The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

กระบวนการคิดวิเคราะห์เชิงระบบ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by watittu Thummajong, 2019-12-17 09:54:39

กระบวนการคิดวิเคราะห์เชิงระบบ

กระบวนการคิดวิเคราะห์เชิงระบบ

การคดิ อย่างเป็ นระบบ

System Thinking

การทางานของสมอง

สมองซีกซา้ ย ( นกั คิด นกั เขียน ) สมองซีกขวา ( ศิลปะ )
 การใชภ้ าษา การเขียน การอ่าน  ความเขา้ ใจอยา่ งลึกซ้ึง
 ทกั ษะดา้ นตวั เลข  การเห็นภาพสามมิติ
 การใชเ้ หตผุ ล  ศิลปะ
 ทกั ษะการพดู  การจินตนาการ
 ทกั ษะดา้ นวทิ ยาศาสตร์  ทกั ษะดา้ นดนตรี
 ควบคุมการทางานของมือขวา  ควบคุมการทางานของมือซา้ ย

ความหมาย

คือ กจิ กรรมทางความคดิ ทมี่ วี ตั ถุประสงค์เฉพาะเจาะจง รู้ว่ากาลงั
คดิ เพื่อวตั ถุประสงค์อะไร และสามารถควบคุมให้คดิ จนบรรลุ
เป้าหมายได้

คือ การจัดการข้อมูลท่สี มองได้รับให้อยู่ในรูปแบบเหมาะสม โดย
การแปรข้อมูลข่าวสารให้อยู่ในรูปแบบใหม่ที่แตกต่างไปจากเดมิ ซึ่ง
ในขณะใช้ความคดิ สมองจะนาเอาข้อมูล ความรู้ ประสบการต่างๆ
ทม่ี มี าคดิ ร่วมกนั โดยใช้เหตุผล ผสมผสานกบั อารมณ์และความ
ต้องการ เพื่อนาไปสู่เป้าหมายทีว่ างไว้

ลกั ษณะนกั ผคู้ ิด

นกั คิดที่ดี นกั คิดทีไม่คอ่ ยดี

 รับขอ้ มูลตามความเขา้ ใจของตน  จาโดยปราศจากความเขา้ ใจ

 ไม่ละเลยแมข้ อ้ มูลจะกากวม ไม่  รวมรัดในการหาส่ิงท่ีแน่นอน
ด่วนสรุป การด่วนสรุป

 พยายามหาทางเลือกท่ีแตกต่าง  พึงพอใจกบั ความพยายามคร้ัง
 เกบ็ ไว้ เผอ่ื คิดต่อได้ แรก
 ไตร่ตรองอยา่ งรอบครอบ ยอ้ น
 ยกเลิก หยดุ คดิ
คิด ต้งั ใจที่จะคน้ หาให้  คิดอยา่ งเร่งรีบ ขาดการ
กวา้ งขวางครอบคลุมมากท่ีสุด
ไตร่ตรอง ปักใจกบั คาตอบเดียว

 แกป้ ัญหา  ถูกครอบงาดว้ ยปัญหา

ลกั ษณะนกั ผคู้ ิด

นกั คิดท่ีดี นกั คิดทีไม่คอ่ ยดี

 ตดั สินใจดว้ ยตนเอง  ตดั สินใจตามเพ่ือน/กลุ่ม

 มีความคิดริเริ่ม มีทิศทางของ  ตอ้ งการการกระตุน้ บ่อยๆ
ตนเอง

 กลา้ เสี่ยง เรียนรู้จากความ  กลวั ความผดิ พลาด

ผดิ พลาด  จมอยกู่ บั ความคุน้ เคย

 มีความยดื หยนุ่ และมีจินตนาการ  มองปัญหาหรือสถานการณ์ทาง
 พิจารณาทางเลือกที่แตกต่าง เดียว

