The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Preapun Thimasan, 2019-10-14 23:52:59

อาเซียน

หนังสืออิเล็กทรอนิกส์

หนงั สืออเิ ล็กทรอนิกส์ (E-Book)

อาเซียน

จดั ทำโดย นำงสำวแพรพรรณ ธมิ ะสำร

คำนำ

อาเซียน (ASEAN) เป็ นการรวมตวั กนั ของ 10 ประเทศ
ในทวปี เอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ ผนู้ าอาเซียนไดร้ ่วมลงนาม
ในปฎิญญาวา่ ดว้ ยความร่วมมืออาเซียนเห็นชอบใหจ้ ดั ต้งั
ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community)คือเป็ นองคก์ รระหวา่ ง
ประเทศ ระดบั ภมู ิภาคเอเชียตะวนั ออกเฉียงใตม้ ีจุดเร่ิมตน้ โดย
ประเทศไทย มาเลเซีย และฟิ ลิปปิ นส์ ไดร้ ่วมกนั จดั ต้งั สมาคม
อาสา (Association of South East Asia) เมื่อเดือน ก.ค.2504 เพ่อื
การร่วมมือกนั ทาง เศรษฐกิจ สงั คมและวฒั นธรรมแตด่ าเนินการ
ไปไดเ้ พียง 2 ปี กต็ อ้ งหยดุ ชะงกั ลง เนื่องจากความผกผนั ทางการ
เมือง ระหวา่ งประเทศอินโดนีเซียและประเทศมาเลเซีย จนเม่ือมี
การฟ้ื นฟสู มั พนั ธ์ทางการฑตู ระหวา่ งสองประเทศ

จึงไดม้ ีการแสวงหาหนทางความร่วมมือกนั อีกคร้ัง และ
สาเร็จภายในปี พ.ศ. 2563 (ค.ศ. 2020) แต่ต่อมาไดต้ กลงร่น
ระยะเวลาจดั ต้งั ใหเ้ สร็จในปี พ.ศ. 2558 (ค.ศ. 2015) ในปี น้นั เอง
จะมีการเปิ ดกวา้ งใหป้ ระชาชนในแต่ละประเทศสามารถเขา้ ไป
ทางานในประเทศ อื่น ๆ ในประชาคมอาเซียนไดอ้ ยา่ งเสรี
เสมือนดงั เป็ นประเทศเดียวกนั

สำรบญั หน้ำ
1
เร่ือง 2
ความเป็ นมาอาเซียน 3
สู่การเป็ นประชาคมอาเซียนในปี 2558 4
ประชาคมอาเซียนประกอบไปดว้ ย 3 เสาหลกั 5
ประชาคมอาเซียน 6-9
จุดประสงคห์ ลกั ของอาเซียน 10-11
ความรู้เก่ียวกบั อาเซียน 12-21
กฎบตั รอาเซียน 22
10 ประเทศในอาเซียน
บรรณานุกรม

ควำมเป็ นมำของอำเซียน

สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้
(Association of Southeast Asian Nations หรือ ASEAN)
ก่อต้งั ข้ึนโดยปฏิญญากรุงเทพ (Bangkok Declaration)
หรือ ปฏิญญาอาเซียน (ASEAN Declaration) เม่ือวนั ท่ี 8
สิงหาคม 2510 โดยมีประเทศสมาชิก 5 ประเทศ
ประกอบดว้ ย อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิ ลิปปิ นส์ สิงคโปร์
และไทย

เพ่อื ส่งเสริมความร่วมมือทางดา้ นการเมือง เศรษฐกิจ
และสงั คม ของประเทศในภมู ิภาคเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้
ตอ่ มามีประเทศสมาชิกเพิ่มเติม ไดแ้ ก่ บรูไนดารุส-ซาลาม
เวยี ดนาม ลาว เมียนมาร์ และกมั พชู า ตามลาดบั จึงทา
ใหป้ ัจจุบนั อาเซียน มีสมาชิก 10 ประเทศ

