The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by punjaporn pailoy, 2019-06-06 01:06:18

Local Thai desserts and types

Local Thai desserts and types

หน่วยท่2ี

ขนมไทยประจำท้องถิน่

ปัญจาภรณ์ ไพลอย

บทท่ี 2

ประเภทและชนิดขนมไทยประจำท้องถิ่น

จุดประสงค์เชิงพฤตกิ รรม

1. บอกชนิดของขนมไทยได้
2. แบ่งประเภทของขนมไทยตามกรรมวธิ ีการทาได้
3. แบง่ กลุ่มของขนมไทยได้
4. บอกชนิดของขนมไทยในเทศกาลต่างๆได้
5. บอกชนิดของขนมไทยในแต่ละภาคได้
6. เลือกขนมไทยสาหรับเป็ นของขวญั ตามเทศกาลไดถ้ ูกตอ้ งและเหมาะสม
7. บอกชนิดของขนมไทยท่ีใชต้ ามประเพณีและพิธีกรรมตา่ งๆได้

เนื้อหำสำระ

1. ชนิดของขนมไทย
2. ประเภทของขนมไทย :
3. กลุ่มของขนมไทย
4. ขนมไทยในเทศกาลต่างๆ
5. ขนมไทยแบ่งตามภูมิภาคภูมิภาค
6. ขนมไทยของขวญั นานาเทศกาล
7. ขนมไทยตามประเพณีและพิธีกรรม

ชนิดของขนมไทย

ขนมหวำนไทย หมายถึง อาหารชนิดหน่ึงที่ไมใ่ ช่กบั ขา้ ว แต่เป็นอาหารที่รับประทานตามหลงั ของ
คาว เช่น ในอาหารม้ือกลางวนั มีก๋วยเต๋ียวไก่เป็นของคาว ผรู้ ับประทานอาจจะรับประทานทบั ทิมกรอบเป็น
ของหวาน เป็นตน้ เม่ือบริโภคอาหารม้ือสาคญั ๆ เช่น ม้ือเชา้ ม้ือกลางวนั ม้ือเยน็ ควรบริโภคท้งั ของคาวและ
ของหวาน ส่ิงที่ใชเ้ ป็ นของหวาน อาจเป็นขนมหรือผลไมก้ ไ็ ดน้ อกจากจะรับประทานขนมหวานหลงั ของ
คาว เราอาจรับประทานขนมหรือขนมหวานในเวลาที่มิไดร้ ับประทานอาหารคาว แตจ่ ะรับประทานขนม
หรือขนมหวานเป็นของวา่ ง หรือรับประทานขนมหวานกบั เคร่ืองดื่ม

ขนมหวานไทยจะมีความหวานนา หรือมีความหวานจนรู้สึกในลิ้นของผรู้ ับประทานการทาขนม
หวานไทยเป็นเร่ืองท่ีตอ้ งศึกษาและฝึกฝนตอ้ งใชศ้ ิลปะ วทิ ยาศาสตร์และ ความอดทน และความเป็น
ระเบียบ ความพถิ ีพิถนั ในการประกอบ ขนมไทยแทๆ้ ตอ้ งมีกลิ่นหอม หวาน มนั มีความประณีต ท่ีเกิดข้ึน

ต้งั แต่การเตรียมส่วนผสม จนกระทง่ั วธิ ีการทา ขนมไทยสามารถจดั แบ่งเป็นชนิดตา่ งๆ ไดต้ ามลกั ษณะของ
เคร่ืองปรุง ลกั ษณะกรรมวธิ ีในการทา และลกั ษณะการหุงตม้ คือ

1. ขนมประเภทไข่ เช่น ฝอยทอง ทองหยบิ ทองหยอด สังขยา ฯลฯ
2. ประเภทน่ึง เช่น ขนมช้นั ขนมสาล่ี ขนมน้าดอกไม้ ขนมทราย ฯลฯ
3. ขนมประเภทตม้ เช่น ขนมตม้ แดง ขนมตม้ ขาว มนั ตม้ น้าตาล ฯลฯ
4. ขนมประเภทกวน เช่น ขนมเปี ยกปูน ซ่าหริ่ม ขนมตะโก้ ฯลฯ
5. ขนมประเภทอบและผงิ เช่น ขนมดอกลาดวน ขนมบา้ บิ่น ขนมหนา้ นวล ฯลฯ
6. ขนมประเภททอด เช่น ขนมกง ขนมฝักบวั ขนมสามเกลอ ฯลฯ
7. ขนมประเภทปิ้ ง เช่น ขา้ วเหนียวปิ้ ง ขนมจาก ฯลฯ
8. ขนมประเภทเช่ือม เช่น กลว้ ยเชื่อม สาเกเช่ือม ฯลฯ
9. ขนมประเภทฉาบ เช่น เผอื กฉาบ กลว้ ยฉาบ มนั ฉาบ ฯลฯ
10. ขนมประเภทน้ากะทิ เช่น เผอื กน้ากะทิ ลอดช่องน้ากะทิ ฯลฯ
11. ขนมประเภทน้าเชื่อม เช่น ผลไมล้ อยแกว้ วนุ้ น้าเช่ือม ฯลฯ
12. ขนมประเภทบวด เช่น กลว้ ยบวดชี แกงบวดเผือก ฯลฯ
13. ขนมประเภทแช่อิ่ม เช่น มะมว่ งแช่อิ่ม มะเขือเทศแช่อิ่ม สะทอ้ น

ประเภทของขนมไทย

ขนมไทย คือ อาหารชนิดหน่ึงที่ไม่ใช่กบั ขา้ ว แต่เป็ นอาหารที่รับประทานตามหลงั ของคาว เช่น ใน
อาหารม้ือกลางวนั มีก๋วยเตี๋ยวไก่เป็ นของคาว ผูร้ ับประทานอาจจะรับประทานทบั ทิมกรอบเป็ นของหวาน
เป็นตน้ เมื่อบริโภคอาหารม้ือสาคญั ๆ เช่น ม้ือเชา้ ม้ือกลางวนั ม้ือเยน็ ควรบริโภคท้งั ของคาวและของหวาน
สิ่งที่ใชเ้ ป็ นของหวานอาจเป็ นขนมหรือผลไมก้ ็ได้ นอกจากจะรับประทานขนมหวานหลงั ของคาว เราอาจ
รับประทานขนมหรือของหวานในเวลาท่ีมิไดร้ ับประทานอาหารคาว แต่จะรับประทานขนมหรือของหวาน
เป็นของวา่ ง ขนมไทยสามารถจดั แบ่งเป็ นชนิดตา่ ง ๆ ไดต้ ามลกั ษณะของเคร่ืองปรุง ลกั ษณะกรรมวธิ ีในการ
ทา และลกั ษณะการหุงตม้ คือ

1. ขนมประเภทเช่ือม เป็นการใส่ส่วนผสมลงในน้าเชื่อมท่ีกาลงั เดือดจนสุก เช่น กลว้ ยเชื่อม จาวตาลเช่ือม
และขนมเชื่อมที่ทาจากไข่ท้งั หลาย เช่น ทองหยิบ ทองหยอด ฝอยทอง ซ่ึงเรามกั เรียกว่าขนมเคร่ืองทอง
ขนมประเภทน้ี เป็ นขนมท่ีทาจากไข่แดง แต่เดิมตารับขนมไทยมีวตั ถุดิบเพียง 3 อยา่ ง คือ แป้ง น้าตาล และ
มะพร้าว ไม่ค่อยมีการใช้ไข่เป็ นส่วนผสม อาจเป็ นเพราะไข่มีกลิ่นคาว มกั ใช้ทาอาหารคาวเป็ นกบั ขา้ ว
มากกว่า แต่ทา้ วทองกีบมา้ ตน้ เคร่ืองคนสาคญั ในรัชสมยั ของพระนารายณ์มหาราช เป็ นบุคคลสาคญั ที่มี

