The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

2000-1001 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by watittu Thummajong, 2020-04-02 23:46:17

2000-1001 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น

2000-1001 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น

เศรษฐศาสตร์ 4 คร้ัง กิจกรรม

1. ความหมาย แขนง ระบบเศรษฐกิจ สหกรณ์
ทางเศรษฐกิจ กลไกราคา

2. การพฒั นาเศรษฐกิจ แผนพฒั นฯ เศรษฐกิจพอเพียง
3. เศรษฐกิจระหวา่ งประเทศ
4. การเงิน

เศรษฐศาสตร์เบอื ้ งต้น

อาจารยศ์ รัณยพ์ ร ยนิ ดีสุข

1

ความหมายของเศรษฐศาสตร์
(Economics)

วชิ าแขนงหนง่ึ ในสาขาสงั คมศาสตร์ (Social Science)
ท่ีมงุ่ ศกึ ษาพฤตกิ รรมมนษุ ย์
ตลอดจนปัจจยั ที่มีอทิ ธิพลตอ่ กิจกรรมทางเศรษฐกิจของมนษุ ย์

ความหมายของเศรษฐศาสตร์
(Economics)

วชิ าที่วา่ ด้วยการศกึ ษาวธิ ีการจดั สรรทรัพยากรท่ีมีอยจู่ ํากดั นํามาผลติ
สนิ ค้าและบริการเพ่ือสนองความต้องการของมนษุ ย์ซงึ่ มีไมจ่ ํากดั

ทรัพยากรจํากดั < ความต้องการไมจ่ ํากดั


ความขาดแคลน


การเลือก
(ผลติ สนิ ค้าและบริการท่ีค้มุ คา่ ท่ีสดุ = เกิดประโยชน์สงู สดุ = พอใจมากท่ีสดุ )



คา่ เสียโอกาส (Opportunity cost)

2

ปัญหาพืน้ ฐานทางเศรษฐกิจ เพราะ
ทรัพยากร
Basic economic problems มีจาํ กดั

• ผลติ อะไร (What) ควรจะผลติ อะไร เทา่ ไร
• ผลติ อยา่ งไร (How) ควรผลติ ด้วยเทคนิคการผลติ แบบไหน

จงึ จะมีประสทิ ธิภาพมากที่สดุ =ต้นทนุ ตํ่าสดุ
• ผลติ เพื่อใคร (For Whom) ควรผลติ เพ่ือคนกลมุ่ ใด

และจดั สรรให้ด้วยวธิ ีการอยา่ งไร

ประโยชน์และความสาํ คญั

• ฐานะประชาชน - เข้าใจปัญหาทางเศรษฐกิจ สามารถปรับตวั
ทนั ตอ่ เหตกุ ารณ์

• ฐานะผ้บู ริโภค - เลือกซือ้ สนิ ค้าให้เกิดประโยชน์สงู สดุ รู้จกั บริหาร
จดั การเงินในครอบครัว

• ฐานะผ้ผู ลติ - ดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจให้ได้ผลตอบแทน
อยา่ งค้มุ คา่

• ฐานะผ้บู ริหารประเทศ - แก้ไขปัญหาเศรษฐกิจของประเทศได้
ทําให้ประชาชนมีคณุ ภาพชีวิตที่ดี

3

สาขาวชิ าของเศรษฐศาสตร์

• เศรษฐศาสตร์มหภาค (Macro economics)
เป็นการศกึ ษาเศรษฐกิจของทงั้ ระบบ (ระดบั ประเทศ)
เชน่ รายได้ประชาชาติ การออม การลงทนุ การจ้างงาน
อตั ราดอกเบีย้

• เศรษฐศาสตร์จุลภาค (Micro economics)
เป็นการศกึ ษาเศรษฐกิจของหน่วยยอ่ ย
เช่น การกําหนดราคาสนิ ค้าและบริการแตล่ ะชนิด = ทฤษฎีราคา

หน่วยเศรษฐกิจ (Economic Unit)

• หน่วยงานในระบบเศรษฐกิจท่ีรวมตวั กนั ดาํ เนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ
ตามหนา้ ที่ของตน เพ่อื บรรลุเป้ าหมายท่ีตนกาํ หนดไว้

หน่วยเศรษฐกิจในสงั คมประกอบดว้ ย 3 หน่วย
• ครัวเรือน มี 2 หนา้ ที่ คือ เป็นเจา้ ของปัจจยั การผลิต และผบู้ ริโภค
• หน่วยธุรกิจ ผนู้ าํ ปัจจยั การผลิตมาผลิตสินคา้ และบริการ
• รัฐบาล กาํ กบั ดูแลการดาํ เนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจใหเ้ ป็นไปอยา่ งมี

ระบบ มีประโยชนแ์ ก่ส่วนรวม ส่วนรัฐจะมีบทบาทมากหรือนอ้ ยข้ึนกบั
ระบบเศรษฐกิจท่ีใช้

4

ค่าตอบแทนปัจจยั การผลติ รายได้จากการขายปัจจยั การผลิต
ปัจจยั การผลิต
ตลาดปัจจยั การผลิต

ธุรกจิ ภาษี ดแู ล ภาษี ครัวเรือน
สินค้า บริการ
รัฐบาล สินค้า บริการ

ดแู ล

สินค้า บริการ

ตลาดผลผลติ

รายได้ของธรุ กิจ รายจ่ายของครัวเรือน

แผนภาพแสดงกระแสไหลเวียนในระบบเศรษฐกิจ (ดดั แปลงจาก เศรษฐศาสตร์: 2554)

ระบบเศรษฐกิจ

• เน่ืองจากแตล่ ะประเทศมีความแตกตา่ งกนั ทงั้ ด้านการปกครอง สงั คม
วฒั นธรรมประเพณี จงึ สง่ ผลให้แตล่ ะประเทศมีความแตกตา่ งกนั ใน
เรื่องระบบเศรษฐกิจของประเทศ

