The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sudarat62, 2019-11-19 22:55:13

RID Plan56-59

RID Plan56-59

แผนยทุ ธศาสตรก รมชลประทาน
พ.ศ. 2556-2559

ใหใชต้งั แตวนั ที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2555 เปน ตนไป

กรมชลประทาน
Royal Irrigation Department

สารจากอธิบดี

การบริหารราชการเพื่อใหเกิดผลสัมฤทธิ์ตอภารกิจของภาครัฐ และตอบสนองตอความตองการและ
ความคาดหวังของประชาชนทุกภาคสวน ตองใชแผนยุทธศาสตรเปนเคร่ืองมือสําคัญในการขับเคล่ือนองคกรใหบรรลุ
ตามเปาหมายท่ีกําหนด และเพื่อใหแผนยุทธศาสตรของกรมชลประทานมีความสอดคลองกับสภาพแวดลอมที่
เปลยี่ นแปลงไป โดยเฉพาะอยา งย่ิงการเปลยี่ นแปลงทางเศรษฐกจิ สงั คม เทคโนโลยี ทิศทางของประเทศ นโยบายของ
รฐั บาล แผนการบริหารราชการแผนดนิ แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแหง ชาติ ฉบบั ท่ี 11 (พ.ศ. 2555 - 2559) และ
แผนพัฒนาการเกษตรในชวงแผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 11 ดังนั้น คณะกรรมการแผนยุทธศาสตรและคณะทํางานจัดทํา
รางแผนยุทธศาสตร ตามคําสั่งกรมชลประทาน ที่ ข 177/2554 ลงวันท่ี 4 มีนาคม 2554 จึงไดดําเนินการจัดทํา
แผนยุทธศาสตรของกรมชลประทานฉบับใหม โดยใหมีการรับฟงความคิดเห็น ความตองการและความคาดหวังของ
ผูรับบริการและผูมีสวนไดสวนเสีย จนกระทั่ง ไดมีมติในการประชุมของคณะกรรมการแผนยุทธศาสตรฯ เห็นชอบให
ประกาศใชแผนยทุ ธศาสตรก รมชลประทาน พ.ศ. 2556 - 2559 ต้ังแตว ันท่ี 1 ตุลาคม 2555 เปนตนไป

การดําเนินการตามแผนยุทธศาสตรของกรมชลประทานท่ีผานมา ทําใหประสบผลสําเร็จในการพัฒนา
ระบบการใหบรกิ ารท่ีสอดคลอ งกบั ความตอ งการและความคาดหวังของประชาชน จนเปนท่ยี อมรับในระดับนานาชาติ
สามารถควารางวัลคุณภาพการใหบริการประชาชนจากองคการสหประชาชาติ (UN) ประจําป พ.ศ. 2555 ชนะเลิศ
สาขา Fostering Participation in Public Policy-Making Decisions through Innovative Mechanisms ประเภท
นวัตกรรมการปอ งกันและบรรเทาภัยแลงแบบบรู ณาการ (โครงการสงน้าํ และบํารงุ รกั ษาแมยม จังหวดั แพร) ซึ่งนบั เปน
ความภาคภูมิใจอยางย่ิงของทุกฝายท่ีเกี่ยวของ แตอยางไรก็ตาม ยังมีความทาทายเชิงยุทธศาสตรที่กรมชลประทาน
จะตองมุงมั่นตอไปตามวิสัยทัศนท่ีกําหนดข้ึนใหมคือ กรมชลประทานเปนองคกรนําดานการพัฒนาแหลงน้ําและ
บรหิ ารจัดการนํ้าอยา งบูรณาการ ใหม พี ื้นทชี่ ลประทาน อยใู นลาํ ดับ 1 ใน 10 ของโลก

การนาํ แผนยทุ ธศาสตรกรมชลประทาน พ.ศ. 2556 – 2559 ไปสกู ารปฏบิ ัติ เปนขั้นตอนทีม่ ีความสาํ คญั
อยางมากในการบริหารเชิงยุทธศาสตร กิจกรรมหลักในการนํายุทธศาสตรไปสูการปฏิบัติ คือ การถายทอด
แผนยทุ ธศาสตรร ะดบั กรมลงสรู ะดบั สํานกั กอง และลงสูระดับบุคคล ทงั้ น้ี เพื่อใหเ กิดความเขาใจในเปา หมายที่ตรงกัน
กอใหเ กิดผลสมั ฤทธ์ิในแตล ะเปา ประสงค และบรรลวุ สิ ัยทัศนไ ดอ ยางยงั่ ยนื