1

สู่กำรเป็ นประชำคมอำเซียน ในปี 2558

ปัจจุบนั บริบททางการเมือง เศรษฐกิจ และสงั คม
รวมท้งั ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งประเทศไดเ้ ปลี่ยนแปลงไป
อยา่ งมากทาใหอ้ าเซียนตอ้ งเผชิญ ส่ิงทา้ ทายใหมๆ่ อาทิ
โรคระบาด การก่อการร้าย ยาเสพติด การคา้ มนุษย์
สิ่งแวดลอ้ ม ภยั พิบตั ิ อีกท้งั ยงั มีความจาเป็ นตอ้ งรวมตวั
กนั เพือ่ เพ่มิ อานาจต่อรองและขีดความสามารถทางการ
แข่งขนั กบั ประเทศในภูมิภาคใกลเ้ คียงและในเวทีระหวา่ ง
ประเทศผนู้ าอาเซียนจึงเห็นพอ้ งกนั วา่ อาเซียนควรจะ
ร่วมมือกนั ใหเ้ หนียวแน่น เขม้ แขง็ และมน่ั คงยงิ่ ข้ึนจึงได้
ประกาศ “ปฏิญญาวา่ ดว้ ยความร่วมมือในอาเซียน
ฉบบั ท่ี 2”

2

ประชำคมอำเซียนประกอบไปด้วย 3 เสำหลกั

- ประชาคมการเมืองและความมนั่ คงอาเซียน (ASEAN
Political and Security Community - APSC) มงุ่ ใหป้ ระเทศกลมุ่
สมาชิกอยรู่ ่วมกนั อยา่ งสนั ติสุข แกไ้ ขปัญหาระหวา่ งกนั โดย
สนั ติวธิ ี มีเสถียรภาพและความมน่ั คงรอบดา้ น เพอื่ ความมนั่ คง
ปลอดภยั ของเหลา่ ประชาชน
- ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic
Community - AEC) มุง่ เนน้ ใหเ้ กิดการรวมตวั กนั ทางเศรษฐกิจ
และความสะดวกในการติดตอ่ คา้ ขายระหวา่ งกนั เพอ่ื ให้
ประเทศสมาชิกสามารถแข่งขนั กบั ภมู ิภาคอ่ืนๆได้
- ประชาคมสงั คมและวฒั นธรรมอาเซียน (ASEAN Socio -
Cultural Community - ASCC) มุง่ หวงั ใหป้ ระชากรอาเซียนมี
สภาพความเป็ นอยทู่ ี่ดี มีความมน่ั คงทางสงั คม มีการพฒั นาใน
ทุกๆ ดา้ น และมีสงั คมแบบเอ้ืออาร โดยจะมีแผนงานสร้าง
ความร่วมมือ 6 ดา้ น คือ การพฒั นาทรัพยากรมนุษย์ การ
คุม้ ครองและสวสั ดิการสงั คม สิทธิและความยตุ ิธรรมทางสงั คม
ความยง่ั ยนื ดา้ นส่ิงแวดลอ้ ม การสร้างอตั ลกั ษณ์อาเซียน การลด
ช่องวา่ งทางการพฒั นา

ซ่ึงต่อมาผนู้ าอาเซียนไดต้ กลงใหม้ ีการจดั ต้งั ประชาคม
อาเซียนใหแ้ ลว้ เสร็จเร็วข้ึนมาเป็ นภายในปี 2558

3

ประชำคมอำเซียน

ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community)
คือ การรวมตวั ของกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียนใหเ้ ป็ น
ชุมชนท่ีมีความแขง็ แกร่ง สามารถสร้างโอกาสและรับมือส่ง
ทา้ ทา้ ย ท้งั ดา้ นการเมืองความมนั่ คง เศรษฐกิจ และภยั
คุกคามรูปแบบใหม่ โดยสมาชิกในชุมชนมีสภาพความ
เป็ นอยทู่ ี่ดี สามารถประกอบกิจกรรมทางเศรษฐกิจไดอ้ ยา่ ง
สะดวกมากยง่ิ ข้ึน และสมาชิก ในชุมชนมีความรู้สึกเป็ น
อนั หน่ึงอนั เดียวกนั