• ระบบเศรษฐกิจโลก

– ระบบเศรษฐกิจแบบทนุ นิยม
– ระบบเศรษฐกิจแบบสงั คมนิยม
– ระบบเศรษฐกิจแบบผสม

5

วธิ ีการวเิ คราะห์ระบบเศรษฐกจิ

• เอกชนมีเสรีภาพในการดาํ เนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจมาก-นอ้ ยเพยี งใด

• รัฐมีส่วนเกี่ยวขอ้ งกบั กิจกรรมทางเศรษฐกิจมาก-นอ้ ยเพยี งใด

แต่ไม่ว่าจะเป็ นระบบใดกต็ าม
ส่ิงท่รี ัฐจะต้องจดั การคือ
1.การวางแผนพฒั นาเศรษฐกิจ
2.ความมน่ั คงของชาติ

ระบบเศรษฐกจิ แบบทุนนิยม รัฐ

• เอกชนมีเสรีภาพในการดาํ เนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจมากท่ีสุด

– เอกชนมีเสรีภาพในการผลิต ภายใตข้ องเขตของกฎหมาย
ไม่เขา้ ไปแทรกแซง

– เอกชนเป็นเจา้ ของปัจจยั การผลิตและมีสิทธิครอบรองทรัพยส์ ิน

• มีการแขง่ ขนั

• มีกลไกราคา

6

ขอ้ ดี และขอ้ ดอ้ ยของระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม

ข้อดี ข้อด้อย
• เอกชนมีเสรีภาพ
• เอกชนมีสิทธิในการครอบครอง • ความไม่เท่าเทียมกนั ดา้ นรายได้ (เกิด
ช่องวา่ งระหวา่ งคนรวย-คนจน)
ทรัพยส์ ิน
• มีการใชท้ รัพยากรอยา่ งสิ้นเปลือง


*** เกิดการแข่งขนั  สินคา้ คุณภาพ
คนมีแรงจูงใจ

ระบบเศรษฐกจิ แบบสังคมนิยม

• การดาํ เนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจมาจากส่วนกลาง

– เอกชนไม่มีเสรีภาพในการผลิต รัฐเป็นผดู้ าํ เนินการผลิต
– รัฐเป็นเจา้ ของปัจจยั การผลิตและเป็นเจา้ ของทรัพยส์ ิน

• ไม่มีการแขง่ ขนั = ผกู ขาดโดยรัฐ

• ไม่มีกลไกราคา

7

ขอ้ ดี และขอ้ ดอ้ ย
ของระบบเศรษฐกิจแบบสงั คมนิยม

ข้อดี ข้อด้อย
• ไม่มีความแตกต่างดา้ นรายได้
• ประชาชนไม่มีเสรีภาพ
= เท่าเทียม ในการดาํ เนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ
• มีการจดั สวสั ดิการใหป้ ระชาชน
• ประชาชนขาดแรงจูงใจในการทาํ งาน

ระบบเศรษฐกจิ แบบผสม

• เอกชนเป็นเจา้ ของปัจจยั การผลิตและมีสิทธิครอบรองทรัพยส์ ิน

• เอกชนมีเสรีภาพในการดาํ เนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจมาก
ยกเวน้ กิจการบางอยา่ งที่มีผลต่อส่วนรวม เช่น ไฟฟ้ า ประปา

• มีการแขง่ ขนั และมีกลไกราคา โดยรัฐอาจเขา้
ควบคุมและแทรกแซงเพ่อื ความเป็นธรรม

8

ขอ้ ดี และขอ้ ดอ้ ยของระบบเศรษฐกิจแบบผสม

ข้อดี ข้อด้อย
• เกิดความเป็นธรรมในสังคม
• เอกชนยงั มีอิทธิพลทางเศรษฐกิจ
ค่อนขา้ งมาก

• กิจการของรัฐบางแห่งขาดสภาพ
คลอ่ ง

ระบบเศรษฐกจิ ของไทย

• ระบบเศรษฐกิจของไทยเป็นแบบผสมคอ่ นไปทางทุนนิยม
• รัฐบาลเป็นผวู้ างแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คม
• รัฐจดั ใหม้ ีการประกนั สงั คม
• รัฐแทรกแซงกลไกราคาเมื่อจาํ เป็น
• เอกชนมีเสรีภาพในการผลิตค่อนขา้ งมาก
• รัฐดาํ เนินกิจการสาธารณูปโภคข้นั พ้นื ฐาน

9

แนวโน้มการเปลย่ี นแปลงภาวะเศรษฐกจิ ของโลก

• ระบบเศรษฐกิจมีลกั ษณะเชื่อมโยงกนั ทว่ั โลก
• การแขง่ ขนั ทางการเมืองของประเทศต่าง ๆ ลดนอ้ ยลง
• การแข่งขนั ทางดา้ นเศรษฐกิจสูงข้ึน
• การรวมกลุ่มเศรษฐกิจจะเขม้ แขง็ และขยายตวั
• เศรษฐกิจโลกมีลกั ษณะเป็นตลาดเสรี

กิจกรรมทางเศรษฐกิจ

• การผลติ
• การบริโภค
• การแลกเปลี่ยน
• การกระจาย

10

การผลติ

• การผลติ = กระบวนการ (Process) ในการแปรรูปปัจจยั การผลติ ตา่ ง ๆ
ให้เป็ นสนิ ค้าและบริการ เพอื่ ตอบสนองความต้องการของมนษุ ย์

• การผลติ เป็ นการสร้างประโยชน์ทางเศรษฐกิจที่เรียกวา่
“อรรถประโยชน์” (Economic Utility) ซง่ึ เป็ นความรู้สกึ พงึ พอใจของ
ผ้บู ริโภค ไมม่ ีหนว่ ยวดั บอกเป็นตวั เลขได้ แตเ่ ม่ือซอื ้ สนิ ค้าแล้ว เรารู้สกึ
พอใจ เรียกวา่ “สนิ ค้านนั้ มีประโยชน์” (Utility)

อรรถประโยชน์ (Utility)

• ประโยชน์จากการเปลี่ยนรูปร่าง เช่น ไมเ้ ป็นเกา้ อ้ี
• ประโยชน์จากการเปล่ียนสถานที่ เช่น ยา้ ยจุดขายสินคา้ ใหค้ นซ้ือซ้ือได้