(นายเลศิ วโิ รจน โกวฒั นะ)
อธิบดกี รมชลประทาน

4 แผนยทุ ธศาสตร กรมชลประทาน พ.ศ.2556-2559



ความตŒองการนํ้า

ความตองการใชน ้ําทุกภาคสว น (ป พ.ศ. 2552) ปล ะ 162,151 ลานลูกบาศกเมตร เปนความตอ งการนา้ํ
เพอ่ื การเกษตรสงู ถงึ 106,169 ลา นลกู บาศกเ มตรหรอื รอ ยละ 65 ของความตอ งการนา้ํ ทงั้ หมดในจาํ นวนนอี้ ยใู นเขตทม่ี ี
แหลงเกบ็ กักนํ้าและระบบชลประทานอยแู ลว 45,054 ลา นลูกบาศกเ มตร สว นทีเ่ หลืออีก 61,116 ลานลกู บาศกเ มตร
เปนความตองการนํ้าเพื่อการเกษตรท่ีอยูนอกเขตชลประทานโดยอาศัยนํ้าฝนเปนหลัก รองลงไปเปนการใชน้ําเพ่ือการ
รกั ษาระบบนเิ วศรอ ยละ 18 เพอื่ การอปุ โภคบรโิ ภครอ ยละ 15 การอตุ สาหกรรมรอ ยละ 1.6 และการปศสุ ตั วร อ ยละ 0.4

การพัฒนาชลประทาน

การพัฒนาการชลประทานในอดีตตั้งแตสมัยรัชกาลที่ 5 ไดมุงเนนการกระจายน้ําโดยการขุดคลอง
เช่ือมโยงนํ้าระหวางแมนํ้าสายหลักในบริเวณท่ีราบลุมภาคกลางของประเทศ ตอมาในชวงกอนป พ.ศ. 2500
ไดมีการพัฒนาอาคารทดนํ้าตามแมนํ้าสายหลักเพ่ือเพิ่มขีดความสามารถในการผันน้ําเขาสูระบบคลองในบริเวณ
ท่ีราบลุมภาคเหนือตอนบนและภาคกลางทําใหการเกษตรชลประทานไดขยายตัวข้ึนอยางมาก อยางไรก็ตาม
การเกษตรชลประทานในยุคน้ันยังคงมีขีดจํากัดเน่ืองจากยังไมมีการพัฒนาแหลงเก็บกักน้ําขนาดใหญท่ีจะรองรับ
ปริมาณนา้ํ หลากจากพนื้ ที่ตอนบนทําใหยังคงประสบปญหาอุทกภัยและภยั แลงตามฤดกู าล ภายหลงั ทไ่ี ดม กี ารกอ สรา ง
แหลง เกบ็ กกั นาํ้ ขนาดใหญ ไดแ ก เขอ่ื นภมู พิ ล เขอื่ นสริ กิ ติ ์ิ ทาํ ใหป ญ หาอทุ กภยั บรรเทาลงมากโดยชว ยลดระดบั นา้ํ สงู สดุ
ของแมน้ําเจาพระยาท่ีจังหวัดนครสวรรคไดเฉลี่ย 1.44 เมตร และมีปริมาณน้ําสํารองในอางเก็บนํ้าสําหรับจัดสรร
เพ่ือการเกษตรในฤดูแลงทําใหสามารถขยายพื้นที่เกษตรชลประทานและการเพาะปลูกในฤดูแลงไดอยางรวดเร็ว
ในระยะตอมาไดมีการกระจายการพัฒนาแหลงนํ้าและการเกษตรชลประทานขนาดใหญและขนาดกลางออกไป
ทั่วประเทศ สงผลใหเศรษฐกิจของประเทศเติบโตข้ึนอยางรวดเร็ว นอกจากนี้ยังมีการดําเนินงานเพ่ือแกปญหา
การขาดแคลนน้ําในระดบั ทอ งถนิ่ โดยการกอ สรางแหลงน้ําขนาดเลก็ กระจายตามพน้ื ท่ีชุมชนในชนบท

ปจจุบัน (ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2554) กรมชลประทานไดมีการพัฒนาแหลงเก็บกักนํ้าขนาดตางๆ
ไดแก อางเก็บนา้ํ ขนาดใหญ อา งเก็บน้าํ ขนาดกลาง และอา งเก็บน้ําขนาดเลก็ มคี วามจรุ วม 76,002 ลานลกู บาศกเ มตร
และในสวนของการพัฒนาพ้ืนที่ชลประทาน มีพ้ืนท่ีชลประทานรวมท้ังส้ิน 29.60 ลานไร หรือคิดเปนรอยละ 22.71
ของพื้นท่ถี อื ครองทางการเกษตร

แผนยทุ ธศาสตร กรมชลประทาน พ.ศ.2556-2559 7

แผนยุทธศาสตรกรมชลประทาน
พ.ศ. 2556-2559

1. วสิ ยั ทศั น

“กรมชลประทานเปน องคกรนําดา นการพัฒนาแหลงนา้ํ และบรหิ ารจดั การนา้ํ อยางบรู ณาการ
ใหม ีพนื้ ทีช่ ลประทาน อยูในลาํ ดบั 1 ใน 10 ของโลก”