4

จุดประสงค์หลกั ของอำเซียน

ปฏญิ ญำกรุงเทพฯ

1. ส่งเสริมความร่วมมือและความช่วยเหลือซ่ึงกนั และกนั
ในทางเศรษฐกิจ สงั คม วฒั นธรรม เทคโนโลยี วทิ ยาศาสตร์
และการบริหาร
2. ส่งเสริมสนั ติภาพและความมน่ั คงส่วนภมู ิภาค
3. เสริมสร้างความเจริญรุ่งเรืองทางเศรษฐกิจพฒั นาการทาง
วฒั นธรรมในภมู ิภาค
4. ส่งเสริมใหป้ ระชาชนในอาเซียนมีความเป็ นอยแู่ ละคุณภาพ
ชีวติ ที่ดี
5. ใหค้ วามช่วยเหลือซ่ึงกนั และกนั ในรูปของการฝึ กอบรมและ
การวจิ ยั และส่งเสริมการศึกษาดา้ นเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้
6. เพ่ิมประสิทธิภาพของการเกษตรและอตุ สาหกรรม การขยาย
การคา้ ตลอดจนการปรับปรุงการขนส่งและการคมนาคม
7. เสริมสร้างความร่วมมืออาเซียนกบั ประเทศภายนอก
องคก์ าร ความร่วมมือแห่งภมู ิภาคอ่ืนๆ และองคก์ ารระหวา่ ง
ประเทศ

5

ควำมรู้ทวั่ ไปเกยี่ วกบั อำเซียน

ภาษาอาเซียน
ภาษาทางการท่ีใชใ้ นการติดต่อประสานงานระหวา่ ง

ประเทศสมาชิก คือ ภาษาองั กฤษ
คาขวญั ของอาเซียน

"หน่ึงวสิ ยั ทศั น์ หน่ึงเอกลกั ษณ์ หน่ึงประชาคม”
(One Vision, One Identity,OneCommunity)

อตั ลกั ษณ์อาเซียน
อาเซียนจะตอ้ งส่งเสริมอตั ลกั ษณ์ร่วมกนั ของตนและ

ความรู้สึกเป็ นเจา้ ของในหมู่ประชาชนของตนเพือ่ ใหบ้ รรลุ
ชะตา เป้าหมายและคุณค่าร่วมกนั ของอาเซียน

6

สญั ลกั ษณ์อาเซียน
คือ ดวงตราอาเซียนเป็ น
รูปมดั รวงขา้ ว สีเหลืองบนพ้นื วงกลม
สีแดงลอ้ มรอบดว้ ยวงกลมสีขาว และสีน้าเงิน
รวงขา้ วสีเหลือง 10 ตน้ หมายถึง ความใฝ่ ฝันของบรรดา

สมาชิกในเอเซียตะวนั ออกเฉียงใตท้ ้งั 10 ประเทศ ใหม้ ีอาเซียนท่ี
ผกู พนั กนั อยา่ งมีมิตรภาพและเป็ นหน่ึงเดียว

วงกลม เป็ นสญั ลกั ษณ์แสดงถึงเอกภาพของอาเซียน
ตวั อกั ษรคาวา่ asean สีน้าเงิน อยใู่ ตภ้ าพรวงขา้ ว
แสดงถึงความม่งุ มน่ั ที่จะทางานร่วมกนั เพ่อื ความมน่ั คง สนั ติภพ
เอกภาพ และความกา้ วหนา้ ของประเทศสมาชิกอาเซียน
สีเหลือง : หมายถึง ความเจริญรุ่งเรือง
สีแดง : หมายถึง ความกลา้ หาญและการมีพลวตั ิ
สีขาว : หมายถึง ความบริสุทธ์ิ
สีน้าเงิน : หมายถึง สนั ติภาพและความมนั่ คง