ง่ายข้ึน
• ประโยชน์จากการเปล่ียนกรรมสิทธ์ิ เช่น ตอ้ งโอนความเป็นเจา้ ของได้

(รถยนต)์
• ประโยชนจ์ ากเวลา เช่น ไวน์
• ประโยชนด์ า้ นบริการ (ประโยชนจ์ ากบริการแทนสินคา้ ) เช่น งาน

บริการ

11

ประเภทของสนิ ค้าและบริการ

สนิ ค้า 2 ประเภท แบง่ ตามธรรมชาติของสนิ ค้า
• เศรษฐทรัพย์ หรือสนิ ค้าทางเศรษฐกจิ (economic goods)

สนิ ค้าที่มีต้นทนุ มีราคา หรือมีอยจู่ ํากดั เช่น รถยนต์ ที่ดิน หนงั สอื
• ทรัพย์เสรี หรือ สนิ ค้าไร้ราคา (free goods)

สนิ ค้าท่ีไมม่ ีต้นทนุ ไมม่ ีราคาที่ต้องจ่าย เชน่ แสงแดด อากาศ

สนิ ค้า 2 ประเภท แบง่ ตามคณุ ลกั ษณะของสนิ ค้า
• สนิ ค้าคงทน สนิ ค้าท่ีสามารถใช้ซํา้ ได้หลายครัง้ เช่น เสือ้ ผ้า ต้เู ยน็
• สนิ ค้าไม่คงทน = สนิ ค้าสนิ ้ เปลือง เป็นสนิ ค้าท่ีใช้แล้วหมดไป เชน่ อาหาร เชือ้ เพลงิ

สินค้าเศรษฐทรัพย์ หรือทรัพย์เสรี ?

12

ข้นั ตอนการผลิต

• ข้นั ปฐมภูมิ
• ข้นั ทุติยภูมิ
• ข้นั ตติยภูมิ

ทรัพยากรการผลติ (ปัจจยั การผลติ ) = ทรัพยากรท่ีนํามาผลติ เป็ นสนิ ค้าและบริการ

ปัจจยั การผลติ ผลตอบแทนปัจจยั การผลติ

ที่ดนิ (ที่ดนิ +ทรัพยากร) คา่ เชา่

แรงงาน คา่ จ้าง
- แรงงานมีฝี มอื -แพทย์ ครู
- แรงงานกง่ึ มฝี ี มือ-ช่างตา่ งๆ
- แรงงานไร้ฝี มือ-กรรมกร ยาม

ทนุ ดอกเบยี ้
- สนิ ค้าทนุ
- เงินทนุ

การประกอบการ กําไร

13

การบริโภค

• หมายถึง การใช้ประโยชน์จากสนิ ค้าและบริการเพ่ือบําบดั ความ
ต้องการของตนเอง

• ปัจจยั ที่กําหนดการบริโภค

– รายได้ของผ้บู ริโภค***
– รสนิยมของผ้บู ริโภค
– ราคาของสนิ ค้า

เป็ นต้ น

การแลกเปล่ียน

•การแลกเปลย่ี นทางตรง : การแลกเปลยี่ นสนิ ค้าตอ่ สนิ ค้า (Barter System)

•การแลกเปลย่ี นทางอ้อม : การแลกเปล่ยี นแบบใช้สอ่ื กลาง – เงิน สนิ เชื่อ
ตลาด ตลาดแข่งขนั สมบรู ณ์
ตลาดแขง่ ขนั กง่ึ สมบรู ณ์
ตลาดผกู ขาด

การกระจาย

•กระจายสนิ ค้าและบริการ

•กระจายปัจจยั การผลติ และผลตอบแทนปัจจยั การผลติ

14

ประเด็ ตลาด ตลาดแขง่ ขนั ไมส่ มบรู ณ์
น แขง่ ขนั ตลาดกง่ึ
สมบรู ณ์ แขง่ ขนั กง่ึ ตลาดทมี่ ี ตลาด
ผ้ซู อื้ - ผ้ซู อื้ ผ้ขู าย ผกู ขาด
ขาย ผกู ขาด น้อยราย
ราคา
สินค้า
ลกั ษณ


สินค้า
การ
แขง่ ขั



การกําหนดราคาด้วยอปุ สงค์อปุ ทาน

• อุปสงค์ (demand) = จํานวนตา่ ง ๆ ของสนิ ค้าหรือบริการชนิดนนั้ ท่ี
ผ้บู ริโภคต้องการซือ้ (ไมใ่ ช่ want แตเ่ ป็ นความต้องการท่ีมีอํานาจซอื ้
purchasing power=เตม็ ใจซือ้ ability and willingness) ใน
ระยะเวลาหนงึ่ ณ ระดบั ราคาตา่ ง ๆ ของสนิ ค้าชนิดนนั้ ในระยะเวลาท่ี
กําหนด

• กฎอปุ สงค์ Law of demand อปุ สงค์ คือ
P D ความสมั พนั ธ์ระหวา่ ง
P D  ปริมาณซือ้ กบั ราคา

15

การกําหนดราคาด้วยอปุ สงค์อปุ ทาน

• อุปทาน (Supply) = จํานวนตา่ ง ๆ ของสนิ ค้าหรือบริการนนั้ ท่ีผ้ผู ลติ มี
ความเตม็ ใจที่จะผลติ และนําออกขาย ณ ระดบั ราคาตา่ ง ๆ ภายใน
ระยะเวลาที่กําหนด

• กฎอปุ ทาน Law of supply อปุ ทาน คือ
P S  ความสมั พนั ธ์ระหวา่ ง
P S ปริมาณขายกบั ราคา

กลไกราคา

• ภาวะราคาสนิ ค้าในตลาดท่ี ราคาส้ม Demand Supply
เปล่ียนแปลงขนึ ้ ๆ ลง ๆ ตาม (บาท/ (กิโลกรัม) (กิโลกรัม)
อปุ สงค์อปุ ทาน กิโลกรัม)
5 25
บาท 50 10 20
40 15 15
Kg 30 20 10
20 25 5
10

