The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

Good characteristics of Thai desserts and storage

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by punjaporn pailoy, 2019-06-06 01:59:52

Good characteristics of Thai desserts and storage

Good characteristics of Thai desserts and storage

บทท่ี 8

ลกั ษณะทด่ี ขี องขนมไทยและการเกบ็
รักษา

ปัญจาภรณ์ ไพลอย

บทที่ 8

ลกั ษณะท่ีดขี องขนมไทยและการเกบ็ รักษา

จุดประสงค์เชิงพฤตกิ รรม
1. บอกลกั ษณะของขนมกวนท่ีดีและการเกบ็ รักษาได้

2. บอกลกั ษณะขนมตม้ ท่ีดีและการเกบ็ รักษาได้
3. บอกลกั ษณะขนมเชื่อมที่ดีและการเก็บรักษาได้
4. บอกลกั ษณะของผกั และผลไมแ้ ช่อ่ิมท่ีดีและการเก็บรักษาได้
5. บอกลกั ษณะขนมน่ึงท่ีดีและการเกบ็ รักษาได้
6. บอกลกั ษณะขนมทอดที่ดีและการเก็บรักษาได้
7. บอกลกั ษณะขนมปิ้ งที่ดีและการเก็บรักษาได้
8. บอกลกั ษณะขนมอบท่ีดีและการเก็บรักษาได้
9. อธิบายวธิ ีการเก็บรักษาขนมไวใ้ หไ้ ดน้ านและถูกสุขลกั ษณะได้
10. บอกขอ้ ควรปฏิบตั ิในการเก็บรักษาขนมไวใ้ หไ้ ดน้ านและถูกสุขลกั ษณะได้
11. บอกวธิ ีการเกบ็ รักษาขนมไทยได้
12. อธิบายวธิ ีการเทคโนโลยกี ารแช่แขง็ ขนมหวานได้
13. บอกวธิ ีการเกบ็ รักษาขนมช้นั ได้

เนื้อหาสาระ

1. ลกั ษณะของขนมกวนที่ดีและการเก็บรักษา
2. ลกั ษณะขนมตม้ ท่ีดีและการเก็บรักษา
3. ลกั ษณะขนมเชื่อมท่ีดีและการเก็บรักษา
4. ลกั ษณะของผกั และผลไมแ้ ช่อ่ิมที่ดีและการเกบ็ รักษา
5. ลกั ษณะขนมน่ึงที่ดีและการเกบ็ รักษา
6. ลกั ษณะขนมทอดท่ีดีและการเกบ็ รักษา
7. ลกั ษณะขนมปิ้ งที่ดีและการเกบ็ รักษา
8. ลกั ษณะขนมอบท่ีดีและการเก็บรักษา
9. การเกบ็ รักษาขนมไวใ้ หไ้ ดน้ านและถูกสุขลกั ษณะ
10. ขอ้ ควรปฏิบตั ิในการเก็บรักษาขนมไวใ้ หไ้ ดน้ านและถูกสุขลกั ษณะ
11. วธิ ีการเกบ็ รักษาขนมไทย
12. เทคโนโลยกี ารแช่แขง็ ขนมหวาน เพอื่ ใหเ้ กบ็ รักษาไวไ้ ดน้ าน
13. คาแนะนาในการเก็บรักษาขนมช้นั

ลกั ษณะของขนมกวนทด่ี ี

ขนมกวนแต่ละชนิดจะมีลกั ษณะท่ีแตกต่างกนั ข้ึนอยกู่ บั ส่วนผสมที่ใชท้ าดงั น้ี
1. ผลไมก้ วน ลกั ษณะเหนียว นุ่ม ข้ึนอยกู่ บั เน้ือสัมผสั ของผลไม้ ถา้ กวนเพือ่ ทาแยมจะใชเ้ วลานอ้ ย เน้ือ