7

ธงอาเซียน
ธงอาเซียนเป็ นธงพ้ืนสีน้าเงิน มีดวงตราอาเซียนอยตู่ รง
กลาง แสดงถึงเสถียรภาพ สนั ติภาพ ความสามคั คี และ
พลวตั ของอาเซียน
สีของธงประกอบดว้ ย สีน้าเงิน สีแดง สีขาว และสีเหลือง
ซ่ึงเป็ นสีหลกั ในธงชาติของบรรดาประเทศสมาชิกของ
อาเซียนท้งั หมด
วนั อาเซียน

ใหว้ นั ที่ 8 สิงหาคม ของทุกปี เป็ นวนั อาเซียน

8

เพลงประจาอาเซียน (ASEAN Anthem)
คือ เพลง ASEAN WAY

9

กฎบตั รอำเซียน

1. เคารพเอกราช อธิปไตย ความเสมอภาค บูรณภาพแห่ง
ดินแดน และอตั ลกั ษณ์แห่งชาติของรัฐสมาชิกอาเซียนท้งั ปวง
2. ผกู พนั และรับผดิ ชอบร่วมกนั ในการเพ่มิ พนู สนั ติภาพ
ความมนั่ คง และความมง่ั คง่ั ของภมู ิภาค
3. ไม่รุกรานหรือข่มข่วู า่ จะใชก้ าลงั หรือการกระทาอื่นใดใน
ลกั ษณะที่ขดั ตอ่ กฎหมายระหวา่ งประเทศ
4. ระงบั ขอ้ พพิ าทโดยสนั ติ
5. ไมแ่ ทรกแซงกิจการภายในของรัฐสมาชิกอาเซียน
6. เคารพสิทธิของรัฐสมาชิกทุกรัฐในการธารงประชาชาติ
ของตนโดยปราศจากการแทรกแซง การบ่อนทาลาย และการ
บงั คบั จากภายนอก
7. ปรึกษาหารือท่ีเพมิ่ พนู ข้ึนในเร่ืองท่ีมีผลกระทบอยา่ ง
ร้ายแรงต่อผลประโยชน์ร่วมกนั ของอาเซียน

10

8. ยดึ มน่ั ต่อหลกั นิติธรรม ธรรมาภิบาล หลกั การ
ประชาธิปไตยและรัฐบาลตามรัฐธรรมนูญ
9. เคารพเสรีภาพพ้นื ฐาน การส่งเสริมและคุม้ ครองสิทธิ
มนุษยชน และการส่งเสริมความยตุ ิธรรมทางสงั คม
10. ยดึ ถือกฎบตั รสหประชาชาติและกฎหมายระหวา่ ง
ประเทศ รวมถึงกฎหมายมนุษยธรรมระหวา่ งประเทศ
ที่ รัฐสมาชิกอาเซียนยอมรับ
11. ละเวน้ จากการมีส่วนร่วมในการคุกคามอธิปไตย
บูรณภาพแห่งดินแดนหรือเสถียรภาพทางการเมืองและ
เศรษฐกิจของรัฐสมาชิกอาเซียน
12. เคารพในวฒั นธรรม ภาษา และศาสนาท่ีแตกตา่ ง
ของประชาชนอาเซียน
13. มีส่วนร่วมกบั อาเซียนในการสร้างความสมั พนั ธก์ บั
ภายนอกท้งั ในดา้ นการเมือง เศรษฐกิจ และสงั คม โดย
ไม่ปิ ดก้นั และไมเ่ ลือกปฏิบตั ิ
14. ยดึ มนั่ ในกฎการคา้ พหุภาคีและระบอบของอาเซียน

11

10ประเทศในอำเซียน

บรูไน ดำรุสซำลำม (Brunei Darussalam)