ตารางแสดงการซือ้ ขายส้ม ณ ตลาดแหง่ หนงึ่

16

ศพั ทท์ ่ีเก่ียวกบั กลไกราคา

»อุปสงคส์ ่วนเกิน
» อุปทานส่วนเกิน
» ราคาดุลยภาพ
» ปริ มาณดุลภาพ

ประเดน็ อุปสงค์ อุปทาน ภาวะดุลยภาพ
ส่วนเกนิ ส่วนเกิน
ลกั ษณะ อุปสงค์ .......
อุปสงค์ ....... อุปสงค์ ....... อปุ ทาน
อุปทาน อปุ ทาน

ผลตอ่ ปรมิ าณ
สินค้า

ผลตอ่ ราคา
สินค้า

17

คณุ ลกั ษณะของสนิ ค้า
และบริการ

1. สนิ ค้าปกติ
2. สนิ ค้าท่ีใช้ทดแทนกนั ได้
3. สนิ ค้าท่ีใช้ประกอบกนั (ร่วมกนั )

การควบคมุ ราคา

การควบคมุ อปุ สงค์-อปุ ทานโดยรัฐ***เพื่อรักษาความเป็ นธรรม
• การแทรกแซงราคา

– การประกนั ราคาขนั้ ต่ํา
– การกําหนดราคาขนั้ สงู

• การเก็บภาษีสนิ ค้าและการผลกั ภาระภาษี

18

เศรษฐศาสตร์

ความหมาย ความสาํ คญั

แขนงวชิ า

ระบบเศรษฐกิจ

กิจกรรมทางเศรษฐกิจ

การพฒั นาเศรษฐกิจ
และความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ

19

ความต่างของการพฒั นาเศรษฐกิจ Economic Development
และความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ Economic Growth

• การพฒั นาเศรษฐกจิ • ความเจริญเตบิ โตทางเศรษฐกจิ

กระบวนการเพิ่มรายไดป้ ระชาชาติ การเพิ่มข้ึนของรายได้ โดยไม่เนน้
มาตรฐานการครองชีพ และคุณภาพ การเปล่ียนแปลงและปรับปรุง
ชีวติ อยา่ งตอ่ เนื่อง รวมถึงการ โครงสร้างทางเศรษฐกิจ
เปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางเศรษฐกิจ
สังคมวฒั นธรรม และการเมือง ท่ีจะ
สนบั สนุนใหก้ ารเพม่ิ ผลผลิตน้นั ยงั คง
มีอยไู่ ด้ มุ่งเพ่มิ การกินดีอยดู่ ีของ
ประชาชนในประเทศเป็นสาํ คญั

การวดั ระดบั การพฒั นาเศรษฐกิจ

เกณฑท์ ี่ใชว้ ดั ระดบั การพฒั นาเศรษฐกิจ

1. รายไดเ้ ฉล่ียต่อบุคคล (PCI)
2. โครงสร้างทางเศรษฐกิจ
3. อตั ราการขยายตวั ทางเศรษฐกิจ
4. คุณภาพประชากร

20

รายไดป้ ระชาชาติ

คือ มลู ค่ารวมของสินคา้ และบริการที่คิดเป็นตวั เงินท่ีประชาชาติผลิตข้ึนในระยะเวลา 1 ปี

• ผลิตภณั ฑม์ วลรวมในประเทศ • ผลิตภณั ฑม์ วลรวมประชาชาติ

Gross Domestic Product: GDP Gross National Product: GNP

• คือ มลู คา่ รวมของสินคา้ และบริการที่คิดเป็นตวั เงินท่ี • คือ มลู ค่ารวมของสินคา้ และบริการท้งั หมดท่ีผลิตข้ึน

ผลิตข้ึนในประเทศไทยในเวลา 1 ปี โดยไม่คาํ นึงวา่ โดยคนสญั ชาติไทย ในระยะเวลา 1 ปี ไม่วา่ จะผลิต
ผลิตข้ึนโดยคนไทยหรือคนสญั ชาติอื่นที่พาํ นกั อยใู่ น ในประเทศไทย หรือไปลงทุนผลิตในต่างประเทศ

ประเทศไทย

ประโยชนข์ องขอ้ มลู รายไดป้ ระชาชาติ

1. ใชใ้ นการเปรียบเทียบฐานะทางเศรษฐกิจกบั ประเทศอ่ืน ๆ

2. แสดงใหเ้ ห็นความเจริญเติบโตของระบบเศรษฐกิจโดยรวม

3. ใชเ้ ป็นเคร่ืองช้ีความสาํ เร็จของการดาํ เนินนโยบายเศรษฐกิจของประเทศ

4. ใชว้ างแผน กาํ หนดนโยบาย และวเิ คราะห์เศรษฐกิจของประเทศ

5. ใชเ้ ปรียบเทียบมาตรฐานการครองชีพของประชาชน โดย

พิจารณาจากรายไดเ้ ฉล่ียต่อบุคคล

21

ขอ้ จาํ กดั ของขอ้ มลู รายไดป้ ระชาชาติ

1. การเปรียบเทียบรายไดป้ ระชาชาติกบั ประเทศอื่น ๆ ตอ้ งคาํ นึงถึง
องคป์ ระกอบอื่น ๆ ดว้ ย เช่นคุณภาพชีวติ

2. รายไดป้ ระชาชาติไม่ไดบ้ อกการกระจายรายไดข้ องประชากร
3. รายไดป้ ระชาชาติไม่ไดบ้ อกมาตรฐานแทจ้ ริงของคุณภาพชีวิต
4. จาํ นวนประชากรมีผลต่อรายไดป้ ระชาชาติ

ขอ้ ใดแสดงวา่ ประเทศ ก.พฒั นามากกวา่ ประเทศ ข.

1. ก. เป็นประเทศอุตสาหกรรม ข.เป็นประเทศกสิกรรม
2. จาํ นวนประชากรในประเทศ ก. มากกวา่ ข.
3. รายไดป้ ระชาชาติเฉล่ียต่อหวั ของประเทศ ก. มากกวา่ ข.
4. คุณภาพของประชากรในประเทศ ก. ดีกวา่ ข.