ผลไมช้ ุ่มฉ่าเลก็ นอ้ ย แวววาว หากกวนตอ่ ความหวานจะเพม่ิ ข้ึน เน้ือแหง้ เหนียว เก็บไวท้ าไส้ขนม
หรือไวร้ ับประทานไดน้ าน เช่น สับปะรดกวน กระเจี๊ยบกวน มงั คุดกวน ขนุนกวน ทุเรียนกวน
และกลว้ ยกวน
2. ผกั และพืชประเภทหวั ถว่ั ตา่ งๆ เช่น เผอื กกวน จะหอมนุ่มและเหนียวจนป้ันได้ ใส่ถาดตดั เป็นชิ้น
หรือใส่พิมพก์ ด อาจใชท้ าไส้ขนมหรืออาหารวา่ งก็ได้
3. ขนมกวนที่ทาจากแป้ง เช่น กะละแม ขนมจะตอ้ งเหนียวและเป็นมนั วาว รสหวานอร่อย กะละแมห่อ
ดว้ ยใบตองแหง้ จะหอมกลิ่นใบเตอง กะละแมมีดา ผสมกาบมะพร้าวเผา กวนจนแหง้ ลกั ษณะขนม
จะเหนียวดี ไม่ติดกระทะ
4. ขนมกวนดว้ ยขา้ วเมา่ ราง ถวั่ งา เช่น กระยาสารทรท ขนมจะตอ้ งเหนียวจบั ตวั กนั ดี ไม่ร่วน

การเกบ็ รักษาขนมกวน

ขนมกวนจะมีรสหวานจะเก็บไวไ้ ดน้ าน มีวธิ ีการเก็บดงั น้ี
1. ผลไมก้ วนเป็นแยมเก็บใส่ขวดปิ ดฝา เกบ็ ในตูเ้ ยน็ สามารถเกบ็ ไวไ้ ดน้ านมาก
2. ผลไมก้ วนจนแหง้ จะตดั เป็ นชิ้น หรือป้ันเป็นกอ้ นเคลา้ กบั น้าตาลทรายก่อน แลว้ ห่อดว้ ยกระดาษแกว้

ใส เกบ็ ไวใ้ นขวดโหล ส่วนมะมว่ งกวนจะนามาละเลงเป็นแผน่ กลมตากแดดจนแหง้ เกบ็ ซอ้ นกนั ไว้
ในขวดโหล หรือโถแกว้
3. กะละแม ห่อดว้ ยใบตองหรือพลาสติก เกบ็ ใส่ขวดโหลหรือถุงพลาสติก
ขนมกวนทุกชนิด ควรเก็บใส่ขวดโหลแกว้ มองดูน่ารับประทานเหมาะสมที่จะเป็นของฝาก ของขวญั
ตกแตง่ ดว้ ยโบวด์ อกไมป้ ระดิษฐน์ ่ารัก หรือใส่ถุงพลาสติกอยา่ งหนา มีลวดลายหริไม่มีลวดลาย ของกวน
บางชนิดอาจเกบ็ รักษาในตูเ้ ยน็ เช่น ถงั่ กวย หรือเผอื กกวน ควรใส่กล่องพลาสติกมีฝาปิ ดจะเก็บไวไ้ ดน้ าน

ลกั ษณะขนมต้มท่ีดี

ขนมที่ทาดว้ ยวธิ ีตม้ ขนมจะสุกนุ่มหอมอร่อยมีลกั ษณะท่ีน่ารับประทาน ดงั น้ี
1. ขนมจะสุกนุ่มถึงเน้ือใน
2. ขนมท่ีส่วนผสมของน้าเช่ือม จดั ใส่ถว้ ยเสิร์ฟ น้าเช่ือมตอ้ งใสสะอาด ถา้ เป็นกะทิไม่ควรใหแ้ ตกมนั
3. ขนมท่ีทาดว้ ยแป้ง เช่น บวั ลอย ตม้ ขาว ตม้ แดง ขนมตม้ ขาวความอร่อยอยทู่ ี่ความใหม่สดของแป้ง

และน้าตาล ขนมท่ีปรุงเสร็จใหมๆ่ จะสุกนุ่มหอมอร่อย
4. ขนมประเภทถวั่ จะตอ้ งตม้ ใหส้ ุกถึงเน้ือใน ขนมจะสุกหอม

5. ฟักทองแกงบวช มนั เผอื ก และกลว้ ย ถา้ ไมต้ อ้ งการใหน้ ้ากะทิแตกมนั อาจตม้ ฟักทอง มนั หรือกลว้ ย
ใหส้ ุกก่อน แลว้ จึงใส่น้ากะทิที่ปรุงเตรียมไว้