ลกั ษณะของนกั คิด

นักคดิ ท่ดี ี นกั คิดท่ีไม่คอ่ ยดี

 ใชค้ วามรู้และประสบการณ์ที่มีอยู่  มองขอ้ มูลอยา่ งแยกส่วน ขาดการ

 ส่งผา่ นความรู้และทกั ษะมาใชใ้ น เชื่อมโยง

สถานการณ์ใหม่ๆ ได้  ไม่สามารถประยกุ ตไ์ ด้ หากไม่ไดร้ ับ

 สามารถอธิบายไดว้ า่ ไดเ้ รียนรู้อะไร การช้ีแนะ

ไปแลว้ ทาไปและอยา่ งไร  ไม่ค่อยตอบสนองต่อวตั ถุประสงค์

 เขา้ ใจวธิ ีการเรียนรู้และการทาท่ีดี ของงาน

ที่สุดของตนเอง  รู้เท่าทีมีการรายงานผลการทางานให้

ทราบ

การคิดเชิงระบบ (System Thinking)

วธิ ีคิดเกี่ยวกบั เร่ืองใดเร่ืองหน่ึงอยา่ งเป็นระบบ
เป็นลาดบั ข้นั ตอน และอยา่ งครบถว้ น โดยใชว้ ธิ ี
คิด 10 มิติในส่วนท่ีเก่ียวขอ้ งเป็นเคร่ืองมือ เพอ่ื
นาไปสู่ผลลพั ธข์ องการคิดอยา่ งมีประสิทธิภาพ

เคร่ืองมือในการคดิ เชิงระบบ

 ความสามารถในการคิดเชิงวพิ ากษ์ (Critical thinking)
 ความสามารถในการคิดเชิงวเิ คราะห์ (Analytical thinking)
 ความสามารถในการคิดเชิงสังเคราะห์ (Synthesis-type thinking)
 ความสามารถในการคิดเชิงเปรียบเทียบ (Comparative thinking)
 ความสามารถในการคิดเชิงมโนทศั น์ (Conceptual Thinking)

เคร่ืองมือในการคดิ เชิงระบบ

 6. ความสามารถในการคิดเชิงสรา้ งสรรค์ (Creative thinking)
 7. ความสามารถในการคิดเชิงประยุกต์ (Applicative thinking)
 8. ความสามารถในการคิดเชิงกลยุทธ์ (Strategic thinking)
 9. ความสามารถในการคิดเชิงบูรณาการ (Integrative thinking)
 10. ความสามารถในการคิดเชิงอนาคต (Futuristic thinking)

1. ความสามารถในการคิดเชิงวิพากษ์

(Critical thinking)

 ความต้งั ใจที่จะพิจารณาตดั สินเรื่องใดเร่ืองหน่ึงโดยการไม่เห็น
คลอ้ ยตามขอ้ เสนออยา่ งง่าย แต่ต้งั คาถามทา้ ทาย หรือโตแ้ ยง้
สมมติฐานและขอ้ สมมุติที่อยเู่ บ้ืองหลงั และพยายามเปิ ดแนวทาง
ความคิดออกสู่ทางต่างๆ ท่ีแตกต่างจากขอ้ เสนอน้นั เพื่อให้
สามารถไดค้ าตอบที่สมเหตุสมผลมากกวา่ ขอ้ เสนอเดิม

2. ความสามารถในการคดิ วเิ คราะห์

(Analytical thinking)

 การจาแนกแจกองคป์ ระกอบต่างๆ ของส่ิงใดสิ่งหน่ึง
หรือเร่ืองใดเร่ืองหน่ึง และหาความสัมพนั ธ์เชิงเหตุผล
ระหวา่ งองคป์ ระกอบเหล่าน้นั เพอ่ื คน้ หาสาเหตุที่
แทจ้ ริงของสิ่งท่ีเกิดข้ึน

3. ความสามารถในการคิดเชิงสงั เคราะห์
(Synthesis-type thinking)

ความสามารถในการดึงองคป์ ระกอบต่างๆ มา
ผสมผสานเขา้ ดว้ ยกนั เพอื่ ใหไ้ ดส้ ่ิงใหม่ตาม
วตั ถุประสงคท์ ี่ตอ้ งการ

4. ความสามารถในการคดิ เชิงเปรียบเทียบ(Comparative

thinking)

การพจิ ารณาเทียบเคียงความเหมือนและ/หรือ
พจิ ารณาความแตกต่างระหวา่ งสิ่งน้นั กบั ส่ิงอื่นๆ
เพ่อื ใหเ้ กิดความเขา้ ใจสามารถอธิบายเร่ืองน้นั ได้
อยา่ งชดั เจน เพอื่ ประโยชนใ์ นการคิด การ
แกป้ ัญหา หรือหาทางเลือกเรื่องใดเรื่องหน่ึง