22

จุดมุ่งหมายที่สาํ คญั ที่สุดของการพฒั นาเศรษฐกิจคืออะไร

1. การดึงดูดการลงทุนจากต่างประเทศ
2. การยกระดบั รายไดต้ ่อหวั
3. การกระจายความเจริญออกสู่ชนบท
4. การยกระดบั มาตรฐานค่าครองชีพใหส้ ูงข้ึน

รายไดป้ ระชาชาติวดั อะไรไดบ้ า้ ง (วเิ คราะห์ภาวะเศรษฐกิจ)

ระดบั กิจกรรมทางเศรษฐกิจ 

ปริมาณสินคา้ และบริการ 

คุณภาพสินคา้ และบริการ 

การกระจายรายไดร้ ะหวา่ งบคุ คล 

ระดบั ความสาํ เร็จในการดาํ รงชีวติ ของสงั คม (ความสุขมวลรวม) 

23

การวางแผนพฒั นาเศรษฐกิจ

• คือ การวางแผนล่วงหนา้ ของรัฐในการที่จะเร่งรัดการพฒั นาเศรษฐกิจของประเทศภายใน
ระยะเวลาที่กาํ หนดไว้ โดยกาํ หนดวตั ถุประสงค์ เป้ าหมาย แผนการดาํ เนินการ วธิ ีการดาํ เนินการ
และหน่วยปฏิบตั ิการท่ีรับผดิ ชอบไวเ้ ป็นระเบียบแบบแผนอยา่ งชดั เจน

• สาเหตุทต่ี ้องมแี ผนพฒั นาเศรษฐกจิ
– อตั ราการเพิ่มประชากรสูง แต่ทรัพยากรมีจาํ กดั
– เพอื่ ปรับปรุงโครงสร้างทางเศรษฐกิจ สงั คม การเมืองของประเทศอยา่ งมีแบบแผน

• วตั ถุประสงค์ในการวางแผนพฒั นาเศรษฐกจิ
– เพื่อความมงั่ คง่ั &มน่ั คงของประเทศ

แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 10
พ.ศ.2550-2554

วิสยั ทศั นป์ ระเทศไทย
• มุ่งพฒั นาสู่ “สังคมอย่เู ยน็ เป็ นสุขร่วมกนั (Green and

Happiness Society) คนไทยมคี ณุ ธรรมนําความรอบรู้
รู้เท่าทนั โลก ครอบครัวอบอ่นุ ชุมชนเข้มแขง็ สังคมสันติสุข เศรษฐกจิ มี
คณุ ภาพ เสถยี รภาพ และเป็ นธรรม สิ่งแวดล้อมมคี ณุ ภาพและ
ทรัพยากรธรรมชาติยงั่ ยนื อย่ภู ายใต้ระบบบริหารจดั การประเทศทม่ี ีธรร
มาภิบาล ดาํ รงไว้ซึ่งระบอบประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษตั ริย์ ทรงเป็ น
ประมขุ และอย่ใู นประชาคมโลกได้อย่างมศี ักดิ์ศรี”

24

“ธรรมาภิบาล” Good Governance

หลกั ธรรมาภบิ าล มีองค์ประกอบที่สาคญั 6 ประการดงั นี ้

1. หลกั นิตธิ รรม

2. หลกั คณุ ธรรม

3. หลกั ความโปร่งใส เช่น ประชาพิจารณ์การแสดงประชามติ
4. หลกั ความมีสว่ นร่วม ทําให้เกิดความร่วมมือระหวา่ ง
5. หลกั ความรับผดิ ชอบ รัฐ-ประชาชน-ภาคธรุ กิจ

6. หลกั ความประหยดั และค้มุ คา่

เศรษฐกจิ พอเพยี ง

“...เศรษฐกิจพอเพียง เป็นเสมือนรากฐานของชีวติ
รากฐานความมน่ั คงของแผน่ ดนิ
เปรียบเสมอื นเสาเขม็ ท่ีถกู ตอกรองรับบ้านเรือน ตวั อาคารไว้นน่ั เอง
สงิ่ ก่อสร้างจะมน่ั คงได้ก็อยทู่ ี่เสาเขม็
แตค่ นสว่ นมากมองไมเ่ ห็นเสาเขม็ และลมื เสาเขม็ เสยี ด้วยซาํ ้ ไป...”*

พระบรมราโชวาทพระราชทานผา่ นมลู นิธิชยั พฒั นา

25

ไมไ่ ด้ห้ามซือ้
ซือ้ ได้

แตต่ ้องไม่เบียดเบยี นตนและผู้อ่นื

ที่มา http://www.sufficiencyeconomy.org

ปัญหา บ้านเมืองประสบปัญหา
เศรษฐกิจ สงั คม การเมือง สง่ิ แวดล้อม
ปรัชญา
เศรษฐกจิ ความพอประมาณ
พอเพียง
ความมีเหตุผล ภมู คิ ุ้มกัน
เป้ าหมาย
ความรู้ และคุณธรรม
การพฒั นาอยา่ งยงั่ ยืน

26

ที่มา http://www.sufficiencyeconomy.org

เป้ าหมายท่แี ท้จริงคอื
- การกินดีอยดู่ ี
- บ้านเมืองสงบ
- มีความเจริญ

ที่มา http://www.sufficiencyeconomy.org

27

เศรษฐกิจระหวา่ งประเทศ

เศรษฐกิจระหวา่ งประเทศ

หมายถึง การดาํ เนินงานดา้ นธุรกิจ และความสมั พนั ธ์ร่วมมือกนั ทางดา้ น
เศรษฐกิจระหวา่ งประเทศ

ประกอบดว้ ยกิจกรรมสาํ คญั 4 ประการ คือ
1. การคา้ ระหวา่ งประเทศ
2. การชาํ ระเงินระหวา่ งประเทศ
3. การลงทุนระหวา่ งประเทศ
4. การร่วมมือทางเศรษฐกิจระหวา่ งประเทศ