2. พนั ธกิจ
1. พฒั นาแหลง นํ้าและเพ่ิมพ้ืนทช่ี ลประทานตามศกั ยภาพของลุม นํา้ ใหเกดิ ความสมดลุ
2. บริหารจดั การน้ําอยา งบรู ณาการใหเพยี งพอ ทัว่ ถงึ และเปนธรรม
3. ดาํ เนินการปอ งกันและบรรเทาภยั อนั เกิดจากน้าํ ตามภารกจิ อยางเหมาะสม
4. เสริมสรางการมสี วนรว มในกระบวนการพฒั นาแหลงน้าํ และการบริหารจัดการนาํ้

3. ประเด็นยุทธศาสตร
1. การพฒั นาแหลง นาํ้ และเพ่มิ พ้ืนทช่ี ลประทาน
2. การบรหิ ารจัดการนํ้าอยา งบรู ณาการ
3. การปอ งกนั และบรรเทาภยั อันเกิดจากนา้ํ ตามภารกิจ

4. ค‹านยิ มองคกร ทมุ เทในการทํางาน
มีความรบั ผดิ ชอบ
WATER for all เรยี นรูและทํางานรวมกัน
มจี รยิ ธรรมในการปฏิบตั ิงาน
Work hard มคี วามผกู พันและสามัคคี
Accountability
Teamwork
Ethics
Relationship

5. แผนทย่ี ทุ ธศาสตร
แผนท่ียุทธศาสตร แบง ออกเปน 4 มติ ิ 19 เปา ประสงค ดังนี้
1. มิติประสิทธิผลตามพันธกจิ มี 3 เปาประสงค
2. มิติคุณภาพการใหบริการ มี 4 เปาประสงค
3. มิตปิ ระสิทธิภาพของการปฏบิ ตั ิราชการ มี 8 เปาประสงค
4. มิตกิ ารพฒั นาองคก ร มี 4 เปาประสงค

8 แผนยทุ ธศาสตร กรมชลประทาน พ.ศ.2556-2559

แผนยุทธศาสตร กรมชลประทาน พ.ศ.2556-2559 9



10 แผนยทุ ธศาสตร กรมชลประทาน พ.ศ.2556-2559



แผนยทุ ธศาสตร กรมชลประทาน พ.ศ.2556-2559 11



แผนท่ียุทธศาส

12 แผนยทุ ธศาสตร กรมชลประทาน พ.ศ.2556-2559

สตรก รมชลประทาน

6. ผงั เปา‡ ประสงค ตัวชว้ี ัด กลยุทธและโครงการ

เปา ประสงค ตวั ชวี้ ัด

มติ ิท่ี 1 มติ ดิ านประสทิ ธผิ ลตามพันธกจิ

1. มีปริมาณน้ําเก็บกัก ชป01 : จาํ นวนปรมิ าณเก็บกักทีเ่ พ่ิมขน้ึ ก01 :
และ พน้ื ที่ชลประทาน ชป02 : จํานวนพน้ื ที่ชลประทานทเี่ พมิ่ ขึน้ ก02 :
เพม่ิ ข้นึ ชป03 : จํานวนแหลง นํา้ เพอ่ื ชมุ ชนท่ีเพ่ิมขึ้น

ก03 :

ก04 :

ก05 :

แผนยทุ ธศาสตร กรมชลประทาน พ.ศ.2556-2559 13 2. ทุกภาคสวนไดรับน้ํา ชป04 : รอยละของพื้นท่ีบริหารจัดการนํ้าในเขต ก06 :
อยางทั่วถึง และเปน ชลประทานตามเปาหมาย ก07 :
ธรรม ชป05 : ปริมาณน้ําท่ีจัดสรรใหท้ังในภาคอุปโภค
และภาคอตุ สาหกรรม

กลยทุ ธ โครงการ

พั ฒ น า แ ห ล  ง นํ้ า แ ล ะ ร ะ บ บ ค01 : โครงการพัฒนาแหลง นํา้ ขนาดใหญ
ชลประทานใหมใหเ ต็มศักยภาพ ค02 : โครงการพฒั นาแหลง น้ําขนาดกลาง
ปรบั ปรงุ เพมิ่ ประสทิ ธภิ าพการเกบ็ ค03 : โครงการพัฒนาแหลงนํ้าเพ่ือชุมชนหรือ
กกั นา้ํ ใหส ูงขนึ้ ชนบท
ผันน้ําจากลุมนํ้าใกลเคียงมาใช ค04 : โครงการปรับปรุงเพมิ่ ความจุอา งเกบ็ นํ้า
ประโยชน ค05 : โครงการผนั นา้ํ ระหวา งลมุ นา้ํ และอา งเกบ็ นา้ํ
จัดทําแผนแมบทในการพัฒนา ค06 : โครงการผันน้ําจากลุมนํ้านานาชาติมาใช
แหลงนํา้ ประโยชน
จัดหาแหลงเงินทุนเพ่ือการพัฒนา ค07 : โครงการจัดทําแผนพัฒนาการชลประทาน
แหลง นาํ้ ระดับลุมน้ําอยางเปนระบบ (กรอบน้ํา 60
ลานไร)
ค08 : โครงการเงนิ กเู พอ่ื วางระบบบรหิ ารจดั การนาํ้
และสรา งอนาคตประเทศ