6. ขา้ วเหนียวเปี ยกลาไย ควรตม้ ดว้ ยน้าลอยดอกไมส้ ด จะหอมกล่ินดอกไม้ กล่ินขา้ วใหม่และกลิ่นลาไย
เป็ นขนมหวานที่หอมน่ารับประทาน

7. บวั ลอยเผอื ก ควรป้ันขนาดเลก็ ลกั ษณะบวั ลอยจะเหนียวนุ่มหอมกล่ินเผอื ก หวานมนั ดว้ ยน้าตาลและ
กะทิ

8. ลูกบวั เตา้ ส่วน ควรตม้ เมด็ บวั ดว้ ยน้าลอยดอกไมส้ ด จนสุกหอม

การเกบ็ รักษาขนมต้ม

ขนมท่ีทาดว้ ยวธิ ีตม้ ส่วนใหญ่เป็นขนมท่ีทาแลว้ ตอ้ งรับประทานร้อนๆ ไม่นิยมเกบ็ ขา้ มคืนแลว้ นามาอุ่น
ใหม่ การจดั เก็บใส่ภาชนะควรทา ดงั น้ี

1. ขนมตม้ ที่เป็ นน้า จะเก็บใส่หมอ้ เคลือบ หมอ้ สแตนเลส หรือหมอ้ ดินท่ีมีฝาปิ ด เช่น ฟักทองแกงบวช
กลว้ ยบวชชี รวมมิตร ถว่ั และมนั ตม้ น้าตาล

2. ขนมปลากริมไขเ่ ต่า จะแยะใส่หมอ้ ดิน 2 หมอ้ คือ ตวั ปลากริมรสหวานสีน้าตาลโตนด และไข่เตา่
รสเคม็ สีขาว

3. ขนมโค (ภาคใต)้ ขนมถว่ั แปบ ขนมตม้ ขาว นิยมจดั ใส่กระทง ใส่จานหรือถาด ที่รองดว้ ยใบตอง
หรือถาดใบตอง ปิ ดดว้ ยพลาสติกใส หากตอ้ งเก็บไวน้ านใส่ตูเ้ ยน็ ในช่องธรรมดาจะช่วยใหข้ นมไมเ่ สีย
ง่าย

4. ทบั ทิมกรอบ ควรเก็บไวใ้ นตูเ้ ยน็ ก่อนรับประทาน เททบั ทิมใส่กระชอน พกั สะเดด็ น้า เวลา
รับประทานตดั ใส่ถว้ ย เติมน้าเชื่อมและราดดว้ ยกะทิ

ลกั ษณะขนมเช่ือมทด่ี ี

1. กลว้ ยน้าวา้ เชื่อมท่ีดี กลว้ ยจะสุกเหนียวมีสีแดงโดยไม่ตอ้ งใส่สี ผวิ นอกแวววาว น้าเชื่อมขน้ ไม่ไหม้
2. กลว้ ยไขเ่ ช่ือม ลกั ษณะของกลว้ ยทรงตวั ดี ไม่แตกยดื จนเสียรูป เน้ือกลว้ ยสุกใส น้าเชื่อมเขา้ ถึงเน้ือใน

น้าเชื่อมเป็นมนั วาว
3. มนั สาปะหลงั เช่ือม เน้ือมนั ใส ไมแ่ ตกเละ น้าเชื่อมเขา้ ถึงเน้ือใน
4. สาเกเช่ือม เน้ือสาเกสุกใสเป็นมนั วาว น้าเช่ือมเขา้ ถึงเน้ือใน
5. พทุ ราจีนเช่ือม ผลกลม ผวิ ตึงสวย น้าเชื่อมเคลือบเป็นเงา
6. ฝอยทอง เส้นยาวเรียบกลม กล่ินหอม ไม่เหมน็ คาว
7. ทองหยบิ เน้ือขนมฟูนุ่ม ชุ่มดว้ ยน้าเช่ือม จบั กลีบดอกไมส้ วย ขนมมีกล่ินหอม สีเหลืองสดใส
8. ทองหยอด ลกั ษณะกลมมีหางเลก็ นอ้ ย เน้ือขนมนุ่ม ชุ่มดว้ ยน้าเช่ือม มีกล่ินหอม สีเหลือสุกใส
9. เมด็ ขนุน รูปกลมรี ผิวเรียบสีเหลืองสวย เน้ือในเหนียวนุ่ม หวานมนั