28

1. การคา้ ระหวา่ งประเทศ

• หมายถึง การท่ีภาครัฐหรือเอกชนของประเทศหน่ึงทาํ การคา้ กบั ภาครัฐหรือ
เอกชนอีกประเทศหน่ึง เพอื่ แสวงหากาํ ไรทางการคา้

• สาเหตุที่เกิดการคา้ ระหวา่ งประเทศ
 ความแตกต่างของอุปสงค-์ อปุ ทานในแตล่ ะประเทศ

• ประโยชนข์ องการคา้ ระหวา่ งประเทศ
สนองความตอ้ งการ + เกิดความชาํ นาญเฉพาะ + มีการแข่งขนั ดา้ นคุณภาพ

• นโยบายการคา้ ระหวา่ งประเทศ

1. นโยบายการคา้ เสรี
2. นโยบายการคา้ แบบคุม้ กนั

นโยบายการคา้ แบบคุม้ กนั

จุดประสงคข์ องนโยบาย เคร่ืองมือในการใชน้ โยบาย
1. การต้งั กาํ แพงภาษี
1. ใหป้ ระเทศช่วยเหลือตนเองไดย้ าม 2. การกาํ หนดโควตาสินคา้ นาํ เขา้
ฉุกเฉิน 3. การหา้ มนาํ เขา้ -ส่งออกสินคา้ บาง

2. คุม้ ครองอุตสาหกรรม ชนิด
ภายในประเทศ
4. ควบคุมการแลกเปลี่ยนเงินตรา
3. ป้ องกนั การทุ่มตลาด 5. ใหค้ วามช่วยเหลือผสู้ ่งออก

4. เพือ่ แกป้ ัญหาการขาดดุลการคา้

29

ดุลการคา้ ระหวา่ งประเทศ

คือ การเปรียบเทียบมลู คา่ ของสินคา้ ส่งออกกบั มลู คา่ ของสินคา้ นาํ เขา้ ในรอบ 1 ปี

ลกั ษณะของดุลการคา้ ไทย
• ดุลการคา้ สมดุล (สินคา้ ออก = สินคา้ เขา้ )
• ดุลการคา้ ขาดดุล (สินคา้ ออก < สินคา้ เขา้ )
• ดุลการคา้ เกินดุล (สินคา้ ออก > สินคา้ เขา้ )

“เน้นสง่ ออก ลดการนําเข้า แก้ปัญหาขาดดลุ การค้าไทย”

การใช้นโยบายการค้าแบบค้มุ กนั มีอยหู่ ลายประเภท ยกเว้นข้อความใด
(A49)

1. การรวมกลมุ่ ประเทศ
2. การตงั้ กําแพงภาษี
3. การกําหนดโควต้าสนิ ค้านําเข้า
4. การห้ามนําเข้าหรือสง่ ออกสนิ ค้าบางชนิดอยา่ งเดด็ ขาด

30

ข้อใดไมใ่ ช่ประโยชน์จากการดําเนินนโยบายการค้าเสรีตอ่ ประเทศท่ีทํา
การค้าระหวา่ งประเทศ

1. การจดั สรรทรัพยากรของประเทศเป็ นไปอยา่ งมีประสทิ ธิภาพ
2. เกิดความก้าวหน้าทางด้านวทิ ยาการและเทคโนโลยี
3. ประชาชนของประเทศมีโอกาสได้บริโภคสินค้ามากชนิดขนึ ้
4. ตลาดกว้างขนึ ้ เปิ ดโอกาสให้ผลติ สนิ ค้าได้หลากหลายชนิดขนึ ้

2. การชาํ ระเงินระหวา่ งประเทศ

• ดุลการชาํ ระเงินระหวา่ งประเทศ
= รายรับท้งั หมดท่ีไดจ้ ากต่างประเทศ -รายจ่ายท้งั หมดที่ไดจ้ ากต่างประเทศ

ดลุ การชําระเงิน

1. บญั ชีเดนิ สะพัด 2.บัญชี 3.บัญชี

เงนิ ทนุ ทุน

(ทนุ สาํ รอง
ดลุ ดลุ ดลุ ดลุ ดลุ เคลื่อนย้าย ระหว่าง
การค้า บริการ เงินโอน บริจาค รายได้ ระหว่าง ประเทศ

ประเทศ)

31

ประเภทของดุลการชาํ ระเงิน

• ดุลการชาํ ระเงินสมดุล (รายรับ = รายจ่าย)
• ดุลการชาํ ระเงินขาดดุล (รายรับ < รายจ่าย)
• ดุลการชาํ ระเงินเกินดุล (รายรับ > รายจ่าย) ไทย

ถ้าประเทศ ก มีดลุ การค้าเทา่ กบั 2,000ล้านบาท ดลุ บญั ชีเดนิ สะพดั เท่ากบั
3,000 ล้านบาท ดลุ บญั ชีทนุ สํารองระหวา่ งประเทศเท่ากบั 1,000 ล้านบาท
ข้อใดกลา่ วได้ถกู ต้อง (A51)
1. ดลุ บริการและรายได้เกินดลุ 1,000 ล้านบาท
2. ดลุ การค้าและบริการเกินดลุ 3,000 ล้านบาท
3. ดลุ บญั ชีทนุ ขาดดลุ เท่ากบั 2,000 ล้านบาท
4. ดลุ การชําระเงินขาดดลุ เทา่ กบั 1,000 ล้านบาท

32

นบั ต้งั แต่ พ.ศ.2544 เป็นตน้ มา ประเทศไทยมีทุนสาํ รองเงินตราระหวา่ งประเทศ
เพ่ิมข้ึนมาก สภาพการณ์ดงั กล่าวเป็นผลจากปัจจยั ใด (A50)

1. ดุลการชาํ ระเงินเกินดุล
2. หน้ีต่างประเทศลดลงมาก
3. เงินทุนไหลเขา้ ประเทศมากกวา่ ไหลออก
4. อตั ราการขยายตวั ของสินคา้ ออกสูงกวา่ อตั ราการขยายตวั ของสินคา้ นาํ เขา้