วางแผนการสง นํา้ อยา งมีสว นรว ม ค09 : โครงการจัดทําแผนการสงนํ้ารวมกับกลุม
ปรบั ปรงุ การดาํ เนนิ งานของเงนิ ทนุ ผใู ชน าํ้
หมนุ เวยี นเพอ่ื การชลประทาน ค10 : โครงการจัดทําแผนยุทธศาสตรและแผน
ประจําปของเงินทุนหมุนเวียนเพ่ือการ
ชลประทาน

14 แผนยทุ ธศาสตร กรมชลประทาน พ.ศ.2556-2559 เปา ประสงค ตัวชีว้ ดั

3. ความสูญเสียท่ีลดลง ชป06 : รอยละของพื้นที่ความเสียหายของ ก08 :
อั น เ นื่ อ ง ม า จ า ก ภั ย พืชเศรษฐกิจในเขตชลประทานจาก
อนั เกิดจากนํา้ อุทกภัยและภัยแลง ก09 :

มติ ทิ ี่ 2 มติ ิดานคณุ ภาพการใหบรกิ าร

4. อาคารชลประทานอยู ชป07 : รอยละของอาคารชลประทานท่ีอยูใน ก10 :
ในสภาพพรอมใชง าน สภาพพรอมใชง าน

5. ผูใชน้ําไดรับความ ชป08 : ร  อ ย ล ะ ข อ ง ผู  ใ ช  นํ้ า ใ น เ ข ต พื้ น ท่ี ก06 :
พึ ง พ อ ใ จ จ า ก ก า ร การชลประทานท่ีพอใจตอการบริหาร ก11 :
บริหารน้ํา จดั การน้ํา

6. คุณภาพนํ้าไดเกณฑ ชป09 : รอยละของอางเก็บนํ้าและทางนํ้า ก12 :
มาตรฐาน ช ล ป ร ะ ท า น ท่ี คุ ณ ภ า พ น้ํ า ไ ด  เ ก ณ ฑ 
มาตรฐาน

กลยทุ ธ โครงการ

ปองกันและบรรเทาภัยโดยใช ค11 : โครงการจดั ทาํ ทางนาํ้ หลาก (Floodway) หรอื
สิง่ กอ สราง ทางผนั นาํ้ (Flood diversion channel)
ปองกันและบรรเทาภัยโดยไมใช ค12 : โครงการกาํ หนดพ้นื ทีร่ ับนา้ํ นอง
ส่งิ กอสราง ค13 : โครงการปรับปรุงพื้นที่เกษตรชลประทาน
ใหเ ปนแกม ลงิ
ค14 : โครงการขุดลอกคลอง ขุดลอกอางเก็บนํ้า
และกาํ จัดวัชพืช

บํารุงรักษาอาคารชลประทาน ค15 : โครงการจดั ทาํ ฐานขอ มลู อาคารชลประทาน
อยา งมีสวนรว ม ดว ยระบบ GIS
ค16 : โครงการบาํ รงุ รกั ษาอาคารชลประทานอยา ง
มีสว นรวม
ค17 : โครงการจางเหมากลุมผูใชน้ําในการบํารุง
รกั ษาอาคารชลประทาน

วางแผนการสงนํ้าอยา งมีสวนรว ม ค18 : โครงการกาํ หนดแผนการเพาะปลกู ทเ่ี หมาะ
เพิ่มประสิทธิภาพระบบพยากรณ สมกับฤดกู าล
เพ่ือเตอื นภยั ค19 : โครงการปรบั ปรงุ คลงั ขอ มลู ระบบพยากรณ
และเตือนภัย รวมท้ังการบริหารจัดการนํ้า
(หลากและแลง ) กรณีตา งๆ

ควบคมุ คณุ ภาพนา้ํ ดว ยเทคโนโลยี ค20 : โครงการควบคุมคุณภาพน้ําดวยเทคโนโลยี
และการบรหิ ารน้ํา และการบรหิ ารน้ํา
ค21 : โครงการประกาศเขตควบคุมทางนํ้า
ชลประทาน

เปาประสงค ตวั ชี้วดั

7. ระบบพยากรณเพ่ือ ชป10 : รอยละของระบบพยากรณเพื่อเตือนภัย ก11 :
เตือนภัยอยูในสภาพ ท่ีอยใู นสภาพพรอมใชง าน
พรอมใชง าน