บทบาทคิดคน้ ประยุกตเ์ อาขนมฝรั่งเขา้ มาผสมผสานกบั เครื่องปรุงขนมไทย จนทาใหม้ ีรสชาติ และหนา้ ตา
ท่ีแตกตา่ งมากมาย เป็นที่เล่ืองชื่อตราบจนทุกวนั น้ี

ตัวอย่ำงขนมเช่ือม : จำวตำลเชื่อม

(จำวตำลเช่ือม)
จงั หวดั เพชรบุรีได้ชื่อว่าเป็ นจงั หวดั ที่มีต้นตาลมากท่ีสุดในประเทศไทย ตน้ ตาลเมืองเพชร ให้
ผลผลิตน้าตาลโตนดที่ดีที่สุด จึงมีชื่อเสียงติดปากคนทวั่ ไปวา่ “น้าตาลเพชรบุรี” เพราะมีรสหวานหอมอร่อย
มีรสชาติกลมกล่อมชวนรับประทาน จนเป็ นท่ีมาของคาว่า “หวานเหมือนน้าตาลเมืองเพชร” "จาวตาล
เชื่อม" เป็ นจาวตาล ในระยะที่สาม ซ่ึงเน้ือในของจาวตาลจะแข็งซุยคลา้ ยจาวมะพร้าว นามาเช่ือมจนน้าตาล
แทรกเขา้ ไปในเน้ือ ขนมชนิดน้ีไดร้ ับความนิยมมาก จึงมีราคาสูงกวา่ ขนมเช่ือมอื่น ๆ

ตวั อย่ำงขนมเชื่อมทที่ ำจำกไข่ “ขนมฝอยทอง”

(ขนมฝอยทอง)

ฝอยทอง เป็ นขนมด้งั เดิมของโปรตุเกส ลกั ษณะเป็ นเส้นฝอย ๆ สีทอง ทาจากไข่แดงของไข่เป็ ด
เค่ียวในน้าเดือดและน้าตาลทราย ชาวโปรตุเกสใชร้ ับประทานกบั ขนมปัง กบั อาหารม้ือหลกั จาพวกเน้ือสัตว์
และใช้รับประทานกบั ขนมเคก้ โดยมีกาเนิดจากเมืองอาไวโร่ (โปรตุเกส: Aveiro) เมืองชายฝั่งทางทิศ
ตะวนั ตกเฉียงเหนือของประเทศโปรตุเกส
2. ขนมประเภทต้ม น่ึง มูน : ขนมประเภทตม้ จะใชห้ มอ้ หรือกระทะตม้ น้าใหเ้ ดือด ใส่ขนมลงไปตม้ จนสุก
แลว้ ตกั ข้ึน เช่น ขนมปลากริมไข่เต่า ขนมประเภทน่ึง เช่น ขนมสายบวั ขนมช้นั เป็น การทาขนมใหส้ ุก โดย
ใชไ้ อน้า ดว้ ยการนาขนมที่ตอ้ งการน่ึง ใส่ลงในลงั ถึง ท่ีมีน้าเดือด ปิ ดฝาลงั ถึงไมใ่ หไ้ อน้าออก ส่วนขนม
ประเภท มูน เป็นการเอาส่วนเน้ือขนมผสมกบั น้าเช่ือมขณะที่สุกรัอนใหม่ ๆ เพ่อื ใหส้ ่วนผสมเขา้ กนั ปิ ดดว้ ย
ภาชนะใหไ้ อร้อนระอุและส่วนของเน้ือขนมดูดซึมน้าเชื่อมเขา้ ไวจ้ นแหง้ เช่น ขนมข้ีหนู เป็นตน้

ตวั อย่ำงขนมประเภทต้ม : ขนมปลำกริมไข่เต่ำ

(ขนมปลำกริมไข่เต่ำ)
ขนมปลากริมไข่เต่า เป็ นขนมท่ีแยกเป็ นสองหมอ้ ปลากริมเป็ นชื่อของปลาน้าจืดมีหวั แหลม แป้ง
ขนมปลากริมจึงมีรูปร่างเป็ นเส้นยาว หวั ทา้ ยเรียว รสชาติของขนมปลากริมออกหวานและหอมน้าตาลโตนด
ตวั สีน้าตาล มีชื่อเล่นท่ีชาวบา้ นเรียกวา่ “ตวั หวาน” ส่วนขนมไข่เต่า เลียนแบบไข่เต่าน้าจืด ตวั กลม ๆ แต่
ปัจจุบนั ทาตวั แป้งเหมือนกบั ปลากริม เพียงแต่เป็ นตวั ขาว รสชาติเค็ม ๆ มนั ๆ ของกะทิ ชาวบา้ นเรียก “ตวั
เคม็ ” เมื่อรับประทานจะไดค้ รบทุกรสชาติ คือ รสกลมกล่อม หวาน มนั หอม และเคม็

ตัวอย่ำงขนมประเภทน่ึง : ขนมช้ัน

(ขนมช้ัน)

ขนมช้นั เป็นขนมไทยโบราณท่ีใชใ้ นงานพิธีมงคล โดยมีความเชื่อวา่ จะตอ้ งหยอดขนมใหไ้ ด้ 9 ช้นั

จึงจะเป็ น ศิริมงคลเจริญกา้ วหนา้ แก่เจา้ ภาพ ขนมช้นั เป็นขนมท่ีมีความนุ่ม เหนียว หวาน มนั จะมี

ส่วนผสมของ กะทิ น้าตาล และแป้ง 3 – 4 ชนิด แลว้ แตส่ ูตรและความชอบเน้ือขนมในแต่ละแบบ ซ่ึงแป้งแต่

ละอยา่ งก็จะมีคุณสมบตั ิทาใหข้ นมมีเน้ือตา่ งกนั โดย :

- แป้งมนั : จะทาใหเ้ น้ือขนมเนียน นุ่ม เหนียว หนืด ดูใสเป็นมนั

- แป้งทา้ วยายมอ่ ม : จะทาใหเ้ น้ือขนมเนียน เหนียว แขง็ แต่จะใสนอ้ ยกวา่ แป้งมนั

- แป้งขา้ วเจา้ : จะทาใหเ้ น้ือขนมแขง็ และอยตู่ วั

- แป้งถวั่ เขียว : จะทาใหข้ นมอยตู่ วั ไม่เหนียวมากเกินไป

ตวั อย่ำงขนมประเภทมูน : ขนมขีห้ นูหรือขนมทรำย

(ขนมขีห้ นูหรือขนมทรำย)

ขนมข้ีหนู ทาจากแป้งขา้ วเจา้ นวดกบั น้าลอยดอกไมท้ ี่ให้ความหอม เช่น ดอกมะลิ ดอกกระดงั งา
เม่ือนวดแป้งกบั น้าจนไดแ้ ป้งที่เป็ นกอ้ นแลว้ นากระชอนหรือแร่งมาร่อนแป้งบนผา้ ที่ปูไวบ้ นลงั ถึงสาหรับ
น่ึง ร่อนแป้งเสร็จก็นาแป้งน้นั ไปน่ึงให้สุก พอแป้งสุกจึงนาแป้งน้นั ไปมูนกบั น้าเชื่อมที่ตอ้ งเคี่ยวให้เสร็จ
เสียก่อน ดว้ ยการเอาน้าเช่ือมเทใส่แป้งร้อน ๆ คนดว้ ยพายใหแ้ ป้งเขา้ กบั น้าเช่ือม ปิ ดฝากะเวลาใหไ้ ดท้ ี่จึงเปิ ด
ฝาแลว้ ใชพ้ ายคนตะล่อมใหข้ นมที่มูนไว้ ฟู เบา ถา้ ตอ้ งการใหข้ นมมีสีสันน่ารับประทาน ก็ใส่สีเล็กนอ้ ยใน
น้าเชื่อม เม่ือจะรับประทานใหโ้ รยดว้ ยมะพร้าวขูด ขนมที่ดีจะตอ้ งเป็ นเหมือนเมด็ ทรายละเอียด ร่วนซุย ไม่
จบั เป็นกอ้ น หวามเลก็ นอ้ ย หอมชื่นใจเมื่อรับประทาน
3. ขนมประเภททอด : เป็ นการทาขนมให้สุก ดว้ ยการนาขนมที่ตอ้ งการจะทอด ใส่ลงในกระทะท่ีมีน้ามนั
ต้งั ไฟร้อน แลว้ ทอดจนขนมสุกเหลืองตามตอ้ งการ เช่น ขนมกง ขนมสามเกลอ