3.การลงทุนระหวา่ งประเทศ

• หน่วยงานที่ดูแล คือสาํ นกั งานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (BOI)
จะอาํ นวยความสะดวก และดูแลผลประโยชนใ์ หค้ นไทย

• รัฐบาลสนบั สนุนการลงทุนจากต่างประเทศ ซ่ึงส่วนใหญ่มาจากญ่ีป่ ุน
สหรัฐอเมริกา ไตห้ วนั สิงคโปร์

33

ข้อใดเป็ นปัจจยั สําคญั ท่ีดงึ ดดู การลงทนุ ทางตรงจากตา่ งประเทศมายงั
ประเทศไทย (A51)

1. อตั ราดอกเบีย้ ของไทยสงู กวา่ อตั ราดอกเบยี ้ ตา่ งประเทศ
2. ดชั นีราคาห้นุ ในตลาดหลกั ทรัพย์ของไทยตาํ่ กวา่ ดชั นีราคาห้นุ ของ

ประเทศพฒั นาแล้ว
3. ประเทศไทยเป็ นศนู ย์กลางทางการเงินในภมู ภิ าค
4. คา่ จ้างแรงงานของไทยตํา่ กวา่ คา่ จ้างของประเทศอตุ สาหกรรม

4. การร่วมมือทางเศรษฐกิจระหวา่ งประเทศ

• สาเหตุของการร่วมมือทางเศรษฐกิจระหวา่ งประเทศ

– เพอ่ื ใหค้ วามช่วยเหลือแก่ประเทศยากจน
– เพอ่ื ผลประโยชน์ดา้ นการเมืองระหวา่ งประเทศ
– เพอ่ื รักษาผลประโยชนท์ างการคา้ ร่วมกนั

• รูปแบบความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหวา่ งประเทศ

– การใหค้ วามช่วยเหลือแบบใหเ้ ปลา่ (Grant)
– การใหเ้ งินกยู้ มื (Loan)
– การทาํ ความตกลงทางธุรกิจการคา้ (Trade Agreement)

34

องคก์ รระหวา่ งประเทศท่ีมีบทบาทในดา้ นความร่วมมือทางเศรษฐกิจ

• ASEAN
• EU
• APEC
• OPEC
• ฯลฯ

การเงิน

35

เงิน

สิ่งท่ีสังคมยอมรับใหใ้ ชเ้ ป็นส่ือกลางในการแลกเปลี่ยนสินคา้ และบริการ
หรือชาํ ระหน้ี และเป็นมาตรฐานในการวดั มูลค่า

ประเภทของเงิน
• เหรียญกษาปณ์
• ธนบตั ร
• เงินฝากธนาคารประเภทกระแสรายวนั

ส่ิงที่ใกลเ้ คียงกบั เงิน
ทรัพยส์ ินท่ีสามารถเปลี่ยนเป็นเงินไดเ้ ท่ากบั มูลคา่ ของทรัพยส์ ินน้นั หรือ
ใกลเ้ คียง เช่น เงินฝากประจาํ พนั ธบตั รรัฐบาล ตวั๋ สญั ญาใชเ้ งิน สลากออมสิน
หุน้ ฯลฯ

หนา้ ท่ีของเงิน

1. เป็นเครื่องวดั มลู คา่
2. เป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน
3. เป็นมาตรฐานการชาํ ระหน้ีในอนาคต
4. เป็นเครื่องรักษามูลค่า

36

ค่าของเงิน = อาํ นาจซ้ือ

1. ค่าภายนอก คือ ราคาของเงินตราสกลุ หนงึ่ เม่ือคดิ เป็ นราคาของ
เงินตราอีกสกลุ หนง่ึ เชน่ บาทตอ่ ดอลลาร์

2. ค่าภายใน คือ อํานาจซือ้ สนิ ค้าและบริการของเงิน 1 หน่วย ถ้าเงิน 1
หนว่ ยซือ้ สนิ ค้าได้จํานวนมาก ก็แสดงวา่ คา่ ของเงินสงู

การลดค่าเงิน

= ตอ้ งใชเ้ งินบาทจาํ นวนมากข้ึนเพอื่ ใหไ้ ดเ้ งินสกลุ อ่ืนจาํ นวนเท่าเดิม

ผลจากการลดค่าเงินบาท • เดิม 25บาท : 1$

1. สินคา้ ไทยที่ส่งออกไปขาย • ลดคา่ เงินบาท 50บาท : 1$
ตา่ งประเทศจะมีราคาถูกลง
• สินคา้ นาํ เขา้ ราคา แพงจงั !
2. สินคา้ ตา่ งประเทศที่สง่ั เขา้ มาใน
ประเทศ จะมีราคาเป็นเงินบาท 1000
สูงข้ึน
20$ บาท
3. ราคาสินคา้ ไทยที่ใชป้ ัจจยั การผลิต
จากต่างประเทศมีแนวโนม้ สูงข้ึน • สินคา้ ส่งออกราคา

1$ ถกู !

50บาท

37

เงินเฟ้ อ : เงินหมุนเวียนในมือมาก แต่คา่ ของเงินนอ้ ย

เงินเฟ้ อ หมายถงึ ภาวะที่ระดบั ราคาสินค้าโดยทวั่ ๆ ไปสงู ขนึ ้ และมีแนวโน้มสงู ขนึ ้ เร่ือย ๆ
ทําให้คา่ ของเงิน (อํานาจซือ้ )ลดลง
เงินเฟ้ อมีผลกระทบตอ่ เศรษฐกิจ คือ ทําให้ราคาสินค้าสงู ขนึ ้ อยา่ งรวดเร็ว
ประชาชนจงึ เดือดร้อน เน่ืองจากมีรายได้ไม่เพียงพอกบั รายจา่ ย

ปริมาณเงินในตลาดคา่ ของเงินD>Sสนิ ค้าขาดตลาดราคารายได้ไมพ่ อรายจ่าย

สาเหตขุ องภาวะเงินเฟ้ อ
1. ต้นทนุ การผลิตสินค้าและบริการสงู ขนึ ้
2. ความต้องการสนิ ค้า/บริการมากกว่าจํานวนสนิ ค้า ทําให้สนิ ค้าขาดตลาด ราคาจงึ สงู ขนึ ้
3. ปริมาณเงินในระบบมีมากเกินไป