บรูไน เป็ นประเทศที่ตลาดเปิ ดแบบเสรี ภายใตก้ ารดูแลของ
รัฐ รายไดห้ ลกั ของประเทศ จะมาจากน้ามนั และกา๊ ซธรรมชาติ
และนบั เป็ นผผู้ ลิตน้ามนั รายใหญ่ อนั ดบั ท่ี 4 ในเอเชียตะวนั ออก
เฉียงใต้ และมีสินคา้ นาเขา้ ส่วนใหญ่จากสิงคโปร์ องั กฤษ
สหรัฐอเมริกา โดยเป็ นสินคา้ ประเภท เครื่องจกั รอุตสาหกรรม
รถยนต์ เครื่องมือเครื่องใชไ้ ฟฟ้าตา่ งๆ และสินคา้ เกษตร
เมืองหลวง : บนั ดาร์เสรีเบกาวนั
ภาษา : ภาษามาเลย์ เป็ นภาษาราชการ รองลงมาเป็ นองั กฤษและ
จีน
ประชากร : ประกอบดว้ ย มาเลย์ 66%, จีน11%,อื่นๆ 23%
นบั ถือศาสนา : อิสลาม 67%, พธุ 13%, คริสต์ 10%
ระบบการปกครอง : ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์

12

กมั พูชำ (Cambodia)

กมั พชู า เป็ นประเทศท่ีเกิดสงครามภายในมา
ยาวนาน และมีการยตุ ิลงในปี 2534 จึงคอ่ ยๆ มีการ
พฒั นาประเทศ โดยกมั พชู ากาหนดนโยบายมุ่งการ
พฒั นาทางการเกษตร การท่องเท่ียว และมีการ
ส่งเสริมการลงทุนจากตา่ งชาติ
เมืองหลวง : กรุงพนมเปญ
ภาษา : ภาษาเขมร เป็ นภาษาราชการ รองลงมาเป็ น
องั กฤษ, ฝรั่งเศส, เวยี ดนามและจีน
ประชากร : ประกอบดว้ ย ชาวเขมร 94%, จีน 4%,
อ่ืนๆ 2%
นบั ถือศาสนา : พทุ ธ(เถรวาท) เป็ นหลกั
ระบบการปกครอง : ประชาธิปไตยแบบรัฐสภา โดย
มีพระมหากษตั ริยเ์ ป็ นประมุขภายใตร้ ัฐธรรมนูญ

13

อนิ โดนีเซีย (Indonesia)

ประเทศอินโดนีเซีย เป็ นประเทศท่ีประกอบไปดว้ ยภาค
การผลิต ที่สาคญั 4 ส่วน ไดแ้ ก่ ภาคบริการ ภาคหตั ถ
อตุ สาหกรรม ภาคเกษตรกรรม และเหมืองแร่ นอกจากน้ียงั
เป็ นประเทศท่ีมีแหล่งทรัพยากรรธรรมชาติท่ีมีคา่ ทาง
เศรษฐกิจสมบูรณ์ เช่น น้ามนั ก๊าซธรรมชาติ ถ่านหิน ดีบุก
ทองแดง แร่เหลก็ เป็ นตน้
เมืองหลวง : จาการ์ตา
ภาษา : ภาษาอินโดนีเซีย เป็ นภาษาราชการ
ประชากร : ประกอบดว้ ย ชนพ้นื เมืองหลายกลุ่ม มีภาษา
มากกวา่ 583 ภาษา ร้อยละ 61 อาศยั อยบู่ นเกาะชวา
นบั ถือศาสนา : อิสลาม 87%, คริสต์ 10%
ระบบการปกครอง : ประชาธิปไตยท่ีมีประธานาธิปดีเป็ น
ประมขุ และหวั หนา้ ฝ่ ายบริหาร

14

ลำว (Laos)

ประเทศลาว มีแนวโนม้ การเติบโตทางเศรษฐกิจอยา่ ง
ตอ่ เน่ือง โดยมีการเติบโตจากประเทศคูค่ า้ สาคญั อยา่ ง ลาว
จีน ไทย เวยี ดนาม ดว้ ยภาคผลิตการเกษตร ป่ าไม้
เมืองหลวง : นครหลวงเวยี งจนั ทร์
ภาษา : ภาษาลาว เป็ นภาษาราชการ
ประชากร : ประกอบดว้ ย ชาวลาวลมุ่ 68%, ลาวเทิง 22%,
ลาวสูง 9% รวมประมาณ 68 ชนเผา่
นบั ถือศาสนา : 75% นบั ถือพทุ ธ, นบั ถือผี 16%
ระบบการปกครอง : สงั คมนิยมคอมมิวนิสต์ (ทางการลาวใช้
คาวา่ ระบบประชาธิปไตยประชาชน)

