The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by penwisoc, 2022-06-22 11:39:21

ชุดที่ 3 EBOOK

ชุดที่ 3 EBOOK

ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้ เศรษฐกิจพอเพียงโดยเน้นแบบ Active Learning ชนั้ มธั ยมศึกษาปี ที่ 5 1

คำนำ

ชุดกจิ กรรมเรยี นรเู้ ศรษฐกจิ พอเพยี งโดยเน้นแบบ Active Learning ชัน้ มัธยมศึกษาปที ี่ 5
ไดพ้ ฒั นาขน้ึ ตามขน้ั ตอนการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning ซ่ึงประกอบด้วยข้ันตอน
5 ขั้น ไดแ้ ก่ 1) ขน้ั การนำเข้าสบู่ ทเรียน 2) ขั้นการสร้างประสบการณ์ 3) ขน้ั การแบ่งปนั ความรู้
4) ขน้ั การทบทวนความรู้ และ 5) ข้นั การนำไปใช้ ชุดกจิ กรรมเรียนรเู้ ศรษฐกจิ พอเพยี ง
โดยเน้นแบบ Active Learning ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 5 ประกอบดว้ ยจำนวน 12 ชุด ดงั นี้

ชุดท่ี 1 เรื่อง ความเปน็ มาและความหมายของเศรษฐกิจพอเพยี ง
ชุดท่ี 2 เรอ่ื ง หลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง
ชดุ ท่ี 3 เรอ่ื ง หลกั ธรรมนำเศรษฐกจิ พอเพียง
ชดุ ที่ 4 เรื่อง ขน้ั ตอนของการปฏบิ ัตสิ วู่ ิถชี วี ติ เศรษฐกิจพอเพยี ง
ชุดท่ี 5 เรือ่ ง เศรษฐกจิ พอเพยี งกับเกษตรทฤษฎใี หม่ตามแนวทางพระราชดำริ
ชุดท่ี 6 เรื่อง การผลิตตามหลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง
ชุดท่ี 7 เร่ือง การบริโภคตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง
ชดุ ที่ 8 เร่อื ง การวางแผนการใช้จ่ายของครอบครวั ตามแนวทางเศรษฐกจิ พอเพยี ง
ชุดที่ 9 เรือ่ ง การประหยัดเพอื่ การเกบ็ ออมของครอบครัว
ชุดท่ี 10 เร่อื ง การประยกุ ต์ใชเ้ ศรษฐกิจพอเพียงในชวี ิตประจำวนั
ชดุ ท่ี 11 เรื่อง เศรษฐกิจพอเพยี งกับการพัฒนาชุมชน
ชุดที่ 12 เร่อื ง วิสาหกจิ ชุมชนบนพนื้ ฐานเศรษฐกจิ พอเพียง
ผจู้ ดั ทำหวงั เปน็ อยา่ งย่งิ วา่ ชดุ กิจกรรมการเรยี นร้นู จี้ ะเป็นสือ่ นวัตกรรมการเรียนการสอน
ทีจ่ ะชว่ ยส่งเสรมิ และพฒั นาผู้เรยี นทั้งด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น ด้านทักษะความสามารถ
ในการทำงานรว่ มกนั ตลอดจนดา้ นคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ และสามารถอำนวยประโยชน์
ต่อการเรยี นการสอน ใหบ้ รรลตุ ามวัตถปุ ระสงค์ได้เปน็ อย่างดี

เพญ็ วิภา สรรคชา

ชดุ ที่ 3 หลกั ธรรมนาเศรษฐกิจพอเพียง เพญ็ วิภา สรรคชา

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เศรษฐกิจพอเพียงโดยเน้นแบบ Active Learning ชนั้ มธั ยมศึกษาปี ที่ 5 2

สารบญั หน้า

เรือ่ ง 1
2
คำนำ 4
สารบญั 5
คำชแี้ จง 6
คำแนะนำการใช้ / วตั ถปุ ระสงคข์ องชดุ กจิ กรรม 7
ขั้นตอนการศึกษาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ 9
คำชีแ้ จงสำหรบั ครู 10
ส่งิ ทีค่ รตู ้องเตรยี ม 11
การประเมนิ ผล / การเรียนซ่อมเสรมิ 12
คำชแ้ี จงสำหรบั นักเรยี น 13
มาตรฐานการเรยี นรู้ / สาระสำคัญ 14
ผลการเรียนรู้ / จุดประสงค์การเรียนรู้ / คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ 15
ขั้นท่ี 1 ขัน้ การนำเขา้ ส่บู ทเรยี น 17
18
แบบทดสอบก่อนเรียน 24
ขัน้ ที่ 2 ขัน้ การสรา้ งประสบการณ์ 25
26
บัตรเน้อื หาท่ี 3.1 หลกั ธรรมนำเศรษฐกจิ พอเพียง 27
บัตรเนื้อหาที่ 3.2 ความสอดคล้องเศรษฐกิจพอเพียงกับหลักธรรมในพุทธศาสนา 28
ขัน้ ท่ี 3 ข้ันการแบ่งปนั ความรู้ 29
บัตรกจิ กรรมท่ี 3.1 อริยมรรคมอี งค์ 8 30
เฉลยบตั รกจิ กรรมที่ 3.1 อรยิ มรรคมีองค์ 8 31
บัตรกิจกรรมที่ 3.2 หลักธรรมนำเศรษฐกิจพอเพียง 32
เฉลยบัตรกิจกรรมท่ี 3.2 หลกั ธรรมนำเศรษฐกิจพอเพียง
ขั้นที่ 4 ขน้ั การทบทวนความรู้
บัตรกิจกรรมที่ 3.3 เศรษฐกิจพอเพียงกบั หลกั ธรรมในพทุ ธศาสนา
เฉลยบตั รกิจกรรมที่ 3.3 เศรษฐกจิ พอเพยี งกับหลักธรรมในพุทธศาสนา