การเกบ็ รักษาขนมเชื่อม

1. ขนมประเภทเช่ือม สามารถเก็บไวร้ ับประทานไดห้ ลายวนั เนื่องจากน้าเช่ือมช่วยในการถนอมอาหาร
เกบ็ ใส่โถแกว้ ชามแกว้ หรือชามกระเบ้ือง มีฝาปิ ดเป็ นแกว้ ใส เก็บท่ีอุณหภูมิห้อง

2. ฝอยทอง เก็บใส่กล่องไวใ้ นตูเ้ ยน็ ไดน้ านหลายสักดาห์ หรือจะทาฝอยทองกรอบ เก็บไวร้ ับประทาน
โดยใส่ขวดโหลมีฝาปิ ด

3. ทองหยบิ ทองหยอด เก็บใส่กล่อง หรือชามแกว้ มีฝาปิ ดในตูเ้ ยน็ ขนมจะชุ่มฉ่า เก็บไวร้ ับประทานได้
หลายสปั ดาห์

4. เมด็ ขนุน ควรเกบ็ ไวใ้ นโถ หรือชามแกว้ ไมค่ วรเกบ็ ไวใ้ นตูเ้ ยน็ ควรจะรับประทานใหห้ มดในวนั
เดียว หากเกบ็ ไวใ้ นตูเ้ ยน็ ไส้ขนมจะแขง็ ไมอ่ ร่อยแต่เก็บไวไ้ ดน้ าน

5. ฝักเช่ือมแหง้ ควรเก็บใส่โถแกว้ ขวดโหล หรือกล่องท่ีมีฝาปิ ดสามารถเกบ็ ไวใ้ นอุณหภูมิหอ้ งไดน้ าน
หลายเดือน

ลกั ษณะของผกั และผลไม้แช่อม่ิ ท่ดี ี

1. ผวิ เรียบ ตึง เน้ือในใสชุ่มดว้ ยความหวาน เน้ือไม่เละ
2. ลกั ษณะหวานกรอบ
3. ผลไมม้ ีรสเปร้ียว ตอ้ งแช่น้าเกลือ เพือ่ ลดความเปร้ียว แลว้ แช่อิ่มจนความหวานถึงเน้ือใน รสชาติ

เปร้ียวหวาน น่ารับประทาน เช่น มะขามแช่อิ่ม มะดนั แช่อิ่ม
4. ผลไมแ้ ช่อิ่มท่ีดี น้าเช่ือมจะใสและไมม่ ีฟอง
5. แช่อ่ิมแหง้ เช่น มะเขือเทศ ผวิ เรียบตึงสีสวย สบั ปะรดแช่อิ่มแหง้ หวานกรอบ ผวิ ตึงเรียบแหง้ เกบ็

ไวไ้ ดน้ าน เปลือกส้มโอแช่อ่ิม ผวิ เรียบตึง แหง้ รสชาติหวานกรอบ

การเกบ็ รักษาผักและผลไม้แช่อมิ่

การเก็บรักษาผกั และผลไมแ้ ช่อ่ิม ควรจดั เก็บดงั น้ี
1. อาหารแช่อิ่มควรเก็บในท่ีแห้งและเยน็
2. ถา้ เหี่ยวยน่ เกอดจากการตม้ นานเกินไป
3. ถา้ ตกผลึก ควรเติมนามะนาวลงไปเลก็ นอ้ ย เติมน้า แลว้ เคี่ยวน้าเช่ือมสาหรับแช่ใหม่
4. ถา้ ข้ึนรา ควรนามาลา้ งสงข้ึนใหส้ ะเด็ดน้า แลว้ แช่ในน้าเช่ือท่ีเคี่ยวใหม่ เมื่อน้าเช่ือมเขา้ ถึงเน้ือในดี