ผลกระทบของภาวะเงินเฟ้ อ

1. ราคาสินค้าสงู ขนึ ้ อย่างรวดเร็ว ทําให้ผ้มู ีรายได้ประจําเดือดร้อน

2. ประชาชนไมอ่ ยากเก็บเงิน เพราะเกรงวา่ ค่าของเงินจะลดลงเรื่อย ๆ จงึ จบั จ่ายใช้สอยมากขนึ ้

3. รัฐบาลประสบปัญหาในการบริหารประเทศ

แนวทางแกไ้ ขภาวะเงินเฟ้ อ

เงินเฟ้ อ เกิดจากคนมีเงินหมุนเวยี นในมือมาก ดงั น้นั ตอ้ ง ดึงเงินเขา้ รัฐ

BPG

นโยบายการเงนิ นโยบายการคลงั นโยบายการบรหิ าร
ของรฐั บาล
•ควบคุมใหธ้ นาคารลดการ •เพมิ่ ภาษี
ปล่อยสินเช่ือ •กาํ หนดนโยบายการคลงั แบบ •ควบคุมราคาสินคา้
•ใหธ้ นาคารซ้ือพนั ธบตั ร หดตวั (งบเกินดุล) ค่าครองชีพ
รัฐบาล •ควบคุมหน้ีสาธารณะ
•ลดค่าใชจ้ ่ายภาครัฐ

38

บคุ คลที่เสียเปรียบจากภาวะเงินเฟ้ อ

นกั ธรุ กจิ ครู เจ้าหนี้ ลกู หนี้
ใช้มรดกเกา่ แมค่ ้า




เงินฝื ด : เงินหมุนเวยี นในมือนอ้ ย แต่ค่าของเงินมาก

เงินฝื ด หมายถงึ ภาวะท่ีระดบั ราคาสนิ ค้าโดยทวั่ ๆ ไปลดต่ําลง
ทําให้คา่ ของเงิน (อํานาจซือ้ )เพ่ิมขนึ ้
เงินฝื ดมีผลกระทบตอ่ เศรษฐกิจ คือ ทําให้เศรษฐกิจซบเซา

ปริมาณเงินในตลาดคา่ ของเงินD<Sสินค้าล้นตลาดราคาเศรษฐกิจซบเซา
สาเหตขุ องภาวะเงินฝื ด เช่น
1. ปริมาณเงินในระบบมีน้อยเกินไป
2. ประชาชนเก็บเงินไว้กบั ตวั มากเกินไป
3. รัฐบาลจดั เก็บภาษีในอตั ราก้าวหน้า
4. ธนาคารกลางควบคมุ การปลอ่ ยสนิ เชื่อธนาคารพาณิชย์มากเกินไป
ผลกระทบของภาวะเงินเฟ้ อ
1. การค้าซบเซา เกิดปัญหาว่างงาน
2. รัฐบาลประสบปัญหาในการบริหารประเทศ

39

แนวทางแกไ้ ขภาวะเงินฝืด

เงินเฟ้ อ เกิดจากคนมีเงินหมุนเวียนในมือนอ้ ย ดงั น้นั ตอ้ ง เพม่ิ เงินในตลาด

B PG

นโยบายการเงนิ นโยบายการคลงั นโยบายการบรหิ าร
ของรฐั บาล
•สนบั สนุนใหธ้ นาคารปล่อย •ลดภาษี
สินเชื่อ •กาํ หนดนโยบายการคลงั แบบ •เร่งพฒั นาเศรษฐกิจท้งั ดา้ น
ขยายตวั (งบขาดดุล) เกษตรและอุตสาหกรรม
•ส่งเสริมการลงทุนจาก
ต่างประเทศ

บคุ คลที่เสียเปรียบจากภาวะเงินฝื ด

นกั ธรุ กจิ ครู เจ้าหนี้ ลกู หนี้
ใช้มรดกเกา่ แมค่ ้า




40

ขอ้ ใดแสดงวา่ เกิดภาวะเงินเฟ้ อข้ึนในประเทศไทย

1. ราคาไขไ่ ก่และไข่เป็ดราคาสูงข้ึนมาก
2. อตั ราดอกเบ้ียสูงข้ึน
3. ดชั นีราคาสูงข้ึน
4. คา่ จา้ งแรงงานสูงข้ึน

การลดค่าเงินบาทเป็นการดาํ เนินมาตรการทางเศรษฐกิจ เพื่อแกป้ ัญหาใด
1. การกระจายรายได้
2. ภาวะเงินตึงตวั
3. ดุลการคา้ ขาดดุล
4. ภาวะเงินเฟ้ อ

คา่ เงินบาทลดลง = อํานาจซือ้ ลดลง ดงั นนั้ ต้องใช้เงินมากขนึ ้ ใน
การซือ้ สนิ ค้าจากตา่ งประเทศ ทําให้ลดปัญหาการขาดดลุ การค้า

41

มาตรการใดท่ีมีส่วนช่วยลดภาวะเงินเฟ้ อใหบ้ รรเทาลง

1. การรับซ้ือพนั ธบตั รรัฐบาลคืนจากประชาชน
2. การเพิม่ การสง่ั ซ้ือสินคา้ เขา้ มาจากต่างประเทศ
3. การลดอตั ราดอกเบ้ียเงินฝากของธนาคารพาณิชย์
4. การลดอตั ราดอกเบ้ียเงินกขู้ องธนาคารพาณิชย์

การประกาศข้ึนอตั ราดอกเบ้ียของประเทศสหรัฐอเมริกา
ไม่มีผลใหเ้ กิดแนวโนม้ ใดต่อเศรษฐกิจ

1. จะเกิดภาวะเงินตึงตวั ข้ึนในประเทศ
2. อตั ราดอกเบ้ียในประเทศจะปรับตวั สูงข้ึน
3. จะมีการไหลเขา้ ของเงินตราต่างประเทศ
4. การลงทุนในประเทศจะลดต่าํ ลง

42


Click to View FlipBook Version