15

มำเลเซีย (Malaysia)

มาเลเซีย เป็ นอีกประเทศท่ีพ่งึ พาเหมืองแร่ และการ
ส่งออกสินคา้ เกษตร เช่น ปาลม์ น้ามนั ยางพารา ไมซ้ ุง และ
ดีบุก และมีรายไดห้ ลกั มาจากการผลิตสินคา้ และบริการ
โดยเฉพาะยางพารา และปาลม์ น้ามนั มีการพฒั นามากข้ึน
ทาใหภ้ ายในประเทศมีการจา้ งงานเพิม่ ข้ึน
เมืองหลวง : กรุงกวั ลาลมั เปอร์
ภาษา : ภาษามาเลย์ เป็ นภาษาราชการ รองลงมาเป็ นองั กฤษ
และจีน
ประชากร : ประกอบดว้ ย มาเลย์ 40%, จีน33%, อินเดีย
10%, ชนพ้นื เมืองเกาะบอร์เนียว 10%
นบั ถือศาสนา : อิสลาม 60%, พธุ 19%, คริสต์ 11%
ระบบการปกครอง : ประชาธิปไตยในระบบรัฐสภา

16

พม่ำ (Myanmar)

อาชีพหลกั ของ ประชาชนในประเทศ จะเป็ นการเกษตรกร
เช่น การปลูกขา้ วเจา้ ออ้ ย และพืชเมืองร้อน การทาเหมืองแร่
การทาป่ าไม้ อตุ สาหกรรม พมา่ เป็ นประเทศกาลงั พฒั นา และ
มีรายไดเ้ ฉลี่ยต่อบุคคลในเกณฑต์ ่า
เมืองหลวง : เนปี ดอ (Naypyidaw)
ภาษา : ภาษาพม่า เป็ นภาษาราชการ
ประชากร : ประกอบดว้ ยเผา่ พนั ธุ์ 135 มี 8 เช้ือชาติหลกั ๆ 8
กลุ่ม คือ พม่า 68%, ไทยใหญ่ 8%, กระเหร่ียง 7%, ยะไข่ 4%
จีน 3% มอญ 2% อินเดีย 2%
นบั ถือศาสนา : นบั ถือพทุ ธ 90%, คริสต์ 5% อิสลาม 3.8%
ระบบการปกครอง : เผดจ็ การทางทหาร ปกครองโดยรัฐบาล
ทหารภายใตส้ ภาสนั ติภาพและการพฒั นาแห่งรัฐ

17

ฟิ ลปิ ปิ นส์ (Philippines)

ปัญหาความยากจน เป็ นปัญหาที่มีมายาวนาน และมีการ
กระจายรายไดโ้ ดยไมเ่ ท่าเทียมกนั และยงั ประสบปัญหาราคา
น้ามนั แพง ฟิ ลิปิ นส์ มีสินคา้ นาเขา้ ไดแ้ ก่ ก๊าซธรรมชาติ
น้ามนั เหลก็ ชิ้นส่วนประกอบรถยนต์
เมืองหลวง : กรุงมะนิลา
ภาษา : ภาษาฟิ ลิปิ โน และภาษาองั กฤษ เป็ นภาษาราชการ
รองลงมาเป็ น สเปน, จีนฮกเก้ียน, จีนแตจ้ ๋ิว ฟิ ลิปปิ นส์ มีภาษา
ประจาชาติคือ ภาษาตากาลอ็ ก
ประชากร : ประกอบดว้ ย มาเลย์ 40%, จีน33%, อินเดีย 10%,
ชนพ้ืนเมืองเกาะบอร์เนียว 10%
นบั ถือศาสนา : คริสตโ์ รมนั คาทอลิก 83% คริสตน์ ิกาย
โปรเตสแตนต,์ อิสลาม 5%
ระบบการปกครอง : ประชาธิปไตยแบบประธานาธิบดีเป็ น
ประมขุ และหวั หนา้ ฝ่ ายบริหาร

