คุณรู้จัก หลังจาก 4 สัปดาห์ แห่งการอธิษฐานและการอดอาหาร คนเหล่านี้หลายคนจะเปิดใจมากขึ้น ต่อข่าว ประเสริฐ และมีความสนใจในเรื่องฝ่ายวิญญาณมากขึ้นกว่าเดิม คุณจ าเป็นจะต้องหว่านเพื่อจะได้ เก็บเกี่ยว 3) เชิญชวนพวกเขาเข้าในกลุ่มเป้าหมายของคุณ ก. การน ากลุ่มเป้าหมาย (ที่เราจะประกาศด้วย) คุณจะน ากลุ่มเป้าหมายได้อย่างไร ทุกส่วนของกลุ่มเป้าหมานั้นได้ถูกออกแบบเพื่อช่วยใน กระบวนการสร้างสาวก ทั้ง 4 ส่วนของกลุ่มเป้าหมาย มีดังนี้ การอุ่นเครื่อง, พระวจนะ, การประยุกต์ใช้ส่วนตัว, และการอธิษฐาน บทเรียนนี้ได้ท าตามกระบวนการของการส่งเสริมความสัมพันธ์ต่างๆ ผ่านทาง ความจริง การกลับใจใหม่ และความเชื่อ การประชุมแต่ละครั้งจะไม่เกิน 1 ชั่วโมง แต่การรับใช้ จะใช้เวลา 24 ชั่วโมงต่อ วัน และ 7 วันใน 1 สัปดาห์
หน้าที่ 30 (การสร้างสาวก) 1) การอุ่นเครื่อง (10-15 นาที) จงใช้ค าถามอุ่นเครื่องเหล่านี้ เพื่อผ่อนคลายผู้คน และน าเข้าสู่หัวข้อ ค าถามที่ดี ได้แก่ - ไม่มีค าตอบ ที่ถูกหรือผิด - ถามความคิดเห็น หรือประสบการณ์ - ไม่จ าเป็นต้องใช้ความรู้ในพระคัมภีร์ - ห้ามใช้ค าถาม ที่ก่อให้เกิดความขัดแย้ง เกี่ยวกับการเมือง ฯลฯ - ใช้ค าถามที่เกี่ยวเนื่องกับหัวข้อการศึกษาพระคัมภีร์ ยกตัวอย่าง ค าถามที่ควรใช้ เช่น คุณเคยรู้สึกกลัวอะไรจริงๆ ไหม, คุณเคยสูญเสียบุคคลส าคัญ ต่อชีวิตของคุณหรือไม่, อะไรเป็นสิ่งที่มีค่ามากที่สุด ที่คุณมีอยู่ จงวางแผน ว่าใครจะตอบเป็นคนแรก เพราะว่า มันจะเป็นการก าหนดทิศทางของการอภิปรายกัน 2) พระวจนะ (10-20นาที) - ให้เฉพาะผู้น าเท่านั้น พูดในช่วงนี้ - การเป็นผู้น าที่ดีนั้น คุณไม่จ าเป็นต้องเป็นผู้สอนที่เชี่ยวชาญ -จงปล่อยให้พระคัมภีร์พูดเอง อย่าเพิ่มเติมหรือลบออก - เป้าหมาย ก็คือ เพื่อรับใช้ผู้คน ไม่ใช่เพื่อจะสอนบทเรียนให้จบ -จงยอมใหพ้ระวิญญาณบริสทุธิ์ทรงนา ไม่ใช่ยอมใหเ้ป็นไปตามสื่อ หรืออุปกรณ์ -จงเพิ่มตัวอย่างส่วนตัว หรือเรื่องราวต่างๆ เพื่ออธิบายหัวข้อนั้นๆ จงจ าไว้ว่า เราไม่ได้เน้นที่ ความรู้ในพระคัมภีร์ แต่ เราเน้นที่ การประยุกต์ใช้พระคัมภีร์ 3) การประยุกต์ใช้ส่วนตัว (10-20นาที) - เป้าหมาย ก็คือ เพื่อหนุนใจให้มีการอภิปราย ที่น าไปสู่การประยุกต์ใช้ความจริงของพระเจ้าใน ชีวิต -จงถามค าถามที่เปิดการอภิปรายไปในทิศทางที่เหมาะสม - ค าถามที่ดีเสมอ คือ “คุณได้เรียนรู้อะไรจากบทเรียนนี้ และมันจะมีผลกระทบต่อคุณได้อย่างไร” - ผู้น าควรถามค าถามเพื่อการประยุกต์ใช้ และวางแผนว่า ใครควรตอบเป็นคนแรก จงเลือกคนที่ จะตอบเป็นตัวอย่างที่ดี เพื่อคนอื่นจะท าตามได้ -จงอย่ายอมให้ผู้คนโต้เถียงกัน หรือวิพากษ์วิจารณ์กัน -จงก าชับให้ผู้คนประยุกต์ใช้บทเรียนในชีวิตของพวกเขาเอง ไม่ใช่ในชีวิตของคนอื่น -จงไวในการแก้ไขการตอบสนองที่ไม่เหมาะสม หรือ ไม่สอดคล้องกับพระคัมภีร์ 4) การอธิษฐาน (10-20 นาที) การอธิษฐานเป็นส่วนที่ส าคัญที่สุดของการประชุมกลุ่ม นี่ไม่ใช่การอธิษฐานปิด แต่เป็นช่วงเวลาที่ จะทูลหัวข้อที่เฉพาะเจาะจงต่อพระเจ้า จงดูให้ดีว่า คุณมีเวลาเหลือมากพอ เพื่อว่า การอธิษฐาน
หน้าที่ 31 (การสร้างสาวก) จะไม่ได้เร่งรีบ จงเดินไปรอบๆ กลุ่ม และถามแต่ละคนว่า มีหัวข้ออะไรให้อธิษฐานเผื่อบ้าง แล้ว คุณจงอธิษฐานเผื่อหัวข้อเหล่านั้น -จงเริ่มต้นด้วยการรายงานสั้นๆ เกี่ยวกับการอธิษฐานที่ได้รับค าตอบแล้ว -จงอธิษฐานอย่างง่ายๆ จริงใจ และสั้น -จงใช้น ้าเสียงแบบธรรมชาติในการสนทนา ห้ามใช้น ้าเสียงดุดัน หรือค าศัพท์ของคริสเตียน -จงใช้เวลาสั้นๆ เท่านั้น ในการอธิบายหัวข้ออธิษฐาน -อย่าเทศนาเมื่อคุณอธิษฐาน - เมื่อคนอื่นเริ่มต้นอธิษฐาน จงหนุนใจให้เขามีความกล้าหาญ -อย่าอธิษฐานด้วยวิธีการ และขั้นตอนที่เหมือนเดิมทุกครั้ง -จงขอในสิ่งที่จ าเป็นอย่างเจาะจง จงอธิษฐานอย่างเจาะจง จงคาดหวังค าตอบที่เจาะจง สรุป การสร้างสาวก เน้นหนักไปที่ การกระท า ไม่ใช่ที่ ความรู้ พระเยซูได้บอกสาวกของพระองค์ให้ออกไป และสร้างสาวก... และสอนเขาให้เชื่อฟัง ... สิ่งนี้หมายความว่า นักศึกษาทุกคนในชั้นเรียนนี้ ควรจะสามารถสร้าง สาวกได้ โดยเริ่มต้นจากกลุ่มเป้าหมายของตนเอง เมื่อคนที่เราสร้างได้เริ่มต้นสร้างคนอื่นให้เป็นสาวก เราจะมี ประสบการณ์แห่งการเพิ่มแบบทวีคูณ และการขยายอาณาจักรของพระเจ้า ทบทวน 1. การสร้างสาวก คืออะไร คือ การเตรียมผู้คนให้เดินในความสัมพันธ์ที่ถูกต้องกับพระเจ้า กับผู้เชื่อ กับคน หลงหาย - การเป็นสาวก คือ การทรงเรียกให้ ติดตามพระเยซู - การเป็นสาวก คือ การทรงเรียกให้ มีสามัคคีธรรมกับผู้เชื่อคนอื่นๆ - การเป็นสาวก คือ การทรงเรียกให้ออกไปจับคน เหมือนดังจับปลา เราจ าเป็นต้อง ด าเนินชีวิตตามหาพระมหาบัญญัติ เพื่อที่เราจะกระท าพระมหาบัญชาให้ส าเร็จได้ 2. ยุทธวิธี ของเราในการสร้างสาวก มีอะไรบ้าง เอเฟซัส 4:12 เป็นยุทธวิธีของเรา - สิ่งนี้ คือเป้าหมายของคริสตจักร คือการสร้างสาวก - สิ่งนี้ คือวิธีการที่คริสตจักร จะเติบโต คือ ผ่านการสร้างกลุ่มเป้าหมายให้เป็นสาวก - เราให้ความส าคัญอันดับแรก แก่ ความสัมพันธ์, ไม่ใช่รายการ - ผู้น าถูกเรียกให้ เตรียมชีวิตของผู้เชื่อเพื่อสร้างคนอื่นให้เป็นสาวก ก. ยุทธวิธีใน เอเฟซัส 4:12 เป็นกระบวนการของการสร้างสาวก มันเป็นกระบวนการของการเป็นพี่เลี้ยง ให้แก่ผู้คน ในขณะที่พวกเขาก าลังติดตามพระคริสต์ ยุทธิวิธีเหล่านี้ ประกอบด้วย - การประกาศกับคนหลงหาย