ตวั อย่ำงขนมประเภททอด : ขนมกง

(ขนมกง)

ขนมกง เป็ นขนมไทยโบราณ สมยั อยธุ ยาเรียก ขนมกงเกวียน เพราะมีรูปร่างเป็ นวงกลม ตรงกลาง
เป็นกากบาทคลา้ ยลอ้ เกวยี น นิยมใชใ้ นงานแตง่ งาน มีความหมายใหบ้ ่าวสาวรักกนั ชว่ั นิรันดรดุจกงเกวยี นที่
หมุนต่อเนื่องไม่จบสิ้น การทาขนมกงแบบชาวบา้ นจะใช้ถว่ั เขียวควั่ ท้งั เปลือกจนเหลือง ป่ นให้ละเอียด
นาไปตม้ จนเปื่ อยแลว้ ใส่น้าตาลป๊ี บ มะพร้าวขดู กวนในกระทะใบบวั จนเหนียวไดท้ ่ี พกั ไวใ้ หเ้ ยน็ แลว้ จึงป้ัน

เป็ นเส้นกลม จบั ปลายชนกนั ให้เป็ นวงกลม แลว้ ป้ันไส้อีกสองเส้นวางพาดบนวงกลมให้เป็ นรูปกากบาท
กดให้ปลายแต่ละมุมข้ึนเป็ นป่ ุม แลว้ ชุบแป้งนาลงทอดในน้ามนั แป้งท่ีใชเ้ ป็ น แป้งขา้ วเหนียวนวดกบั
กะทิ ใส่ไขไ่ ก่ เกลือ และน้าปูนใส ทางภาคใต้ ของประเทศไทย นาไปประกอบพิธีกรรมในประเพณีสารท
เดือนสิบ

ตัวอย่ำงขนมประเภททอด : ขนมสำมเกลอ

(ขนมสำมเกลอ)
ขนมสามเกลอ ถูกจดั เป็ นขนมเส่ียงทายในงานแต่งงาน ส่วนผสมท่ีใชท้ าเหมือนกบั ขนมกง ต่างกนั
เพียงใส่งาขาวคว่ั เพ่ิมเติม ป้ันเป็ นลูกกลม ๆ บีบติดแลว้ ชุบแป้งทอด ถา้ ทอดแลว้ ติดกนั ท้งั 3 ลูก ถือวา่ บ่าว
สาวจะรักใคร่กลมเกลียวกนั ดี หากติดกนั 2 ลูก แสดงวา่ จะมีลูกยากหรืออาจไม่มีเลย และหากหลุดจากกนั
หมดท้งั 3 ลูก ทายวา่ ท้งั คู่จะอยูก่ นั ไมย่ งั่ ยนื หรือมีชีวติ สมรสที่ไมม่ ีความสุข บางทีชุบแป้งทอดถึง 3-4 คร้ังก็
ไม่สาเร็จ ตอ้ งเปล่ียนคนทาใหม่ เรียกวา่ “หาหมอมาแก”้
4. ขนมประเภท ปิ้ ง ย่ำง : เป็ นการทาใหส้ ุกโดยการวางขนมที่ตอ้ งการปิ้ งไวเ้ หนือไฟ มีตะแกรงรองรับ ไฟ
ไม่ตอ้ งแรงนกั กลบั ไปกลบั มาจนขนมสุก อาหารบางชนิดใชใ้ บตองห่อ แลว้ ปิ้ ง จนใบตองท่ีห่อเกรียมหรือ
กรอบ เช่น ขนมจาก ขา้ วเหนียวปิ้ ง ก่อนที่จะปิ้ งใชข้ ้ีเถา้ กลบไว้ เพอ่ื ใหไ้ ฟร้อนสม่าเสมอกนั

ตวั อย่ำงขนมประเภทปิ้ ง ย่ำง : ขนมจำก

(ขนมจำก)
ขนมจาก เป็ นขนมพ้ืนบา้ นในยา่ นจงั หวดั สมุทรปราการและบริเวณที่ติดชายฝั่งทะเลอื่นๆ ทาดว้ ย
แป้งขา้ วเหนียว ส่วนมากนิยมใชข้ า้ วเหนียวดา มะพร้าวทึนทึกขดู หยาบๆ น้าตาลมะพร้าว และเกลือเลก็ นอ้ ย
ท่ีเรียกวา่ ขนมจาก เพราะเป็ นขนมที่ห่อดว้ ยใบจากสด ที่ไดจ้ ากตน้ จาก ซ่ึงเป็ นพืชในสกุลวงศป์ าล์ม ข้ึนเป็ น
กออยตู่ ามป่ าชายเลนและบริเวณริมน้าเคม็ ขนมน้ีทาให้สุกดว้ ยการยา่ งไฟคลา้ ยการเผาขา้ วหลามแต่ใชค้ วาม
ร้อนนอ้ ยกวา่

5. ขนมประเภทกวน : ขนมไทยประเภทกวน โดยมากมีส่วนผสมของของเหลวผสมใหร้ วมเขา้ เป็ นเน้ือ
เดียวกนั โดยมีเทคนิคในการกวนส่วนผสมให้ไปในทิศทางเดียวกนั เพ่ือให้ส่วนผสม ขน้ เหนียวเร็ว ยิ่ง
กวนนาน ขนมยง่ิ เหนียว การกวนขนมท่ีใชแ้ ป้ง ควรคนใหท้ วั่ ถึงกน้ กระทะ เพ่ือไม่ใหต้ ิดกน้ กระทะ จนแป้ง
เร่ิมจบั ตวั ขน้ หรือเริ่มสุก แป้งจะจบั ตวั เป็ นกอ้ น มีความหนืด ตอ้ งจบั พายไมใ้ นการกวนให้แน่น การกวน
ขนมท่ีใช้พืชที่นามากวนมีหลายชนิด ถ้าเป็ นพืชเน้ือแน่น เช่น เผือก ถว่ั เมล็ดแห้ง ควรน่ึงหรือตม้ ให้สุก
เสียก่อน จึงบดให้ละเอียด แลว้ กวนกบั น้ากะทิ ให้เป็ นเน้ือเดียวกนั ไม่เป็ นกอ้ น จึงใส่น้าตาล กวนใหท้ วั่ ถึง
กน้ กระทะ ไม่หยุดมือ จนกวา่ ขนมจะขน้ และเหนียว ลกั ษณะที่ดีของส่วนผสมขนมไทยประเภทกวน คือ
ส่วนผสมจะเป็นกอ้ น มีความขน้ เหนียว เกือบแหง้ ไม่ติดภาชนะ สามารถกดป้ันเป็นรูปร่างได้ โดยฉพาะการ
กวนผลไม้ เช่น ขนมลูกชุบ

ตวั อย่ำงขนมประเภทกวน : ขนมลกู ชุบ

(ขนมลูกชุบ)