5. ความสามารถในการคดิ มโนทศั น์

(Conceptual Thinking)

ความสามารถในการประสานขอ้ มูลท้งั หมดที่มีอยู่
เกี่ยวกบั เรื่องหน่ึงเร่ืองใดไดอ้ ยา่ งไม่ขดั แยง้ แลว้ นา
กลบั มาสร้างเป็นความคิดรวบยอดหรือกรอบ
ความคิดเก่ียวกบั เรื่องน้นั

6. ความสามารถในการคดิ เชิงสร้างสรรค์

(Creative thinking)

การขยายขอบเขตความคิดออกไปจาก
กรอบความคิดเดิมท่ีมีอยสู่ ู่ความคิด
ใหม่ๆ ท่ีไม่เคยมีมาก่อนเพ่อื คน้ หา
คาตอบที่ดีที่สุดใหก้ บั ปัญหาท่ีเกิดข้ึน

7. ความสามารถในการคดิ เชิงประยุกต์

(Applicative thinking)

ความสามารถในการนาสิ่งที่มีอยเู่ ดิมไปปรับใช้
ประโยชน์ในบริบทใหม่ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม โดยยงั คง
หลกั การของส่ิงเดิมไว้

8. ความสามารถในการคดิ เชิงกลยุทธ์

(Strategic thinking)

ความสามารถในการกาหนดแนวทางท่ีดี
ท่ีสุดภายใตเ้ งื่อนไข ขอ้ จากดั ต่างๆ เพอ่ื
บรรลุเป้าหมายที่ตอ้ งการ

9. ความสามารถในการคดิ เชิงบูรณาการ

(Integrative thinking)

ความสามารถในการเช่ือมโยงแนวคิด หรือ
องคป์ ระกอบต่างๆ ที่เกี่ยวขอ้ งเขา้ หาแกนหลกั
ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม เพ่ืออธิบายหรือใหเ้ หตุผล
สนบั สนุนเรื่องใดเรื่องหน่ึง

10. ความสามารถในการคดิ เชิงอนาคต

(Futuristic thinking)

ความสามารถในการคาดการณ์ที่เกิดข้ึนใน
อนาคตอยา่ งมีหลกั เกณฑท์ ่ีเหมาะสม

อุปสรรคของความคิด

 การตอบสนองความเคยชิน
 การเชื่อมโยงเหตุผลผดิ เพราะด่วนสรุป
 แรงจูงใจไม่ถูกต้อง
 ขาดทกั ษะการคดิ
 การทงิ้ เหตุผลอย่างอคติ
 ค่านิยมเป็ นอุปสรรค

ลกั ษณะของความคิด

 เพื่อสามารถเปรียบเทียบไดอ้ นั จะนาไปสู่การตดั สินใจเลือกที่ถูกตอ้ ง
(คิดเปรียบเทียบ)

 เพอ่ื สามารถพิสูจน์หาขอ้ เทจ็ จริงไดอ้ ยา่ งเป็นเหตุผล (คิดวิพากษ)์
 เพอ่ื สามารถหาทางเลือกไดด้ ีสุดในความจากดั (คิดกลยทุ ธ)์
 เพอื่ มีกรอบความคิดที่คมชดั ในแนวทาง (คิดมโนทศั น์)
 เพอื่ สามารถประยกุ ตส์ ู่การปฏิบตั ิไดจ้ ริง (คิดประยกุ ต)์

(ต่อ) ลกั ษณะทางความคิด

 เพื่อสามารถคาดการณ์อนาคตในการวางแผนเชิงรุกได้
(คิดอนาคต)
 เพอ่ื สามารถเชื่อมโยงประเดน็ ท่ีเก่ียวขอ้ ง เขา้ มา

วิเคราะห์หรือใชไ้ ดอ้ ยา่ งเกิดผล (คิดบูรณาการ)
 เพื่อสามารถหาทางเลือกใหม่ที่ไม่ซ้าแบบเดิม (คิด

สร้างสรรค)์
 เพื่อสามารถหาขอ้ สรุปหรือแกป้ ัญหาที่เกิดข้ึนได้ (คิด

วิเคราะห์)