มติ ิท่ี 3 มิติดานประสทิ ธภิ าพของการปฏิบัติราชการ

8. การกอสรางซอมแซม ชป11 : รอยละของการกอสรางอาคาร ก13 :
และปรบั ปรงุ แลว เสรจ็ ชลประทานที่แลว เสรจ็ ตามแผนงาน
ตามแผนงาน ชป11.1: รอ ยละของงานการกอ สรา งโครงการ
ชลประทานขนาดใหญตามแผนงาน
ชป11.2: รอ ยละของงานการกอ สรา งโครงการ
ชลประทานขนาดกลางตามแผนงาน
ชป11.3: รอ ยละของงานการกอ สรา งโครงการ
พัฒนาอันเน่ืองมาจากพระราชดําริ
ตามแผนงาน
แผนยทุ ธศาสตร กรมชลประทาน พ.ศ.2556-2559 15 ชป11.4: รอยละของงานการกอสรางงาน
ปอ งกนั และบรรเทาอทุ กภยั ตามแผนงาน
ชป11.5: รอยละของงานการกอสรางงาน
จัดรปู ท่ีดนิ ตามแผนงาน
ชป11.6: รอยละของงานการกอสรางงาน
คันคูนํ้าตามแผนงาน
ชป12 : รอ ยละของการซอ มแซม และปรบั ปรุง
อาคารชลประทานท่ีแลวเสร็จตาม
แผนงาน

กลยทุ ธ โครงการ

เพิ่มประสิทธิภาพระบบพยากรณ ค22 : โครงการกอสรางสถานีอุตุ-อุทกวิทยา
เพือ่ เตือนภัย ใหค รอบคลมุ
ค23 : โครงการตดิ ตง้ั ระบบโทรมาตรและเตอื นภยั
ใหครอบคลุม

บริหารงานกอสรางซอมแซมและ ค24 : โครงการจัดการความเส่ียงดานการจัดซื้อ
ปรบั ปรุงอยา งมปี ระสิทธิภาพ จดั จา งและการบรหิ ารสญั ญา

16 แผนยทุ ธศาสตร กรมชลประทาน พ.ศ.2556-2559 เปา ประสงค ตัวชี้วัด

9. การเตรยี มความพรอ ม ชป13 : รอ ยละของงานศกึ ษาโครงการทแี่ ลว เสรจ็ ก14 :
กอนการกอสรางเปน ตามแผนงาน
ไปตามแผนงาน ชป14 : รอยละของงานสํารวจที่แลวเสร็จตาม
แผนงาน
ชป15 : รอ ยละของงานออกแบบทแี่ ลว เสร็จตาม
แผนงาน
ชป16 : รอ ยละของงานจดั หาทดี่ นิ ทแี่ ลว เสรจ็ ตาม
แผนงาน

กลยทุ ธ โครงการ

พัฒนาระบบงานศึกษา สํารวจ ค25 : โครงการพัฒนาระบบงานศึกษา สํารวจ
ออกแบบ และจดั หาทีด่ นิ ออกแบบ และจัดหาท่ดี ิน

เปา ประสงค ตวั ช้วี ดั

10. ประชาชน ชุมชน และ ชป17 : รอยละของจํานวนครั้งที่ดําเนินการจัด ก15 :
หนวยงานที่เกี่ยวของ มวลชนสมั พนั ธใ นระยะวางโครงการกอ น
มีสวนรวม การกอสรางและระหวางกอสรางท่ีแลว
เสรจ็ ตามแผนงาน
ชป18 : รอยละของจํานวนกลุมผูใชนํ้าพ้ืนฐาน
ท่ีมีการจัดต้ังกลุมผูใชน้ําพื้นฐานแลว
เสรจ็ ตามแผนงาน

แผนยทุ ธศาสตร กรมชลประทาน พ.ศ.2556-2559 17 11. มีการประชาสัมพันธ ชป19 : รอยละของจํานวนความถี่ในการเผยแพร ก16 :
ตอ เนื่องและท่ัวถึง และประชาสมั พนั ธแลวเสร็จตามแผนงาน

กลยทุ ธ โครงการ

ยกระดับการมีสวนรวมของ ค26 : โครงการเสรมิ สรา งการมสี ว นรว มในขนั้ ตอน
ประชาชน กอนการกอ สรา ง
● โครงการจัดทําขอตกลงระหวาง
เกษตรกรกับชลประทาน
● โครงการสรางการมีสวนรวมโดยการ
ใหความรูแกประชาชนหรือหนวยงาน
ท่เี กยี่ วขอ ง
ค27 : โครงการเสรมิ สรา งการมสี ว นรว มในขนั้ ตอน
ระหวา งการกอสราง
● จัดตง้ั กลุมผใู ชน ํ้า
● ฝกอบรมเกษตรกรกอนการสงมอบงาน
ค28 : โครงการเสรมิ สรา งการมสี ว นรว มในขน้ั ตอน
หลงั การกอ สราง
● โครงการจัดตั้งกลมุ ผูใชนํา้ ชลประทาน
● โครงการเสรมิ สรา งความเขม แขง็ องคก ร
ผูใ ชน า้ํ ชลประทาน
● โครงการจัดต้ังคณะกรรมการจัดการ
ชลประทาน (JMC)
ค29 : โครงการยวุ ชลกรเรียนรูงานชลประทาน

พัฒนาการประชาสัมพันธใหมี ค30 : โ ค ร ง ก า ร ป ร ะ เ มิ น ผ ล คุ ณ ภ า พ ก า ร
ประสิทธผิ ล ประชาสัมพันธ