ขนมลูกชุบ เป็ นขนมไทยที่ใชถ้ ว่ั ทองหรือถวั่ เขียวกะเทาะเปลือกแลว้ ตม้ นามาบดแลว้ กวนกบั กะทิ
จนเน้ือเนียนละเอียดไดท้ ่ี นามาป้ันเป็ นรูปทรงต่าง ๆ ของ ผกั ผลไม้ เช่น พริก มะเขือม่วง มะยม มงั คุด
มะมว่ ง เป็นตน้ แลว้ ทาดว้ ยสีผสมอาหารให้เป็ นสีของผกั และผลไมน้ ้นั ๆ สีตอ้ งเนียนเรียบเสมอกนั ทาแลว้
สีไม่สะดุด เสียบไม้ นาไปชุบกบั วุน้ ให้ ข้ึนเงางาม ทิ้งให้แห้ง เสียบกน้ ขนมดว้ ยใบแกว้ ที่นามาตดั เจียน
ประดบั ให้สวยงาม การทาลูกชุบจะตอ้ งใชศ้ ิลปะในการป้ันให้เหมือนของจริงเพียงแต่ยอ่ ส่วนให้เลก็ ลง เป็ น
ขนมที่มีรูปลกั ษณ์ที่สวยงาม มีเสน่ห์ และเป็ นที่ประทบั ใจสาหรับผูท้ ี่เห็นคร้ังแรก โดยเฉพาะชาวต่างชาติ
ปัจจุบนั น้ีหาทานขนมลูกชุบที่อร่อยไมไ่ ดง้ ่ายนกั

กลุ่มของขนมไทย

อาจแบ่งไดเ้ ป็น 4 หมวดดงั น้ี
1. ขนมชำววงั เช่น ขนมเบ้ือง วนุ้ กระทิ วนุ้ สงั ขยา วนุ้ ใบเตย ขนมไข่เห้ีย ขนมลูกชุบ ขนมหมอ้ ตาล
2. ขนมตำมฤดูกำล หรือ ขนมชำวบ้ำน เช่น ลูกตาลเช่ือม ฟักทองเช่ือม มนั เช่ือม มะขามแช่อ่ิม ถวั่ เขียว

ตม้ น้าตาล ขา้ วตงั ขนมลืมกลืน ขา้ วเมา่ บด ขนมกรวย ขนมข้ีหนู ขนมน้าดอกไม้ เป็ นตน้

3. ขนมในศำสนำและประเพณี เช่น ขนมใส่ไส้ ขนมเทียน ขนมสามงาน ขนมโพรงแสม ขนมเสน่ห์
จนั ทร์ ขนมรังนก ลอดช่อง ขา้ วเม่า ขนมถว้ ยฟู ขนมปลากริมไข่เต่า ขนมบวั ลอย ขนมหูชา้ ง ขนม
คนั หลาว นางเล็ด เป็นตน้

4. ขนมจำกต่ำงประเทศ เช่น ขนมฝร่ัง ทองมว้ น ขนมสมั ปันนี ขนมทองเอก ขนมทองโปร่ง
ทองหยอด ฝอยทอง เมด็ ขนุน ทองหยบิ สังขยาเผอื ก

ขนมไทยในเทศกำลต่ำงๆ

ขนมไทยไดเ้ ขา้ มามีบทบาทในงานบุญต้งั แต่อดีตมาแลว้ ที่คนไทยทาขนมพเิ ศษ ๆ เฉพาะงานบุญข้ึน
นน่ั หมายถึงในปี หน่ึง ๆ จะมีการทาขนมชนิดน้นั เพียง 1 คร้ังเทา่ น้นั เนื่องจากทายากและตอ้ งใชแ้ รงใจ
แรงกายของคนหลาย ๆ คนร่วมกนั ชาวบา้ นจะทาขนมน้นั ๆ ในปริมาณมาก ซ่ึงถา้ เหลือจากงานบุญกจ็ ะ
นาไปแจกจา่ ยเพ่อื นบา้ นและเกบ็ ไวก้ ินเอง หากจะเรียกขนมไทยในงานบุญน้ีวา่ ขนมตามฤดูกาลก็คงจะไมผ่ ดิ
นกั

เทศกำลตรุษสงกรำนต์ สมยั ก่อน คนไทยถือเอาวนั สงกรานตเ์ ป็นวนั ข้ึนปี ใหม่ ก่อนท่ีรัฐบาลจอม

พล ป.พบิ ูลสงคราม จะกาหนดใหว้ นั ที่ ๑ มกราคม เป็นวนั ข้ึนปี ใหม่ตามแบบปฏิทินสากลต้งั แต่เมื่อปี พ.ศ.
๒๔๘๔ จนกระทงั่ ปัจจุบนั เดิมทีเทศกาลข้ึนปี ใหม่สงกรานตข์ องไทยเราจะกาหนดวนั งานไว้ ๓ วนั ดว้ ยกนั
โดยถือเอาวนั ท่ี ๑๓ เมษายน เป็นวนั สงกรานต์ วนั ที่ ๑๔ เมษายนเป็นวนั เนา และวนั ท่ี ๑๕ เมษายนเป็นวนั
เถลิงศก ข้ึนจุลศกั ราชใหม่ตามสุริยคติ ขา้ วเหนียวแดงและกะละแมเป็นพระเอกและนางเอกในเทศกาลตรุษ
สงกรานต์ การกวนขา้ วเหนียวแดงและกะละแมน้นั ตอ้ งใชแ้ รงมาก จึงตอ้ งอาศยั ช่วงเทศกาลน้ีท่ีมีพอ่ แมพ่ ่ี
นอ้ ง และญาติสนิทมิตรสหายมาร่วมประชุมกนั โดยพร้อมเพรียง ร่วมแรงร่วมใจกนั ทา เม่ือเสร็จแลว้ กน็ าไป
ทาบุญท่ีวดั ร่วมกนั สะทอ้ นใหเ้ ห็นถึงความสมคั รสมานสามคั คีในครอบครัวและในสงั คมไทย

การทาขนมปี ใหม่ของคนไทยสมยั ก่อนจึงตอ้ งทาให้เสร็จก่อนวนั สงกรานต์ เพราะเมื่อถึงวนั งาน
ชาวบา้ นจะไปทาบุญเล้ียงพระและก่อพระเจดียท์ รายท่ีวดั แลว้ จึงรดน้าดาหวั เล่นสงกรานตก์ นั ไปท้งั ๗ วนั
ขนมปี ใหม่ของไทยจึงเป็ นขนมพ้นื เมืองที่ทาข้ึนแลว้ สามารถเก็บไวไ้ ดห้ ลายวนั คือขา้ วเหนียวแกว้ ขา้ ว
เหนียวแดง และกะละแม ในบรรดาขนมท้งั สามชนิดน้ี การกวนกะละแมถือวา่ เป็นเร่ืองใหญ่ใช่วา่ ชาวบา้ นจะ
นิยมกวนกนั ทุกปี ส่วนใหญ่มกั จะทาขา้ วเหนียวแกว้ บา้ ง ขา้ วเหนียวแดงบา้ งสลบั กนั ไป เพราะสองอยา่ งน้ีทา
ไดง้ ่ายกวา่ หรือถา้ บา้ นไหนต้งั ใจจะกวนกะละแม และเป็นครอบครัวใหญ่มีญาติพ่ีนอ้ งมาก บรรยากาศช่วง
กวนกะละแมจะคึกคกั เป็นพิเศษ ทุกคนจะช่วยกนั เตรียมการประมาณ ๒ วนั โดยเฉพาะเดก็ ๆ ท่ีเป็น
ลูกหลาน จะถือเป็นเร่ืองสนุกสนานเพราะไมเ่ พียงแตไ่ ดก้ ินกะละแมกน้ กระทะเทา่ น้นั ยงั อาจจะไดก้ ิน
มะพร้าวเผา ออ้ ยเผาอีกดว้ ย การกวนกะละแม สิ่งท่ีตอ้ งใชไ้ ดแ้ ก่ น้าตาลหมอ้ หรือน้าตาลป๊ี บ มะพร้าวและ
ขา้ วเหนียว ก่อนวนั กวน ๑ วนั ชาวบา้ นจะคดั เลือกมะพร้าวหา้ วประมาณ ๑๐-๑๕ ลูก มาไวเ้ พอื่ ใชค้ ้นั น้ากะทิ