18

สิงคโปร์ (Singapore)

สิงคโปร์เป็ นประเทศที่ประสบความสาเร็จจากการ
เปิ ดเสรีทางการคา้ และมีรายไดป้ ระชาชาติตอ่ หวั สูง
เท่ากบั กล่มุ ประเทศในยโุ รป
เมืองหลวง : สิงคโปร์
ภาษา : ภาษามาเลย์ เป็ นภาษาราชการ รองลงมาคือจีน
กลาง ส่งเสริมใหพ้ ดู ได้ 2 ภาษาคือ จีนกลาง และใหใ้ ช้
องั กฤษ เพือ่ ติดตอ่ งานและชีวติ ประจาวนั
ประชากร : ประกอบดว้ ยชาวจีน 76.5%, มาเลย์ 13.8%,
อินเดีย 8.1%
นบั ถือศาสนา : พทุ ธ 42.5%, อิสลาม 14.9%, คริสต์
14.5%, ฮินดู 4%, ไมน่ บั ถือศาสนา 25%
ระบบการปกครอง : สาธารณรัฐ (ประชาธิปไตยแบบ
รัฐสภา มีสภาเดียว) โดยมีประธานาธิบดีเป็ นประมขุ
และนายกรัฐมนตรีเป็ นหวั หนา้ ฝ่ ายบริหาร

19

เวยี ดนำม (Vietnam)

สินคา้ ส่งออกที่สาคญั ของเวยี ดนาม จะเป็ นประเภทสิ่งทอ
เส้ือผา้ สาเร็จรูป และยงั เป็ นประเทศท่ีดึงดูดนกั ลงทุนเป็ น
อยา่ งมาก เพราะวา่ มีประชากรจานวนมาก และคา่ จา้ ง
แรงงานต่า อีกท้งั ชาวเวยี ดนาม ยงั มีอปุ นิสยั ขยนั อีกดว้ ย
เมืองหลวง : กรุงฮานอย
ภาษา : ภาษาเวยี ดนาม เป็ นภาษาราชการ
ประชากร : ประกอบดว้ ยชาวเวยี ด 80%, เขมร 10%
นบั ถือศาสนา : พทุ ธนิกายมหายาน 70%, คริสต์ 15%
ระบบการปกครอง : ระบบสงั คมนิยม โดยพรรค
คอมมิวนิสตเ์ ป็ นพรรคการเมืองเดียว

20

ประเทศไทย (Thailand)

ประเทศไทย มีสินคา้ ส่งออกไดแ้ ก่ คอมพวิ เตอร์
อุปกรณ์และส่วนประกอบ ส่วนประกอบรถยนต์
แผงวรจรไฟฟ้า ยางพารา เมด็ พลาสติก อญั มณีและ
เคร่ืองประดบั และผลิตภณั ฑเ์ คร่ืองรับวทิ ยโุ ทรทศั น์ รวม
ไปถึงส่วนประกอบ นอกจากน้ียงั นาเขา้ น้ามนั ดิบ
รถยนต์ เงินแท่งและทองคา
เมืองหลวง : กรุงเทพมหานคร
ภาษา : ภาษาไทย เป็ นภาษาราชการ
ประชากร : ประกอบดว้ ยชาวไทยเป็ นส่วนใหญ่
นบั ถือศาสนา : พทุ ธนิกายเถรวาท 95%, อิสลาม 4%
ระบบการปกครอง : ระบบประชาธิปไตยแบบรัฐสภา
อนั มีพระมหากษตั ริยท์ รงเป็ นประมขุ

21

บรรณำนุกรม

https://www.google.com/search?biw=1280&bih=561&tb
m=isch&sxsrf=ACYBGNSDwEYjZ-
b4SiPIEDTAiEYf9OkcgQ%3A1569752175367&sa=1&
ei=b4SQXeyFFtusrQHY0JGQA

22


Click to View FlipBook Version