แลว้ จึงนาไปตากแดดหรืออบใหแ้ หง้ สนิท และควรตม้ ภาชนะบรรจุใหม่

ลกั ษณะขนมนึ่งทด่ี ี

1. ขนมสุกนุ่ม เช่น ขนมกลว้ ย ขนมฟักทอง ขนมถว้ ย
2. ขนมสุกฟู หนา้ แตก เช่น ขนมถว้ ยฟู ขนมปุยฝ้าย ขนมตาล
3. ขนมน่ึงดว้ ยถาด เช่น ขนมมนั สาปะหลงั ขนมกลว้ ย น่ึงจนสุกทวั่ ตดั เป็นชิ้น ขนมจะเหนียวนุ่ม
4. ขนมน้าดอกไม้ หนา้ ขนมจะตอ้ งลึกบุ๋ม แป้งนุ่มรสหอมหวาน
5. สังขยา หนา้ สงั ขยา จะตอ้ งสุกฟูเป็นฟองคล่ืน
6. ขา้ วเหนียวมูน จะตอ้ งสุกนุ่ม ขา้ วเหนียวไมแ่ ขง็ ไม่เละ รสหวานมนั
7. ขนมช้นั จะตอ้ งเหนียวนุ่ม หวานมนั ช้นั บางและสุกใส
8. ขา้ วตม้ มดั ขา้ วเหนียวจะตอ้ งไมแ่ ฉะ กลว้ ยสุกงอมไม่ฝาด ขา้ วเหนียวเกาะเน้ือกลว้ ย เนียนเรียบ ถวั่

ดาสุกนุ่ม รสชาติหวานมนั
9. ขนมสอดไส้ ไส้ขนมหวานมนั ใชม้ ะพร้าวทึนทึกกวนกบั น้าตาล จนเหนียวนุ่มป้ันได้ ส่วนตวั ขนม

เคม็ มนั กาลงั ดีไม่น่ึงนาน ขนมจะไดไ้ ม่แตกมนั เน้ือแป้งสุก เน้ือเนียนนุ่ม

การเกบ็ รักษาขนมนึ่ง

ขนมท่ีทาดว้ ยวธิ ีน่ึงเป็ นขนมท่ีตอ้ งรับประทานให้หมดภายใน 1 วนั ไมน่ ิยมเกบ็ ขา้ มคืน ถา้ จาเป็นอาจ
เก็บไวใ้ นตูเ้ ยน็ โดยใส่กล่องพลาสติกหรือถุงพลาสติกนาเขา้ ตูเ้ ยน็ จะช่วยรักษามิใหข้ นมเสียง่าย ถา้ เป็นขา้ ว
เหนียวมูนหนา้ ต่างๆไมค่ วรเกบ็ ในตูเ้ ยน็ เพราะจะทาใหแ้ ขง็ ควรเกบ็ ในที่เยน็ อุณหภูมิหอ้ งธรรมดา ภาชนะท่ี
ใชเ้ ก็บตอ้ งลา้ งใหส้ ะอาดและลวกน้าร้อน จะทาใหข้ นมท่ีมีกะทิเป็นส่วนผสมไมเ่ สียง่าย

ลกั ษณะขนมทอดทดี่ ี

1. สีเหลืองทอง ขนมสุกทวั่ ท้งั ชิ้น
2. ขนมกรอบสีสวย
3. ขนมที่มีไส้ไม่แตก รูปทรงสวยงาม
4. ขนมไมอ่ มน้ามนั

การเกบ็ รักษาขนมทอด

ขนมเมื่อทอดจนเหลือง ใชก้ ระชอนตกั ข้ึนวางไวใ้ หส้ ะเด็ดน้ามนั แลว้ เทขนมวางบนถาดท่ีรองดว้ ย
กระดาษซบั น้ามนั ทิ้งไวจ้ นขนมเยน็ เก็บใส่ภาชนะหรือขวดโหลที่มีฝาปิ ดหรือถุงพลาสติก ปิ ดใหส้ นิทกนั ลม
เขา้