ตามนสัดส่วนที่ต่างจะตอ้ งอาศยั ความชานาญวา่ ขา้ วเหนียวกี่ทะนานตอ่ มะพร้าวกี่ลูกและใชน้ ้าตาลใน
ปริมาณเท่าใด ข้นั ตอนแรก ตอ้ งนาขา้ วเหนียวไปแช่น้าเพ่ือตกั หยอดใส่โม่หิน แน่นอนวา่ ตอ้ งใชค้ นที่มี
ร่างกายแขง็ แรงช่วยกนั โม่ต้งั แตต่ อนบ่าย กวา่ จะเสร็จก็ตกประมาณ ๓-๔ ทุม่ ของวนั เดียวกนั จากน้นั ก็จะทบั
ถุงน้าแป้งไวด้ ว้ ยลูกโม่ใหน้ ้าไหลออกจนเหลือเพยี งเน้ือแป้งหมาด ๆ ในวนั รุ่งข้ึนประมาณตีสามตีส่ี บรรดา
ผใู้ หญจ่ ะตื่นข้ึนมาช่วยกนั ทาขนมแสงไฟจากตะเกียงลานและตะเกียงลานและตะเกียงร้ัวจะถูกจุดใหส้ วา่ ง
เม่ือเด็กเห็นหรือไดย้ นิ เสียงผใู้ หญพ่ ดู คุยกนั กอ็ ดลุกข้ึนมาร่วมวงไมไ่ ด้ บางคนก็อาสาช่วยขดู มะพร้าวจานวน
ไม่นอ้ ยเลย จากน้นั กจ็ ะค้นั มะพร้าวขดู ดว้ ยน้าลอยดอกมะลิใชก้ รองแยกออกมาเป็นหวั กะทิและหางกะทิ
ส่วนที่เป็นหวั กะทิใหเ้ ทลงกระทะใบใหญ่ เคี่ยวดว้ ยไฟจนแตกมนั แลว้ ตกั ใส่อ่างเกบ็ ไว้

ข้นั ตอ่ ไป คือนาแป้งที่เตรียมไวใ้ ส่กะละมงั เทหาง กะทิและใส่น้าตาลหมอ้ มาผสมคลุกเคลา้ เขา้
ดว้ ยกนั เสร็จ แลว้ กเ็ ทลงกระทะใบบวั คือกระทะเหลก็ ขนาดใหญท่ ่ีวางอยบู่ นเตา ใส่ฟื นใหล้ ุกโชนแลว้ จึงเริ่ม
ลงมือกวนกะละแมกนั ต้งั แตเ่ ชา้ ประมาณเกา้ โมง ช่วงแรกแป้งกย็ งั เหลวอยใู่ ชพ้ ายดา้ มเดียวกก็ วนไดง้ ่าย ช่วง
น้ีเด็ก ๆ ท่ีนึกสนุกมกั จะมาขอผใู้ หญก่ วน แตก่ ระน้นั กต็ อ้ งคอยขดู กน้ กระทะเสมอเพอื่ ป้องกนั ไมใ่ หแ้ ป้ง
ไหมต้ ิดกน้ กระทะ และพอแป้งงวดขน้ เหนียวเดือดเป็นฟองแลว้ เด็ก ๆ ตอ้ งระวงั ไม่ใหฟ้ องแตกถูกตวั เพราะ
จะทาใหผ้ วิ หนงั พองและแสบมาก เมื่อถึงข้นั น้ีแลว้ ผใู้ หญม่ กั จะลงมือกวนเอง มีการราไฟและเร่งไฟบา้ งเป็น
จงั หวะ จนกระทางแป้งเริ่มเปล่ียนเป็นสีน้าตาลอ่อน ๆ แลว้ ค่อย ๆ เป็นสีน้าตาลแก่ ช่วงน้ีแป้งและน้าตาลจะ
เหนียวหนุบหนึบข้ึนเร่ือย ๆ จึงตอ้ งออกแรงกวนมากเป็นพเิ ศษ ราว ๖ โมงเยน็ ของวนั น้นั กะละแมกจ็ ะ
กลายเป็นสีดาและเหนียวมากจนแทบจะกวนไมไ่ หวตอ้ งใชพ้ ายอนั ที่สองเขา้ ช่วยเพราะไมอ่ ยา่ งน้นั กน้
กระทะจะไหมไ้ ด้ ถา้ สงั เกตเห็นวา่ กน้ กระทะทาท่าจะไหมแ้ ลว้ ตอ้ งรีบเติมหวั กะทิที่เคี่ยวแตกมนั แลว้ ลงไป
โดยใส่ทีละนอ้ ยต้งั แต่เวลาบ่ายแก่ ๆ เป็นตน้ มา ฟ้าเริ่มมืด กะละแมท่ีกวนก็เหนียวไดท้ ่ีดีแลว้ จึงคอ่ ย ๆ ราไฟ
ในเตาให้อ่อนลง เพ่อื ป้องกนั ไมใ่ หก้ น้ กระทะไหม้ จากน้นั จึงใชพ้ ายท้งั ๒ ดา้ มตกั กะละแมใส่กระดง้ ที่ปูดว้ ย
เปลือกกาบหมากเพราะกาบหมากจะช่วยใหก้ าละแม
มีกล่ินหอมกวา่ ใบตอง เป็นอนั เสร็จข้นั ตอนในการกวนกะละแม เพอื่ เก็บไวก้ ินในวนั รุ่งข้ึน ส่วนใหญ่เด็ก ๆ
มกั จะอดใจไม่ไหวจะคอยขดู กะละแมที่กน้ กระทะกินกนั ก่อนอยา่ งเอร็ดอร่อย บางคนก็จะนามะพร้าวอ่อน
บา้ งออ้ ย บา้ ง มาหมกไฟท่ียงั พอมีเช้ืออยเู่ พ่ือใหม้ ีกลิ่นหอมมากข้ึน

ปัจจุบนั ประเพณีการใหข้ นมปี ใหม่เป็นกะละแม ขา้ วเหนียวแดง ขา้ วเหนียวแกว้ เร่ิมไม่เป็นที่นิยม
แลว้ เพราะคนไทยส่วนใหญ่มกั จะซ้ือของขวญั อยา่ งอื่นมอบใหก้ นั ในวนั ปี ใหม่ แต่ก็ใช่วา่ ขนมทงั สามชนิดน้ี
จะหมดไปจากสงั คมไทยเพราะทุกวนั น้ีก็ยงั เห็นมีกะละแมห่อเป็ นคาเลก็ ๆ น่ารับประทานวางขายกบั ขา้ ว
เหนียวแกว้ ขา้ วเหนียวแดง ตามร้านขายขนมไทยอยทู่ วั่ ไป อีกท้งั ไมไ่ ดเ้ จาะจงวา่ จะตอ้ งมีเฉพาะช่วงเทศกาล
ปี ใหมข่ องไทยเทา่ น้นั

เทศกำลสำรทไทย

เทศกาลสารทไทยเป็นการทาบุญอุทิศส่วนกุศลใหแ้ ก่ผลู้ ่วงลบั ทางภาคกลางจะมีการรวมพลในแต่
ละบา้ นหรือในหมู่บา้ น เพื่อกวนกระยาสารทไปทาบุญถวายพระ โดยมีกลว้ ยไขผ่ ลงามสุกปลงั่ เคียงคูก่ นั ไป
ดว้ ย ส่วนทางภาคใตเ้ ทศกาลสารทไทยหรือท่ีเรียกกนั โดยทวั่ ไปวา่ งานสารทเดือน ๑๐ น้ี เป็นประเพณี
ยงิ่ ใหญป่ ระจาปี ที่จดั ข้ึนในระดบั จงั หวดั โดยเฉพาะที่จงั หวดั นครศรีธรรมราชน้นั จดั ข้ึนอยา่ งเอิกเกริกเลย
ทีเดียว ขนมในงานบุญสารทเดือน ๑๐ ของชาวปักษใ์ ตม้ ีหลายชนิดดว้ ยกนั อาทิ ขนมลา ขนมบา้ ขนมดีซา
ขนมพอง ขนมไขป่ ลา ขนมโค ขนมแดง ฯลฯ