จะจดั การกบั ขอ้ มูลเหล่าน้ีอยา่ งไร

คดิ วเิ คราะห์  วเิ คราะห์ข้อมูล
คดิ สร้างสรรค์  หาทางเลือกใหม่
คดิ ประยกุ ต์  ทดลองดดั แปลง
คดิ สังเคราะห์  เลยี นแบบส่วนดี
คดิ วพิ ากษ์  ต้งั คาถามตลอดทางว่า

สิ่งทเี่ ราคดิ จะเป็ นจริง
ได้หรือ

(ต่อ) จะจดั การกบั ขอ้ มูลเหล่าน้ีอยา่ งไร

 คดิ เชิงอนาคต  จปไแปนะรสอะว่ยเงโดน่ผา็นง้ลมไตใกรห่าาง้อรๆพงคทฒั ์กีจ่ นาะราสเบ่ปงุคผลลลย่ี าตนก่อรรูป
 กทาิศหทนาดงทกีช่รอัดบเจคนวามคดิ และ
 คดิ เชิงมโนทศั น์  เคปาลดย่ีกนารแสปภลางพขกอางรองค์กรใน
 คดิ เชิงกลยทุ ธ์
อนาคต ปัญหาใดความแก้ไข
พนก่อาฒั ไนปน–สาแู่กหลาละรแงัเตกจร้ปะียัญใมชหก้วาาธิ รอีใวดงาคเพง์กแื่อาผรน
ต่อไป

6 แนวคิดเชิงกลยุทธ์ ที่ควรมีสาหรบั นกั บริหาร

1. ความคดิ ในมุมมองขององค์รวม (Holistic Thinking) และ
ความคดิ ในเชิงบริบท (Context Thinking)

ความคิดในมมุ องขององค์รวม หรือ Holistic Thinking และ ความคิด
ในเชิงบริบท (Context Thinking) นี ้เป็นแนวความคดิ เพอื่ ตอบโจทย์
ในเหตกุ ารณ์ตา่ งๆ อย่างรอบคอบ หรือ หาแนวความคิดให้ครบ ให้ถ้วนถี่ เชน่
การเดินหมากรุกแตล่ ะครัง้ ก็ต้องคดิ ไปถงึ การเดนิ ตอ่ ไปของฝั่งตรงข้ามอีก
หลายช๊อตว่าเขาจะเดินได้อย่างไรบ้าง และ เขากาลงั ต้องการทาอะไร หรือ แม้น
แตก่ ารศกึ สงครามท่ีใช้กลยทุ ธ์ในการวางแผนการรบ อยา่ งปรัชญาแบบ
ตะวนั ออก ตาราพชิ ยั สงคราม (The Art of War) ของซนุ วู เมื่อกวา่
2000 ปีมา ซง่ึ ได้นามาใช้อ้างอิงอยา่ งกว้างขวางในแวดวงธรุ กิจ ทงั้ นี ้เพราะ การ
ทาธรุ กิจก็เปรียบเสมือนการทาสงคราม เป็นการคดิ เชิงกลยทุ ธ์ เพื่อเอาชนะ
คแู่ ข่งให้ได้

2. การปรับเปล่ียนแปลงกระบวนทศั น์ (Paradigm Shift) และ การคดิ
ล่วงหน้า (Forward Thinking)