หน้าที่ 32 (การสร้างสาวก) - การสร้างผู้เชื่อใหม่ให้ตั้งมั่นคง - การเตรียมชีวิตให้เป็นผู้รับใช้ - การเสริมก าลังเพื่อการสร้างสาวก และการเป็นผู้น า 3. อะไรคือจุดเน้นหนักของการสร้างสาวก จุดเน้นหนักของการสร้างสาวก ก็คือ เรื่องหัวใจ การสร้างสาวก ไม่เพียงแต่เน้นหนักไปที่ ความประพฤติ เท่านั้น แต่ต้องเน้นที่ แรงจูงใจและท่าทีด้วย, ไม่ใช่เน้นที่ การปฏิบัติภายนอก แต่เน้นที่การเปลี่ยนแปลงภายใน - เราเน้นหนักที่ ความเชื่อ มากกว่า ความประพฤติ หัวใจจะสะท้อนถึงความสัมพันธ์ การกระท าสามารถ สะท้อนถึงศาสนาได้ จงเน้นหนักไปที่ หัวใจแห่งความเชื่อ และความรัก เพราะว่า การกระท าที่ถวายเกียรติ แด่พระเจ้าย่อมเกิดขึ้นจากหัวใจแบบนี้ 4. เราต้องให้ความส าคัญแก่อะไรเป็ นอันดับแรกในการสร้างสาวก - รากฐาน ได้แก่ ความเป็นเจ้านายของพระเยซู, การกลับใจใหม่, การรับบัพติศมาในน ้า, การรับบัพติศ มาในพระวิญญาณบริสทุธิ์, คริสตจกัร, สิทธิอา นาจของพระคมัภีร์ฮีบรู 6:1-2, กิจการ 2:36-42 - ความเชื่อได้แก่ วิธีการพัฒนา ความหิวกระหายฝ่ายวิญญาณ, ความเชื่อ และการใช้เวลาส่วนตัวกับ พระเจ้า - ครอบครัว ได้แก่ การเข้าใจความยากล าบากในด้านความสัมพันธ์, ความเป็นผู้น า, ความขัดแย้ง ฯลฯ - การมีเสรีภาพ ได้แก่ การหลุดพ้นจากค าสาปแช่ง, ความบอบช ้าทางอารมณ์, ความผิดพลาดฝ่ าย วิญญาณ, นิสัยที่เป็นความบาป - การเกิดผล คือ วิธีการที่จะท าให้ตนเองเกิดผล และท าให้คนอื่นเกิดผลด้วย สรุป มันเป็นการง่าย ที่จะเห็นวิธีที่เราจะน าสิ่งที่เราได้เรียนรู้ในโรงเรียนนี้ออกมา และเริ่มต้นที่จะใช้มันในการ น าคนมารับเชื่อพระเจ้า และสร้างพวกเขาให้เป็นสาวก เราสามารถใช้ระบบกลุ่มย่อยในการสร้างผู้ติดตาม, สาวก และผู้น าให้เติบโตขึ้น ความท้าทายส าหรับเรา ก็คือ การรับเอาการทรงเรียกอย่างแท้จริง ใน มัทธิว 28, 2ทิโมธี 2:2, เอเฟซัส 4, กิจการ แบบอย่างของพระคริสต์ และบรรดาอัครทูตในพระคัมภีร์ใหม่ ข้อพระคัมภีร์สุดท้ายเหล่านี้ ได้แสดงให้เราเห็นถึงศักยภาพของการเป็นสาวกที่แท้จริง ถ้าเราอุทิศตนเอง ให้แก่กระบวนการในพระคัมภีร์ที่เราได้เรียนรู้ในวิชานี้ กิจการ 5:28 “...ก็นี่แน่ะ เจ้า (สาวก) ได้ให้ค าสอนของเจ้า แพร่ไปทั่วกรุงเยรูซาเล็ม...” กิจการ 17:6 “ครั้นไม่พบ จึงฉุดลาก ยาโสนกับพวกพี่น้อง (สาวก) บางคน ไปหาเจ้าหน้าที่ผู้ครองเมือง ร้องว่า ‘คนเหล่านั้นที่เป็นพวกคว ่าโลกมนุษย์มาที่นี่ด้วย’ .”