งำนบุญออกพรรษำหรืองำนตกั บำตรเทโว

ขา้ วตม้ มดั หรือขา้ วตม้ ผดั เป็นดาวดวงเด่นของงานบุญออกพรรษาหรืองานตกั บาตรเทโวของภาค
กลางจะห่อและมดั เป็นกลีบโดยใชใ้ บตองและเชือกกลว้ ย ส่วนทางใตห้ ่อเป็นทรงกรวยโดยใชใ้ บกะพอ้ แต่
แตไ่ ม่มดั บางทอ้ งถ่ินห่อเป็นกอ้ นดว้ ยใบเตยหรือใบออ้ ย แลว้ ไวห้ างยาว เรียกวา่ "ขา้ วตม้ ลูกโยน" การนา
ขา้ วตม้ มดั มาใส่บาตรทาบุญจนเกิดข้ึนเป็นธรรมเนียมน้นั มีจุดประสงคเ์ พ่ือใหพ้ ระภิกษุสงฆใ์ ชเ้ ป็นเสบียง ใน
การเดินทางไปเผยแพร่พระธรรมคาสอนซ่ึงยดึ เป็นแบบแผนมาต้งั แต่สมยั โบราณ

งำนมงคลต่ำงๆ

ในงานมงคลต่าง ๆ ของไทยอยา่ งงานแตง่ งาน งานทาบุญอายุ งานข้ึนบา้ นใหม่ งานบวช ฯลฯ ขนม
ไทยไดเ้ ขา้ ไปมีบทบาทในสารับอาหารหวานท่ีทาข้ึนเล้ียงพระและสารับอาหารหวานสาหรับเล้ียงแขกเหร่ือ
มาเน่ินนานแลว้ เน่ืองจากความเช่ือท่ีสืบทอดต่อ ๆ กนั มาวา่ ขนมหวานเป็นอาหารพเิ ศษสาหรับผมู้ ีบุญ ความ
หวานช่วยสร้างสรรคม์ ิตรภาพและความรัก ดงั น้นั จึงอาจกล่าวไดว้ า่ สาหรับสงั คมไทยแลว้ ขนมหวานของ
ไทยมีความหมายเกี่ยวขอ้ งกบั บุญกุศล ความรัก ความสุข และความสามคั คี

งำนทำบุญเลยี้ งพระ

ขนมหวานของไทยที่นิยมทาข้ึนเพอ่ื ทาบุญเล้ียงพระในงานมงคล ไดแ้ ก่ ขนมตระกูลทองท้งั หลาย
อาทิ ทองหยบิ ทองหยอด ฝอยทอง ทองเอก และขนมที่มีช่ืออนั เป็นมงคลอยา่ ง ขนมถว้ ยฟู ขนมช้นั ฯลฯ
ขนมที่ใชเ้ ฉพาะในพิธีแห่ขนั หมากงานแตง่ งานก็มี ขนมกง ขนมสามเกลอ ขนมพระพาย ขนมโพรงแสม
ขนมชะมด ฯลฯ ขนมท่ีใชต้ ิดกณั ฑเ์ ทศน์กม็ ีขนมหนา้ นวล ขนมช้นั ขนมฝักบวั ขนมผงิ ขนมทองมว้ น ฯลฯ

งำนแต่งงำน

ขนมในงานมงคลอื่น ๆ ก็มีชื่ออนั เป็นมงคลและมีความหมายไปในทางท่ีดี เช่นกนั อาทิ
ขนมกงหรือขนมกงเกวยี น ซ่ึงหมายถึงกงเกวยี นท่ีหมุนไปขา้ งหนา้ เช่นเดียวกบั พระธรรมจกั ร ความหมายที่
ตอ้ งการส่ือถึงงานแต่งงานก็คือ ตอ้ งการใหค้ ูบ่ ่าวสาวรักและครองคูอ่ ยดู่ ว้ ยกนั ชวั่ นิจนิรันดร์
ขนมสำมเกลอ ซ่ึงเป็นขนมที่แสดงถึงความสามคั คี และไม่มีวนั พรากจากกนั โดยใชเ้ ป็ นขนมเส่ียงทายใน
งานแตง่ งาน ลกั ษณะของขนมสามเกลอเป็นลูกกลม ๆ เรียงกนั ๓ ลูกแบบกอ้ นเส้า การเส่ียงทายจะดูกนั ตอน

ทอด กล่าวคือ ถา้ ทอดแลว้ ยงั อยตู่ ิดกนั ๓ ลูก ถือวา่ บา่ วสาวจะรักใคร่กลมเกลียวกนั ถา้ ทอดแลว้ ติดกนั ๒ ลูก
แสดงวา่ จะมีลูกยากหรือไม่มีเลย และถา้ หลุดจากกนั หมด ไมต่ ิดกนั เลย แสดงวา่ ชีวติ คู่จะไม่ยงั่ ยนื หรือชีวติ
สมรสจะไมม่ ีความสุข อีกนยั หน่ึง…ถา้ ทอดขนมสามเกลอแลว้ พองฟูข้ึนจะถือวา่ เป็นคู่ท่ีเหมาะสมกบั ราวก่ิง
ทองกบั ใบหยก แต่ถา้ ทอดแลว้ ดา้ น ไมพ่ องฟู ก็ถือวา่ ใชไ้ ม่ได้ สาเหตุที่คนไทยในสมยั โบราณใชข้ นม
ดงั กล่าวในงานมงคลก็เน่ืองจากช่ืออนั เป็นมงคลนน่ั เอง โดยเฉพาะช่ือขนมที่มีคาวา่ "ทอง" ประกอบ คนไทย
เราถือวา่ ทองเป็ นของดีมีมงคล ซ่ึงการท่ีนาขนมท่ีมีคาวา่ "ทอง" มาใชใ้ นงานมงคลกเ็ พ่ือที่จะไดม้ ีบุญกศุ ลมี
เงินมีทอง มีลาภยศ สรรเสริญ สมช่ือขนมนน่ั เอง นอกจากจะมีขนมมงคลนามท่ีใชใ้ นงานมงคลแลว้ ท่ีตอ้ ง
มีคือ
ขนมกง รูปร่างเป็นลอ้ รถไม่มีรอยต่อ มีความเช่ือวา่ จะทาใหค้ วามรักของคูบ่ ่าวสาวจีรัง ไม่มีวนั แยกจากกนั
ขนมโพรงแสม มีรูปร่างยาวใหญ่คลา้ ยกบั เสาเรือน ทาให้อยกู่ นั ยนื ยาว
ขนมใส่ไส้ ขนมฝักบวั ขนมบา้ บิ่น ขนมนมสาว อีกดว้ ย

งำนเลยี้ งต่ำงๆ

นอกจากงานบุญและงานมงคลดงั กล่าวแลว้ ในสมยั ก่อนยงั มีงานเล้ียงใหมข่ องเหล่าเศรษฐีและ
ขา้ ราชการผมู้ ีเมตตามุทิตาประจาใจซ่ึงจะเรียกชาวบา้ นมากินขนมกนั ขนมที่ถูกนามาเล้ียงในงานน้ีก็คือ ขนม
ส่ีถว้ ยอนั ไดแ้ ก่ ขนมไขก่ บหรือเมด็ แมงลกั ขนมนกปล่อยหรือลอดช่อง ขนมนางลอยหรือขา้ วเมา่ และขนม
ไอต้ ้ือหรือขา้ วเหนียวดาน่ึง ขนมท้งั ๔ ชนิดน้ี จะรับประทานร่วมกบั น้ากะทิ เรียกไดว้ า่ คนกินอ่ิมอร่อยสบาย
ทอ้ ง คนทาคนปรุงไดบ้ ุญ และคนออกเงินเล้ียงกส็ ุขใจที่ไดท้ าบุญทาทานขนมไทยนยั แห่ง