"องค์กรท่ีไม่มีการเปล่ยี นแปลง ก็เปรียบเสมือนองค์กรท่ีกาลงั จะตาย" คากลา่ วนีท้ าให้เห็นวา่
การเปล่ียนแปลงขององค์กรในเรื่องตา่ งๆ ทงั้ ในการทางานหรือในเชิงธรุ กิจ ต้องมีอยอู่ ยา่ ง
สม่าเสมอ ทงั้ นี ้ก็เพ่ือที่จะแก้ไขปัญหาตา่ งๆท่ีเกิดหรือ หรือ ปอ้ งกนั ไม่ให้เกิดปัญหา หรือ แม้นแต่
การเปลีย่ นแปลง เพ่ือปรับปรุงให้ดยี ่ิงขนึ ้ ซง่ึ ทงั้ นี ้การเปล่ียนแปลงต่างๆจาเป็นต้องมีผ้นู าท่ีมี
แนวคิด การปรับเปล่ียนกระบวนทศั น์ในเชิงกลยทุ ธ์ (Paradigm Shift) และ การคิด
ลว่ งหน้า (Forward Thinking) วา่ จะมีอะไรเปลี่ยนแปลง เพ่ือที่จะเปลีย่ นแปลง
ปัจจบุ นั ให้เหมาะกบั อนาคต ทงั้ นี ้การมีวสิ ยั ทศั น์ (Vision Shift) วา่ เราต้องการท่ีจะอย่ใู น
ตาแหน่งใดให้ถกู ต้องเหมาะสม การดาเนินการจดั การ (management Shift)
วางแผน กาหนดทิศทางขององค์กร (Direction Shift) เพ่ือให้บรรลเุ ปา้ หมายที่พึง
ประสงค์ จาเป็นต้องมีผ้นู าที่มีศกั ยภาพทางด้านความคดิ เชิงกลยทุ ธ์ เพื่อจดั ทาให้องค์กรประสบ
ความสาเร็จ เปล่ยี นแปลงองค์กรไปในทศิ ทางทถ่ี กู ต้อง และ สร้างวฒั นธรรมองค์กรท่ีเหมาะกบั
อนาคต (Corporate Culture Shift) ไปพร้อมๆกนั

3. การมีวิสยั ทศั น์ (Vision) และ พนั ธกิจ (Mission)

องคก์ รสมยั ใหม่ (Modern Organization) เนน้ หนักทางดา้ น
การกาหนด วิสยั ทศั น์ (Vision) และ พนั ธกิจ (Mission) ทงั้ น้ี มี
ผุบ้ ริหารนอ้ ยคนนัก ท่ีจะเขา้ ใจคาสองคาน้ีไดอ้ ยา่ งถอ่ งแท้ และ การ
กาหนดวิสยั ทศั น์ขององคก์ รท่ีมาจากผูบ้ ริหารท่ีไมม่ ีองคค์ วามคิด
(Visionary Thinking) ก็จะกาหนดวิสยั ทศั นท์ ่ีไมต่ รงกบั ความ
เป็นจริง ดงั นัน้ ผูบ้ ริหารท่ีจะมีวิสยั ทศั น์ และ สามารถกาหนดพนั ธกิจ ได้
เหมาะสม จึงตอ้ งมีความสามารถทางดา้ น วิเคราะหก์ ารเปล่ียนแปลง ทงั้
สภาพแวดลอ้ มภายนอกท่ีมีผลตอ่ องคก์ ร เพ่ือกาหนดวิสยั ทศั นื และ
สภาพแวดลอ้ มภายใน เพ่ือกาหนดพนั ธกิจ ใหเ้ หมาะสมเป็นไปตามแผนกล
ยุทธท์ ่ีกาหนดไว้

4. การมีความคิดในเชิงบรู ณาการ (Innovative Thinking)
และ ความคิดนอกกรอบ (Creative Thinking)

นักบริหารท่ีเก่ียวขอ้ งกบั การผลิต หรือ นวตั กรรม ยอ่ มใสใ่ จและใหค้ วามสาคญั ตอ่
Strategic Innovation หรือ นวตั กรรมทางกลยุทธม์ ากข้ึน ทง้ั น้ี เพราะ
หลีกเล่ียงไมไ่ ดก้ บั การพฒั นาเพ่ือใหอ้ งคก์ รประสบความสาเร็จ ในมุมมองเดียวกนั
หากองคก์ รทว่ั ไป มองวา่ การสรา้ งใหผ้ ูบ้ ริหารของตนนั้น มีมุมมองในเชง้ บูรณาการ
และ การคิดนอกกรอบ ก็จะสง่ ผลใหเ้ กิดการเปล่ียนแปลงตา่ งๆ ดงั เชน่ องคก์ รเกา่ ๆท่ี
รอดมาจนถึงปัจจุบนั สว่ นใหญจ่ ะใหค้ วามสาคญั กบั คอมพิวเตอรใ์ นสมยั 10-15 ปีท่ี
ผา่ นมา แตอ่ งคก์ รท่ีลม้ หายตายจากไป ก็จะมีมุมวา่ เป็นส่ิงฟ่มุ เฟืย เสียเงินเปลา่ เป็น
ตน้ ทง้ั น้ี การสรา้ งความคิดท่ีเรียกวา่ Strategic Innovation
Thinking จะเป็นการสรา้ งมุมมองในเร่ืองตา่ งๆ ท่ีเก่ียวกบั เทคนิคการพฒั นา
เพ่ือใหแ้ ตกตา่ ง (Creative Thinking
& Innovation Thinking) รวมไปถึง การคิดแบบ Blue
Ocean เพ่ือหาหนทางในการตลาดแบบใหมๆ่ ท่ีไมแ่ ขง่ ขนั กนั มากเกินไป