เม่ือทอดขนมเสร็จแลว้ รีบปิ ดแก๊สทนั ที พกั น้ามนั ใหเ้ ยน็ กรองน้ามนั แลว้ รินใส่ภาชนะเกบ็ ไวใ้ นที่เยน็
อยา่ ใหน้ ้าหยดลงในน้ามนั ถา้ ตอ้ งการยกกระทะลงพกั ควรหาผชู้ ่วยในการเคล่ือนยา้ ย วางบนพ้นื ที่กนั ความ
ร้อนได้ และห่างไกลจากทางเดินทาเคร่ืองหมายหรือเขียนขอ้ ความแจง้ ไว้

ลกั ษณะขนมปิ้ งทีด่ ี

ขนมสุกหอม ไมไ่ หม้ เช่น ขนมแป้งจี่ ขนมจะสุกเหลือง ผวิ นอกกรอบ แต่เน้ือในนุ่ม ขา้ วเหนียวปิ้ ง
และขนมจาก ขนมจะสุก กรอบนอกนุ่มใน

การเกบ็ รักษาขนมปิ้ ง

ขนมปิ้ ง เช่น ขนมแป้งจ่ี ขนมจาก ขา้ วเหนียวปิ้ ง ควรรับประทานร้อนๆ จดั ใส่จานเปล หรือ
เคร่ืองจกั รสาน รองดว้ ยใบตอง

ลกั ษณะขนมอบทด่ี ี

1. ขนมอบท่ีมีแป้ง เป็นส่วนผสมหลกั เช่น ขนมครก เมื่อทาใหส้ ุกดว้ ยวธิ ีอบขนมจะสุก กรอบนอกนุ่ม
ใน ส่วนขนมดอกลาดวนและขนมโสมนสั มีปริมาณของน้านอ้ ย ขนมจะกรอบ ร่วน

2. ขนมอบที่มีแป้ง และไข่เป็ นส่วนผสมหลกั ขนมจะสุกฟูและนุ่ม
3. ขนมอบท่ีมีไข่ กะทิ และน้าตาล เป็นส่วนผสมหลกั ขนมจะสุกนุ่ม ผวิ นอกจะเป็ นสีเหลืองทอง

การเกบ็ รักษาขนมอบ

ขนมดอกลาดวน ขนมผงิ เมื่อขนมเยน็ ควรเก็บใส่ขวดโหล อบกล่ินควนั เทียน ประมาณคร่ึงชวั่ โมง
ก่อนบรรจุกล่อง

ขนมที่เป็นถาด เม่ือพกั ขนมเยน็ ใชฟ้ ิ ลม์ พลาสติกใสปิ ดกนั แมลง เก็บใส่ตูห้ รือช้นั ที่มีฝาปิ ดกนั แมลง
กดั แทะ ก่อนจดั เสิร์ฟ ตดั เป็ นชิ้นตามตอ้ งการ

การเกบ็ รักษาขนมไทยให้ได้นานและถูกสุขลกั ษณะ

การเกบ็ รักษาขนมไทยใหไ้ ดน้ าน และถูกสุขลกั ษณะ ควรปฏิบตั ิดงั น้ี

1. ขนมทเี่ สียง่าย

ขนมท่ีเสียง่าย ส่วนใหญจ่ ะมีมะพร้าวเป็นส่วนประกอบ โดยเฉพาะขนมที่ใชม้ ะพร้าวสาหรับคลุก
เช่น ขนมตม้ แดง ขนมถวั่ แปบ ขนมดว้ งสด ขนมเปี ยกปูน ขนมข้ีหนู ฯลฯ หากตอ้ งการยดื ระยะเวลา
ควรนามะพร้าวที่ใชส้ าหรับคลุกไปน่ึงในน้าเดือดอยา่ งนอ้ ย 20 นาที ส่วนขนมท่ีใชก้ ะทิสด เช่น ขนม
ลอดช่องไทย ขนมเรไร ขนมรวมมิตร ฯลฯ การค้นั กะทิควรใชน้ ้าสุกอุ่นค้นั หรือนากะทิไปต้งั ไฟพอ
เดือด คนกะทิบ่อยๆ เพ่อื ไม่ใหก้ ะทิจบั ตวั กนั เป็นกอ้ น หากรับประทานแลว้ ยงั มีกะทิเหลือ ควรเกบ็ ใน
ตูเ้ ยน็ เม่ือจะนามารับประทาน ควรนาไปอุน่ ใหร้ ้อนดว้ ยการน่ึง หรืออุน่ ดว้ ยเตาอบไมโครเวฟ