กำรเลื่อนตำแหน่ง

ขนมจ่ำมงกุฎ การยกยอ่ งกนั ที่สุดเห็นจะไดแ้ ก่การมอบขนมจ่ามงกุฎใหเ้ น่ืองจากคาวา่ "จ่า" แปลวา่
หวั หนา้ ส่วนคาวา่ "มงกฎุ " ส่ือถึงพระราชาหรือผเู้ ป็นใหญ่ ดงั น้นั จา่ มงกุฎจึงหมายถึงหวั หนา้ ผเู้ ป็ นใหญ่
ดงั น้นั จ่ามงกุฎจึงหมายถึงหวั หนา้ ผเู้ ป็นใหญ่ ความหมายสูงส่งอยา่ งน้ี เม่ือบวกกบั การทาที่แสนยาก อีกท้งั ยงั
ตอ้ งใชศ้ ิลปะในการทาค่อนขา้ งสูง จ่ามงกฎุ จึงถูกมอบใหเ้ ฉพาะบุคคลที่ไดร้ ับการยกยอ่ งอยา่ งสูงจริง ๆ
เทา่ น้นั

ขนมช้ัน หมายถึง ความเจริญเป็นช้นั ที่สูงข้ึน ๆ
ขนมถ้วยฟู หมายถึง ความเจริญฟูเฟ่ื อง
ขนมทองเอก หมายถึง ชีวติ ท่ีเป็นหน่ึงตลอดกาล
ขนมทองพลุ หมายถึง ความเจริญ มีชื่อเสียงโด่งดงั เหมือนพลุ
ขนมลูกชุบ หมายถึง ความน่ารักน่าเอน็ ดู ซ่ึงมกั จะเป็นผูใ้ หญ่ใหผ้ นู้ อ้ ย
ขนมมะพร้ำวแก้วหรือข้ำวเหนียวแก้ว ที่ส่ือถึงแกว้ อนั ประเสริฐ
ขนมเสน่ห์จันทร์ หมายถึง ความมีเสน่ห์ดุจดง่ั ดวงจนั ทร์วนั เพญ็

ขนมตำล หมายถึง ชีวติ ท่ีหวานราบรื่น

ขนมไทยแบ่งตำมภูมภิ ำคภูมิภำค

ขนมไทยภำคเหนือ
ส่วนใหญ่จะทาจากขา้ วเหนียว และส่วนใหญจ่ ะใชว้ ธิ ีการตม้ เช่น ขนมเทียน ขนมวง ขา้ วตม้ หวั
หงอก มกั ทากนั ในเทศกาลสาคญั เช่นเขา้ พรรษา สงกรานต์ ขนมท่ีนิยมทาในงานบุญเกือบทุกเทศกาลคือ
ขนมใส่ไส้หรือขนมจอ๊ ก ขนมท่ีหาซ้ือไดท้ ว่ั ไปคือ ขนมปาดซ่ึงคลา้ ยขนมศิลาอ่อน ขา้ วอีตูหรือขา้ วเหนียว
แดง ขา้ วแตนหรือขา้ วแต๋น ขนมเกลือ ขนมท่ีมีรับประทานเฉพาะฤดูหนาว ไดแ้ ก่ ขา้ วหนุกงา ซ่ึงเป็นงาคว่ั ตา
กบั ขา้ วเหนียว ถา้ ใส่น้าออ้ ยดว้ ยเรียกงาตาออ้ ย ขา้ วแคบหรือขา้ วเกรียบวา่ ว ลูกก่อ ถว่ั แปะยี ถว่ั แระ ลูกลาน
ตม้
ในจงั หวดั แม่ฮ่องสอน ขนมพ้นื บา้ นไดแ้ ก่ ขนมอาละหวา่ ซ่ึงคลา้ ยขนมหมอ้ แกง ขนมเปงมง้ ซ่ึง
คลา้ ยขนมอาละหวา่ แต่มีการหมกั แป้งใหฟ้ ูกอน ขนมส่วยทะมินทาจากขา้ วเหนียวน่ึง น้าตาลออ้ ยและกะทิ
ในช่วงที่มีน้าตาลออ้ ยมากจะนิยมทาขนมอีก 2 ชนิดคือ งาโบ๋ ทาจากน้าตาลออ้ ยเคี่ยวใหเ้ หนียวคลา้ ยตงั เม
แลว้ คลุกงา กบั แปโหย่ ทาจากน้าตาลออ้ ยและถว่ั แปยี มีลกั ษณะคลา้ ยถว่ั

ขนมไทยภำคกลำง
ส่วนใหญ่ทามาจากขา้ วเจา้ เช่น ขา้ วตงั นางเลด็ ขา้ วเหนียวมูล และมีขนมที่หลุดลอดมาจากร้ัววงั
จนแพร่หลายสู่สามญั ชนทว่ั ไป เช่น ลูกชุบ หมอ้ ขา้ วหมอ้ แกง ฝอยทอง ทองหยบิ เป็นตน้

ขนมไทยภำคอสี ำน
เป็นขนมท่ีทากนั ง่ายๆ ไม่พิถีพิถนั มากเหมือนขนมภาคอ่ืน ขนมพ้นื บา้ นอีสานไดแ้ ก่ ขา้ วจี่ บาย
มะขามหรือมะขามบา่ ยขา้ ว ขา้ วโป่ งนอกจากน้นั มกั เป็ นขนมในงานบุญพิธี ท่ีเรียกวา่ ขา้ วประดบั ดิน โดย
ชาวบา้ นนาขา้ วที่ห่อใบตอง มดั ดว้ ยตอกแบบขา้ วตม้ มดั กระยาสารท ขา้ วทิพย์ ขา้ วยาคู ขนมพ้นื บา้ นของ
จงั หวดั เลยมกั เป็นขนมง่ายๆ เช่น ขา้ วเหนียวน่ึงจิม้ น้าผ้งึ ขา้ วบา่ ยเกลือ คือขา้ วเหนียวป้ันเป็นกอ้ นจิ้มเกลือให้
พอมีรสเคม็ ถา้ มีมะขามจะเอามาใส่เป็นไส้เรียกมะขามบา่ ยขา้ ว น้าออ้ ยกะทิ ทาดว้ ยน้าออ้ ยที่เคี่ยวจนเหนียว
ใส่ถว่ั ลิสงคว่ั และมะพร้าวซอย ขา้ วพองทามาจากขา้ วตากควั่ ใส่มะพร้าวหน่ั เป็นชิ้นๆ และถวั่ ลิสงควั่ กวนกบั
น้าออ้ ยจนเหนียวเทใส่ถาด ในงานบุญต่างๆจะนิยมทาขนมปาด (คลา้ ยขนมเปี ยกปูนของภาคกลาง) ลอดช่อง

และขนมหมก (แป้งขา้ วเหนียวโม่ ป้ันเป็ นกอ้ นกลมใส่ไส้กระฉีก ห่อเป็ นสามเหลี่ยมคลา้ ยขนมเทียน นาไป
น่ึง)