18 แผนยทุ ธศาสตร กรมชลประทาน พ.ศ.2556-2559 เปาประสงค ตวั ช้ีวัด

12. มีการวางแผนและ ชป20 : ประสิทธภิ าพการชลประทาน ก17 :
ดําเนินการบริหาร ชป20.1 : ประสิทธิภาพการชลประทานใน
จดั การนํา้ ทีด่ ี ฤดูฝน
ชป20.2 : ประสิทธิภาพการชลประทานใน
ฤดแู ลง

13. มีผลการศึกษา วิจัย ชป21 : รอยละของการจัดทําโครงการวิจัยและ ก18 :
และพัฒนาสนับสนุน พฒั นาทแี่ ลว เสรจ็ ตามแผนงาน
การดาํ เนนิ งาน

14. มรี ะเบยี บและกฎหมาย ชป22 : รอ ยละของประกาศ คาํ สั่ง กฎ ระเบียบ ก19 :
ทท่ี นั สมัย และกฎหมายที่ไดมีการยกราง ปรับปรุง
แกไ ข

15. ระบบบริหารงานมี ชป23 : ผลคะแนนจากคํารับรองการปฏิบัติ ก20:
ประสทิ ธิภาพ ราชการ ก21 :
ชป24 : รอ ยละของอตั ราการเบกิ จา ยงบประมาณ
รายจายลงทนุ

กลยุทธ โครงการ

เพ่มิ ประสิทธิภาพการชลประทาน ค31 : โครงการเพม่ิ ประสิทธภิ าพการชลประทาน

สนับสนุนการวิจัยและพัฒนาเพ่ือ ค32 : โครงการศึกษา วิจัยและพัฒนาเพื่อ
การชลประทานและใชประโยชน การชลประทาน
ท่เี กดิ ตอเนื่องจากการวจิ ยั ค33 : โครงการศึกษา วิจัยและพัฒนาในสายงาน
สนบั สนนุ

ทบทวนและปรับปรงุ กฎ ระเบียบ ค33 : โครงการปรบั ปรงุ กฎ ระเบยี บ และกฎหมาย
และกฎหมาย ใหส อดคลอ งกบั การ ใหเ ปน ปจจุบนั
ปฏิบตั ิงานในปจ จบุ นั

พฒั นาระบบงานใหม ปี ระสทิ ธภิ าพ ค34 : โครงการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการ
พั ฒ น า ร ะ บ บ บ ริ ห า ร ง า น ใ ห  มี ภาครัฐ (PMQA)
ประสิทธิภาพ ค35 : โครงการจดั ทาํ คาํ รบั รองการปฏบิ ตั ริ าชการ
ระดับกรม และระดบั สาํ นัก/กอง
ค36 : โครงการพัฒนาระบบการบริหารผลการ
ปฏบิ ตั ิราชการในระดับบคุ คล
ค37 : โครงการติดตามเรงรัดผลการปฏิบัติงาน
และผลการเบกิ จา ยงบประมาณ

เปา ประสงค ตวั ชี้วัด

มติ ทิ ี่ 4 มติ ดิ านการพัฒนาองคกร

16. บุคลากรมีสมรรถนะ ชป25 : ผลคะแนนจาก HR Scorecard ก22 :
และขวัญกําลังใจใน ชป26 : รอยละเฉล่ียของขาราชการกรม ท่ีผาน
การทํางาน การประเมินสมรรถนะในระดับท่ีองคกร
คาดหวัง
ชป27 : รอยละของระดับความพึงพอใจของ
บุคลากรตอการปฏิบัตงิ าน

17. องคกรมีการจัดการ ชป28 : คาเฉล่ียคะแนนการตรวจประเมินการ ก23 :
ความรู จดั การความรู (KMA)

แผนยทุ ธศาสตร กรมชลประทาน พ.ศ.2556-2559 19 18. มรี ะบบฐานขอมูลและ ชป29 : ระดับความสําเร็จในการพัฒนาระบบ ก24 :
เทคโนโลยีสารสนเทศ ฐานขอ มลู สารสนเทศ
ที่เหมาะสม

19. เครอ่ื งจกั ร เครอ่ื งมอื อยู ชป30 : รอยละของเคร่ืองจักร เครื่องมือ อยูใน ก25 :
ในสภาพพรอมใชง าน สภาพพรอ มใชง าน

กลยทุ ธ โครงการ

บริหารทรัพยากรบุคคลอยางเปน ค38: โครงการตามแผนปฏบิ ัติการประจาํ ป ตาม
ระบบ แผนกลยุทธก ารบริหารทรัพยากรบคุ คล

ประเมินการจัดการความรูอยาง ค39: โครงการตรวจประเมินการจัดการความรู
เปนระบบ (KMA)
ค40 : โครงการประกวดผลงาน หนวยงานและ
บุคคล ดา นการจัดการความรูดีเดน

พัฒนาระบบฐานขอมูลและ ค41 : โครงการพฒั นาระบบฐานขอ มลู สารสนเทศ
เทคโนโลยสี ารสนเทศใหเ หมาะสม ตามแผนปฏบิ ัตงิ านประจาํ ป
และเพียงพอตอ การปฏิบตั งิ าน ค42 : โครงการพฒั นาระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ
ตามแผนปฏิบตั งิ านประจําป