5. การวางแผนทางเลือก (Scenario Planning) และ การบริหารความเส่ียง
(Risk Management)

เนื่องจาก ภาวะเศรษฐกิจมีความผนั ผวน ธรุ กิจตา่ งๆจงึ ต้องมีการปรับตวั เพือ่ รองรับความผนั ผวนท่ี
เกิดขนึ ้ ทงั้ จาก สงั คม เศรษฐกิจ คแู่ ขง่ รวมทงั้ ความต้องการของลกู ค้า การวางแผนขององค์กร
ตา่ งๆ จงึ ต้องพงึ่ นกั บริหารที่มีมมุ มองแนวคิดในเชิงความเปลย่ี นแปลงในอนาคต (Future
Thinking) และ จดั ทาแผนทางเลอื ก (Scenario Planning) ท่ีหลากหลายเพอ่ื มา
รองรับกบั การเปลย่ี นแปลงที่จะเกิดขนึ ้ ในเหตกุ ารณ์ตา่ งๆกนั ทงั้ นี ้

ภายใต้ภาวะความผนั ผวนของสภาพแวดล้อมปัจจบุ นั การบริหารแผนงานตา่ งๆ จงึ ต้องเน้นการ
มองถงึ อนาคตอย่ตู ลอดเวลา (Future
Thinking) และในเชิงการคดิ เชิงกลยทุ ธ์นนั้ ในการสร้างแผนทางเลือกตา่ งๆสาหรับอนาคต(
Scenario Planning ) จงึ เป็นรูปแบบแนวคดิ
เชิงกลยทุ ธ์อีกแบบหนงึ่ ท่ีหลายๆ องค์กรชนั้ นาได้หยิบเคร่ืองมือนีม้ าใช้ประยกุ ต์ตอ่ การสร้างแผน
เพ่ือตอบสนองกบั การสร้างความได้เปรียบในการแข่งขนั นน่ั เอง ซง่ึ เราจะได้เรียนรู้ถงึ
- การคดิ เชิงกลยทุ ธ์ในการมองอนาคต
- การสร้างทางเลือกเชิงกลยทุ ธ์จากวธิ ี Scenario
- เทคนิคการสร้างแผนกลยทุ ธ์ด้วยการสร้างภาพในอนาคต

6. Game Theory

Game Theory ของ John Nash เป็นวิธีคิดเชิงกล
ยุทธท์ ่ีไดร้ ับรางวลั โนเบล ถึง 2 คร้งั หลกั การแนวคิดเชิงกลยุทธ์ ท่ี
คานึงถีง บุคคล สว่ นได้ สว่ นเสีย ผลกระทบอ่ืนๆ เพ่ือมองใหเ้ ห็นถึง
ความเป็นจริง ในความตอ้ งการ และ ความเป็นไป เชน่ ความตอ้ งการ
ของลูกคา้ การทาตวั เป็นลูกคา้ ประเมินความตอ้ งการของทงั้ สองฝ่าย
เพ่ือท่ีจะหาจุดท่ีสามารถตกลงกนั ได้ ซ่ึงส่ิงเหลา่ น้ี นักบริหาร จาเป็น
ท่ีจะตอ้ งสรา้ งใหม้ ีข้ึนในแนวความคิดของตนเองทง้ั ส้ิน เพ่ือใชท้ ง้ั ใน
การ วิเคราะหข์ อ้ มูล ประเมินสถานการณ์ ทงั้ ตวั เอง และ บุคคลท่ี
เก่ียวขอ้ ง เพ่ือท่ีจะทราบวา่ เราควรท่ีจะทาอยา่ งไรเพ่ือใหไ้ ด้
ผลประโยชนส์ ูงสุดกลบั เขา้ มา

Thank You


Click to View FlipBook Version