ขนมไทยภำคใต้
ชาวใตม้ ีความเชื่อในเทศกาลวนั สารท เดือนสิบ จะทาบุญดว้ ยขนมท่ีมีเฉพาะในทอ้ งถิ่นภาคใต้
เทา่ น้นั เช่น ขนมลา ขนมพอง ขา้ วตม้ ห่อดว้ ยใบกะพอ้ ขนมบา้ หรือขนมลูกสะบา้ ขนมดีซาหรือเมซา ขนม
เจาะหูหรือเจาะรู ขนมไขป่ ลา ขนมแดง เป็ นตน้
ตวั อยา่ งของขนมพ้นื บา้ นภาคใต้ ไดแ้ ก่
➢ ขนมหนา้ ไข่ ทาจากแป้งขา้ วเจา้ นวดกบั น้าตาล นาไปน่ึง หนา้ ขนมทาดว้ ย กะทิผสมไข่ น้าตาล เกลือ
ตะไคร้และหวั หอม ราดบนตวั ขนม แลว้ นาไปน่ึงอีกคร้ัง
➢ ขนมข้ีมนั ไม้ เป็นขนมของชาวไทยมุสลิม ทาจากมนั สาปะหลงั นาไปตม้ ใหส้ ุก โรยดว้ ยแป้งขา้ ว
หมาก เก็บไว้ 1 คืน 1 วนั จึงนามารับประทาน
➢ ขนมจูจ้ ุน ทาจากแป้งขา้ วเจา้ นวดกบั น้าเช่ือม แลว้ เอาไปทอด มีลกั ษณะเหนียวและอมน้ามนั
➢ ขนมคอเป็ ด ทาจากแป้งขา้ เจา้ ผสมกบั แป้งขา้ วเหนียว นวดรวมกบั ไข่ไก่ รีดเป็นแผน่ ตดั เป็นชิ้นๆ
เอาไปทอด สุกแลว้ เอาไปเคลา้ กบั น้าตาลโตนดท่ีเคี่ยวจนเหนียวขน้
➢ ขนมคนที ทาจากใบคนที ผสมกบั แป้งและน้าตาล น่ึงใหส้ ุก คลุกกบั มะพร้าวขดู จิม้ กบั น้าตาลทราย
➢ ขนมกอแหละ ทาจากแป้งขา้ วเจา้ กวนกบั กะทิและเกลือ เทใส่ถาด โรยตน้ หอม ตดั เป็ นชิ้นๆ โรย
หนา้ ดว้ ย มะพร้าวขดู คว่ั กุง้ แหง้ ป่ น และน้าตาลทราย
➢ ขนมกา้ นบวั ทาจากขา้ วเหนียวน่ึงสุก นาไปโขลกดว้ ยครกไมจ้ นเป็นแป้ง รีดใหแ้ บน ตากแดดจน
แหง้ ตดั เป็นรูปสี่เหลี่ยมผนื ผา้ ทอดใหส้ ุก ฉาบดว้ ยน้าเชื่อม
➢ ขา้ วเหนียวเชงา เป็นขา้ วเหนียวน่ึงสุก ตาผสมกบั งาและน้าตาลทราย
➢ ขา้ วเหนียวเสือเกลือก คลา้ ยขา้ วโพดคลุกของภาคกลางแต่เปลี่ยนขา้ วโพดเป็ นขา้ วเหนียวน่ึงสุกและ
ใส่กะทิดว้ ย
➢ ข้ีหมาพองเช มีลกั ษณะเป็นกอ้ นๆ ทาจากขา้ วเหนียวควั่ สุกจนเป็นสีน้าตาล ตาใหล้ ะเอียดเคลา้ กบั
มะพร้าวขดู น้าตาลโตนดที่เคี่ยวจนขน้ เคลา้ ใหเ้ ขา้ กนั ดี แลว้ ป้ันเป็นกอ้ น

ขนมไทยของขวญั นำนำเทศกำล

ขนมไทย มีมากมายหลายชนิด ท้งั ที่เป็นขนมไทยแบบโบราณ และขนมท่ีรับมาจากตา่ งประเทศจน
กลืนเป็น ขนมของไทย ดว้ ยความช่างประดิดประดอย คิดคน้ และววิ ฒั นาการของคนไทย ทาให้ ขนมไทย
โดดเด่นเป็นเอกลกั ษณ์เฉพาะและมีคุณคา่ ในตวั เอง ปัจจุบนั คนไทยหนั มานิยมใช้ ขนมไทย เป็นของขวญั

ของฝากในนานาเทศกาลไมว่ า่ จะเป็น วนั ข้ึนปี ใหม่ไทยหรือสากล วนั คลา้ ยวนั เกิด วนั ข้ึนบา้ นใหม่ วนั
เกษียณอายรุ าชการ ฯลฯ ขนมไทยกบั ความหมายใหเ้ ลือกใชต้ ามเทศกาล

➢ ขนมช้นั - ความเจริญกา้ วหนา้ ในข้นั เล่ือนตาแหน่ง เล่ือนช้นั
➢ ขนมจ่ามงกฎุ - ความเจริญกา้ วหนา้ เป็นหวั หนา้ เลื่อนยศ
➢ ขนมถว้ ยฟู - ความเจริญฟูเฟื่ อง รุ่งเรือง
➢ ขนมตาล - ความหวานช่ืน ราบร่ืนของชีวติ
➢ ขนมทองเอก - ความเป็นหน่ึง
➢ ขนมลูกชุบ - ความน่ารักน่าเอน็ ดู มกั ใชก้ บั ผใู้ หญ่ใหก้ บั ผนู้ อ้ ย
➢ ขา้ วเหนียวแกว้ - ความดีประเสริฐ ดุจดงั แกว้
➢ ขนมเสน่ห์จนั ทร์ - ความมีเสน่ห์ดุจจนั ทร์วนั เพญ็ ฯลฯ

ขนมไทยตำมประเพณแี ละพธิ ีกรรม

งำนตรุษสงกรำนต์ เป็นงานบุญปี ใหมข่ องไทย ซ่ึงเริ่มจากวนั ท่ี 12 เดือน 5 เป็ นตน้ ไป ขนมใน
ประเพณีน้ีก็คือ การีกวนขา้ วเหนียวแดง และกะละแม บนกระทะเหล็กใบใหญ่

งำนถวำยฉลำกภตั ในเดือน 7ขนมที่ทาคือขา้ วเหนียวสงั ขยา ขา้ วเกรียบวา่ ว นางเลด็ ขา้ วเหนียว
แดง ชาวบา้ นจะร่วมทาบุญพบปะกนั ท่ีวดั ส่วนฉลากภตั ก็คือขนมและอาหารที่ชาวบา้ นนาไปถวายพระ

เทศกำรสำรทไทย ในเดือน 10 คือการทาบุญอุทิศส่วนกุศลใหญ้ าติพี่นอ้ งที่ล่วงลบั ไปแลว้ ขนมท่ี
ทาเป็นประเพณีน้ีคือ กระยาสารท ซ่ึงเร่ิมทาขนมกนั ในช่วงแรม 15 ค่า คือ ตาขา้ วเม่า ควั่ ขา้ วตอก ควั่ ถว่ั คว่ั งา
เตรียมเพ่ือทาขนมต่อไป และนาไปทาบุญท่ีวดั ส่วนหน่ึงก็แจกเพือ่ นบา้ น

สรุป : ของหวานไทยหรือขนมไทย กล่าวไดว้ า่ มีอยคู่ ูก่ บั คนไทยมาชา้ นาน เพราะเป็ นวฒั นธรรมอยา่ ง

หน่ึงท่ี บ่งบอกวา่ คนไทยเป็นคนมีลกั ษณะนิสัยอยา่ งไร เน่ืองดว้ ยขนมไทยแตล่ ะชนิด ลว้ นมีเสน่ห์ มีรสชาติ
ท่ีแตกต่างกนั ออกไป แต่แฝงไวด้ ว้ ยความละเมียดละไม ความวจิ ิตรบรรจง ขนมไทยยงั สามารถสะทอ้ นให้
เห็นวา่ คนทาเป็ นคนใจเยน็ มีฝี มือเชิงศิลปะ จากขนมธรรมดาๆ ท่ีมีส่วนประกอบเพียงแป้ง น้าตาล และ
มะพร้าว สามารถดดั แปลงเป็ นขนมไดห้ ลายชนิด หลายรสชาติ ในสมยั โบราณคนไทยจะทาขนมเฉพาะ
วาระท่ีสาคญั เท่าน้นั เป็ นตน้ วา่ งานบุญ งานแต่งงาน งานเทศกาลต่าง ๆ หรืองานตอ้ นรับแขกคนสาคญั
เพราะขนมบางชนิดจาเป็นตอ้ งใชท้ ้งั กาลงั คน ท้งั ตอ้ งอาศยั เวลาในการทาพอสมควร


Click to View FlipBook Version