2. ขนมทเ่ี สียยาก

ขนมที่เสียยาก ส่วนใหญเ่ ป็นขนมท่ีมีความช้ืนนอ้ ย เช่น ขนมขา้ วตู ขนมขา้ วตอกต้งั ขนมอาลวั
ขนมทองเอก ฯลฯ หรืออาจจะเป็นขนมท่ีมีความเขม้ ขน้ ของน้าตาลสูง เช่น ขนมทองหยบิ ขนมทองหยอด
ขนมขา้ วเหนียวแกว้ ฯลฯ ควรเกบ็ ไวใ้ นที่แหง้ และเยน็ หรืออาจจะเกบ็ ไวใ้ นตูเ้ ยน็ ก็จะช่วยใหข้ นมเหล่าน้ี
สามารถยดื ระยะเวลาในการเกบ็ ทาใหค้ ุม้ ค่ากบั ราคามากยงิ่ ข้ึน

3. ขนมทใี่ ช้สารบางอย่างเพื่อป้องกนั การเปลย่ี นแปลงทางเคมี

การใชส้ ารบางอยา่ งเหล่าน้ีมีกฎหมายควบคุมและมีปริมาณท่ีใหใ้ ชต้ ามอตั ราส่วนที่กาหนด สาร
ดงั กล่าวที่อนุญาตใหใ้ ชม้ ีดงั น้ี

3.1 โซเดียมเบนโซเอต ใชก้ บั อาหารทุกชนิดไมเ่ กิน 1กรัม ตอ่ 1 กิโลกรัม
3.2 กรดซอร์บิคหรือแคลเซียมซอร์เบท ใชก้ บั อาหารทุกชนิดไม่เกิน 1 กรัม ต่อ 1 กิโลกรัม
3.3 กรดแอสคอร์บิค เป็นตวั ป้องกนั กล่ินหืนใชก้ บั อาหารทุกชนิดไมเ่ กิน 1 กรัม ต่อ 1 กิโลกรัม ตาม
ความจาเป็ น
สารเคมีที่กล่าวมาแลว้ ขา้ งตน้ หากผปู้ ระกอบการทาขนมจาหน่ายไม่ปฏิบตั ิตามขอ้ กาหนด อาจจะเกิด
กบั ผบู้ ริโภคได้ หากหลีกเลี่ยงไดก้ ็จะเป็นสิ่งท่ีดีมาก

ข้อควรปฏิบตั ใิ นการเกบ็ รักษาขนมไว้ให้ได้นานและถูกสุขลกั ษณะ

ขนมที่ปรุงเสร็จแลว้ ไม่วา่ จะเป็นขนมที่เสียง่ายหรือเสียยาก ควรเก็บในที่มิดชิด หรือใชภ้ าชนะท่ีมีฝา
ปิ ด มีฝาชีครอบ เก็บในตูล้ วดตาข่ายหรือตูก้ ระจก เพื่อป้องกนั แมลงวนั ตอม และฝ่ นุ ละออง แต่มีขอ้ ควรระวงั
โดยเฉพาะตูก้ ระจกไม่ควรเก็บขนมขณะยงั ร้อนเพราะทาใหก้ ระจกฝ้าเกิดหยดน้าตอ้ งเสียเวลาในการเช็ดกระจก
อีกท้งั อาจทาใหข้ นมบูดเสียเร็วข้ึน