บํารุงรักษาและซอมแซมใหญ ค43 : โครงการซอมแซมใหญประจาํ ป

7. เปา‡ หมายตัวชี้วดั ตามแผนยุทธศาสตรก รมชลประทาน

ตัวชว้ี ัด ป 2556 ป 2557 ป 2558 ป 2559 รวม 4 ป

มติ ิท่ี 1 มติ ดิ า นประสทิ ธิผลตามพันธกิจ

ชป01 : จาํ นวนปรมิ าณเกบ็ กกั ทเ่ี พ่มิ ขนึ้ 23.83 217.10 62.76 5.85 309.54
(ลานลูกบาศกเ มตร)

ชป02 : จาํ นวนพ้ืนท่ีชลประทานท่เี พิม่ ขึ้น (ไร) 200,000 200,000 200,000 200,000 800,000

ชป03 : จาํ นวนแหลง นา้ํ เพือ่ ชุมชนท่ีเพม่ิ ขึ้น (แหง ) 150 150 150 150 600

ชป04 : รอ ยละของพื้นท่ีบรหิ ารจัดการน้าํ 100 100 100 100 -
ในเขตชลประทานตามเปา หมาย

ชป05 : ปริมาณนํ้าท่ีจัดสรรใหท้ังในภาคอุปโภคและ 1,200 1,260 1,320 1,380 5,160
ภาคอตุ สาหกรรม (ลานลกู บาศกเ มตร)
(ลา นบาท) 600 630 660 690 2,580

ชป06 : รอ ยละของพนื้ ทคี่ วามเสยี หายของพชื เศรษฐกจิ 0.15 0.15 0.15 0.15 -
ในเขตชลประทานจากอทุ กภยั และภยั แลง

มิติท่ี 2 มิติดานคณุ ภาพการใหบ ริการ

ชป07 : รอยละของอาคารชลประทานท่ีอยูในสภาพ 100 100 100 100 -
พรอ มใชง าน

ชป08 : รอยละของผูใชน้ําในเขตพื้นที่การชลประทาน 85 85 85 85 -
ที่พอใจตอการบรหิ ารจดั การน้าํ

ชป09 : รอยละของอางเก็บน้ําและทางนํ้าชลประทาน 100 100 100 100 -
ทคี่ ณุ ภาพนา้ํ ไดเ กณฑมาตรฐาน

1. ใชกรณีของสาํ นักชลประทาน

2. ใชกรณีของสํานักบริหารจัดการนํ้าและอุทกวิทยา ≤2 ≤2 ≤2 ≤2 -
(ช่ือตัวชี้วัด :จํานวนครั้งที่ตรวจพบคุณภาพนํ้าต่ํากวา
เกณฑมาตรฐานในแมนาํ้ สายสาํ คญั )

ชป10 : รอ ยละของระบบพยากรณเ พอื่ เตอื นภยั ทอี่ ยใู น 100 100 100 100 -
สภาพพรอมใชงาน

มิตทิ ี่ 3 มติ ดิ านประสทิ ธภิ าพของการปฏบิ ัตริ าชการ

ชป11 : รอ ยละของการกอ สรา งอาคารชลประทานทแี่ ลว
เสรจ็ ตามแผนงาน

20 แผนยทุ ธศาสตร กรมชลประทาน พ.ศ.2556-2559

ตวั ชวี้ ดั ป 2556 ป 2557 ป 2558 ป 2559 รวม 4 ป

ชป11.1: รอ ยละของงานการกอสรา งโครงการ 100 100 100 100 -
ชลประทานขนาดใหญต ามแผนงาน เสร็จกอ น เสรจ็ กอ น เสรจ็ กอน เสร็จกอ น
ชป11.2: รอยละของงานการกอสรา งโครงการ 1 ก.ย. 1 ก.ย. 1 ก.ย. 1 ก.ย.
ชลประทานขนาดกลางตามแผนงาน
ชป11.3: รอยละของงานการกอสรางโครงการพัฒนา
อนั เนอื่ งมาจากพระราชดํารติ ามแผนงาน
ชป11.4: รอยละของงานการกอสรางงานปองกันและ
บรรเทาอทุ กภยั ตามแผนงาน
ชป11.5: รอยละของงานการกอสรางงานจัดรูปที่ดิน
ตามแผนงาน
ชป11.6: รอ ยละของงานการกอสรางงานคนั คูนาํ้ ตาม
แผนงาน

ชป12 : รอยละของการซอมแซม และปรับปรุงอาคาร 100 100 100 100 -
ชลประทานท่แี ลวเสรจ็ ตามแผนงาน เสรจ็ กอ น เสรจ็ กอ น เสร็จกอ น เสร็จกอ น
1 ก.ย. 1 ก.ย. 1 ก.ย. 1 ก.ย.