วธิ ีการเกบ็ รักษาขนม

ขอ้ แนะนาในการเกบ็ รักษา:
1. ควรเก็บไวไ้ มใ่ หโ้ ดนลม เพื่อขนมจะนุ่ม หอม อร่อยเสมอ
2. เกบ็ ไวใ้ นตูเ้ ยน็ ขนมจะยงั คงนุ่ม และจะไดร้ สชาติท่ีนุ่มและฉ่า ความเยน็ จะช่วยเพม่ิ รสชาติให้
ขนมอร่อยยง่ิ ข้ึน
3. เพ่ือเพ่ิมรสชาติของความอร่อยยงิ่ ข้ึน รับประทานร่วมกบั น้าชา กาแฟ หรือน้าผลไม้
4. หากวางไวใ้ นอุณหภูมิห้อง ควรบริโภคขนมภายใน 2 วนั
5. หากนาขนมไปแช่ตูเ้ ยน็ การจะยดื อายขุ นมไดอ้ ีก 5-6 วนั สามารถรับประทานไดท้ นั ทีจาก
ตูเ้ ยน็ ขนมจะไมแ่ ขง็ หรือหากตอ้ งการนุ่มยง่ิ ข้ึน เหมือนขนมพ่ึงออกจากเตาน่ึง ใหน้ าไปอุน่ ใน
เตาไมโครเวฟ ความร้อนสูงประมาณ 3 นาที โดยใชภ้ าชนะท่ีมีน้ารองภายในและมีฝาปิ ดเพ่อื
การน่ึงอาหาร (เช่นเดียวกบั การอุ่นซาลาเปา) จะไดข้ นมท่ีนุ่ม อร่อย

เทคโนโลยกี ารแช่แขง็ ขนมหวาน เพ่ือให้เกบ็ รักษาไว้ได้นาน

วธิ ีการแช่เยอื กแขง็ ขนมหวานมีไดห้ ลายวธิ ี เช่น Individual Quick Frozen (IQF) เป็นการทาใหข้ นม
หวานแขง็ ตวั อยา่ งรวดเร็ว หรือ Shock Freeze ซ่ึงเป็นการแช่แขง็ โดยทาใหข้ นมหวานมีอุณหภูมิ -18 ºC ภายใน
เวลา 1-4 ชว่ั โมง เป็นตน้ จะทาใหข้ นมหวานเยอื กแขง็ สามารถเก็บรักษาไวไ้ ดน้ านโดยไม่เสียคุณค่าทาง
โภชนาการ การเจริญเติบโตและขยายพนั ธุ์ของจุลินทรียต์ อ้ งใหน้ ้าเป็นปัจจยั สาคญั เมื่อน้าในขนมหวานเปล่ียน
สภาพเป็นน้าแขง็ เช้ือจุลินทรียจ์ ึงไม่สามารถใชน้ ้าในการเจริญเติบโตได้ อีกท้งั น้าในเซลลข์ องจุลินทรียเ์ องก็
เป็นน้าแขง็ ดว้ ย เซลลจ์ ึงไม่สามารถทาหนา้ ท่ีไดเ้ หมือนกบั สภาพปกติ

เมื่อลดอุณหภูมิลงจึงสามารถหยดุ ปฏิกิริยาทางเคมีได้ และหากสามารถลดอุณหภูมิของขนมหวานได้
เร็วข้ึนเทา่ ใด กส็ ามารถหยดุ ปฏิกิริยาไดเ้ ร็วข้ึน ซ่ึงหมายถึงความสามารถในการรักษาคุณคา่ และรสชาติทาง
โภชนาการของอาหารไดเ้ หมือนเดิมมากข้ึน นอกจากน้ีบรรจุภณั ฑส์ าหรับอาหารแช่แขง็ ก็มีส่วนสาคญั ในการ
ช่วยรักษาคุณภาพของอาหารไดด้ ว้ ย

คาแนะนาในการเกบ็ รักษาขนมช้ัน

- ขนมช้นั พร้อมรับประทาน
- ถา้ ไมเ่ ขา้ ตูเ้ ยน็ อยไู่ ด้ 2 วนั นบั จากวนั ท่ีผลิต

- ถา้ ตอ้ งการเก็บขนมช้นั ใหน้ านมากกวา่ 2 วนั แนะนาใหใ้ ส่ตูเ้ ยน็

- ใหน้ าขนมช้นั วางทิ้งไวจ้ นหายเยน็ จดั
- นาขนมช้นั ใส่เตาไมโครเวฟ โดยใชค้ วามร้อนระดบั สูง
(180 - 200 °C) เป็ นเวลา 10 วินาที ** สามารถอุ่นซ้าไดถ้ า้ ตอ้ งการ**


Click to View FlipBook Version