ชป13 : รอยละของงานศึกษาโครงการท่ีแลวเสร็จตาม 100 100 100 100 -
แผนงาน เสร็จกอน เสรจ็ กอ น เสรจ็ กอน เสร็จกอน
1. ใชกรณขี องสาํ นักชลประทาน 1 ก.ย. 1 ก.ย. 1 ก.ย. 1 ก.ย.

2. ใชก รณขี องสาํ นกั บรหิ ารโครงการ (ชอื่ ตวั ชว้ี ดั : จาํ นวน 100 100 100 100 -
ของรายงานการศกึ ษาโครงการทด่ี าํ เนนิ การแลว เสรจ็ )

ชป14 : รอยละของงานสาํ รวจที่แลวเสร็จตามแผนงาน 100 100 100 100 -
1. ใชกรณีของสาํ นกั ชลประทาน เสร็จกอน เสร็จกอ น เสร็จกอ น เสรจ็ กอน
2. ใชกรณีของสํานกั สํารวจดานวิศวกรรมและธรณีวิทยา 1 ก.ย. 1 ก.ย. 1 ก.ย. 1 ก.ย.

ชป15 : รอยละของงานออกแบบที่แลวเสร็จตาม 100 100 100 100 -
แผนงาน เสรจ็ กอน เสรจ็ กอ น เสรจ็ กอน เสรจ็ กอน
1 ก.ย. 1 ก.ย. 1 ก.ย. 1 ก.ย.

ชป16 : รอยละของงานจัดหาท่ีดินที่แลวเสร็จตาม 100 100 100 100 -
แผนงาน เสรจ็ กอน เสร็จกอ น เสรจ็ กอ น เสร็จกอน
10 ก.ย. 10 ก.ย. 10 ก.ย. 10 ก.ย.

ชป17 : รอยละของจํานวนครั้งท่ีดําเนินการจัดมวลชน 100 100 100 100 -
สัมพันธในระยะวางโครงการกอนการกอสราง
และระหวางกอ สรา งที่แลว เสร็จตามแผนงาน

แผนยุทธศาสตร กรมชลประทาน พ.ศ.2556-2559 21

ตวั ชีว้ ัด ป 2556 ป 2557 ป 2558 ป 2559 รวม 4 ป

ชป18 : รอ ยละของจาํ นวนกลมุ ผใู ชน า้ํ พน้ื ฐานทม่ี กี ารจดั 100 100 100 100 -
ตั้งกลุมผใู ชนาํ้ พ้นื ฐานแลว เสร็จตามแผนงาน

ชป19 : รอยละของจํานวนความถี่ในการเผยแพรและ 100 100 100 100 -
ประชาสัมพนั ธแลว เสร็จตามแผนงาน

ชป20 : ประสิทธิภาพการชลประทาน (รอยละ) 70 70 70 70 -
ชป20.1 :ประสทิ ธิภาพการชลประทานในฤดฝู น
ชป20.2 :ประสทิ ธิภาพการชลประทานในฤดแู ลง

ชป21 : รอยละของการจัดทําโครงการวิจัยและพัฒนา 100 100 100 100 -
ทแี่ ลว เสร็จตามแผนงาน เสร็จกอ น เสร็จกอ น เสร็จกอน เสร็จกอ น
1 ก.ย. 1 ก.ย. 1 ก.ย. 1 ก.ย.

ชป22 : รอยละของประกาศ คําสั่ง กฎ ระเบียบ และ 100 100 100 100 -
กฎหมายที่ไดม ีการยกรา ง ปรบั ปรุงแกไข

ชป23 : ผลคะแนนจากคํารบั รองการปฏบิ ตั ิราชการ 5.00 5.00 5.00 5.00 -

ชป24 : รอยละของอัตราการเบิกจายงบประมาณ 86 86 86 86 -
รายจายลงทุน

มิติท่ี 4 มติ ดิ านการพัฒนาองคก ร

ชป25 : ผลคะแนนจาก HRScorecard 5.00 5.00 5.00 5.00 -

ชป26 : รอยละเฉลี่ยของขาราชการกรม ที่ผาน 80 80 80 80 -
การประเมนิ สมรรถนะในระดบั ทอ่ี งคกรคาดหวัง

ชป27 : รอ ยละของระดบั ความพงึ พอใจของบคุ ลากรตอ 85 85 85 85 -
การปฏิบัติงาน

ชป28 : คาเฉลี่ยคะแนนการตรวจประเมินการจัดการ 4.01-5.00 4.01-5.00 4.01-5.00 4.01-5.00 -
ความรู (KMA)

1. ระดับกรม

2. ระดบั สาํ นกั /กอง 3.01-5.00 3.01-5.00 3.01-5.00 3.01-5.00 -

ชป29 : ระดบั ความสาํ เรจ็ ในการพฒั นาระบบฐานขอ มลู 5.00 5.00 5.00 5.00 -
สารสนเทศ

ชป30 : รอยละของเคร่ืองจักร เครื่องมือ อยูในสภาพ 80 80 80 80 -
พรอมใชงาน

22 แผนยุทธศาสตร กรมชลประทาน พ.ศ.2556-2559


Click to View FlipBook Version