ชดุ ท่ี 3 หลกั ธรรมนาเศรษฐกิจพอเพียง เพญ็ วิภา สรรคชา

ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้ เศรษฐกิจพอเพียงโดยเน้นแบบ Active Learning ชนั้ มธั ยมศึกษาปี ที่ 5 3

สารบัญ (ตอ่ ) หนา้

เรอ่ื ง 33
34
ขนั้ ท่ี 5 ขัน้ การนำไปใช้ 35
บตั รกจิ กรรมท่ี 3.4 การนำหลักธรรมไปประยกุ ต์ใช้ในชีวติ ประจำวนั 36
เฉลยบัตรกจิ กรรมที่ 3.4 การนำหลักธรรมไปประยุกต์ใชใ้ นชีวิตประจำวนั 37
บัตรกิจกรรมท่ี 3.5 สรุปส่ิงทเี่ รยี นรู้ 38
40
แบบทดสอบหลังเรียน 41
กระดาษคำตอบ แบบทดสอบก่อนเรียน-หลังเรยี น 43
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน-หลงั เรียน
แบบบนั ทกึ คะแนนรายบคุ คล
บรรณานุกรม

ชุดที่ 3 หลกั ธรรมนาเศรษฐกิจพอเพยี ง เพญ็ วิภา สรรคชา

ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้ เศรษฐกิจพอเพยี งโดยเน้นแบบ Active Learning ชนั้ มธั ยมศึกษาปี ที่ 5 4

คำชีแ้ จง

1. ชดุ กจิ กรรมการเรียนร้นู ีเ้ ป็นชุดกจิ กรรมเรยี นรูเ้ ศรษฐกจิ พอเพียงโดยเนน้ แบบ Active
Learning ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 5

2. ชดุ กจิ กรรมการเรียนรนู้ ี้ ประกอบดว้ ย
2.1 คำนำ
2.2 สารบัญ
2.3 คำช้ีแจง
2.4 คำแนะนำการใช้ / วตั ถุประสงคข์ องชุดกิจกรรม
2.5 ขน้ั ตอนการศึกษาชดุ กจิ กรรมการเรียนรู้
2.6 คำชแ้ี จงสำหรับครู
2.7 สงิ่ ทค่ี รูตอ้ งเตรียม
2.8 การประเมินผล / การเรยี นซอ่ มเสริม
2.9 คำช้แี จงสำหรับนักเรยี น
2.10 มาตรฐานการเรยี นรู้ / สาระสำคญั
2.11 ผลการเรยี นรู้ / จดุ ประสงค์การเรียนรู้
2.12 แบบทดสอบก่อนเรยี น - หลังเรยี น
2.13 บัตรเนื้อหา / บตั รกิจกรรม
2.14 บัตรเฉลยกิจกรรม
2.15 เฉลยทดสอบก่อนเรียน - หลังเรียน
2.16 บรรณานกุ รม

3. ชุดกิจกรรมการเรียนร้นู ี้ ใช้เวลาในการเรยี นรู้ 2 ชว่ั โมง

ชดุ ท่ี 3 หลกั ธรรมนาเศรษฐกิจพอเพียง เพญ็ วิภา สรรคชา

ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้ เศรษฐกิจพอเพียงโดยเน้นแบบ Active Learning ชนั้ มธั ยมศึกษาปี ท่ี 5 5

คำแนะนำการใช้

1. อ่านคำช้ีแจงและคำแนะนำให้เข้าใจก่อนลงมอื ปฏิบัติกจิ กรรมการเรียนรู้
เรอื่ ง หลักธรรมนำเศรษฐกจิ พอเพยี ง

2. ศึกษาชุดกจิ กรรมการเรยี นรู้ โดยการปฏิบตั ิตามคำชี้แจงท่ีได้ระบุไวใ้ น
บตั รเนอ้ื หา บตั รกจิ กรรม ตามขั้นตอนใหค้ รบถว้ นทุกเร่ือง

3. หากนกั เรยี นยงั ไม่เข้าใจในสาระการเรยี นรู้ ใหก้ ลบั ไปศึกษาอีกคร้งั หรือ
ขอคำแนะนำจากครู เพ่ือให้เกิดความเข้าใจมากย่ิงขึน้

4. ในการทำกิจกรรมใหน้ ักเรียนทำด้วยความต้งั ใจและมีความซื่อสตั ยต์ ่อตนเอง
โดยการทำเปน็ ลำดับขั้นตอน

วตั ถุประสงคข์ องชุดกจิ กรรม

1. เพื่อใชเ้ ป็นสอื่ การเรียนการสอน กล่มุ สาระการเรยี นรสู้ ังคมศึกษา ศาสนา และ
วฒั นธรรม รายวิชาสังคมศึกษา รหสั วชิ า ส32101 ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 5

2. เพอ่ื พัฒนาผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี น และส่งเสรมิ ความสามารถในการทำงานร่วมกนั
ของนักเรยี นโดยเน้นแบบ Active Learning

3. เพ่ือสง่ เสรมิ ให้นักเรียนได้ศึกษา ค้นควา้ แสวงหาความรู้ดว้ ยตนเอง
4. เพือ่ แก้ปัญหาการไม่มีสอื่ ประกอบการเรยี นการสอน รายวิชาสังคมศึกษา รหสั วิชา

ส32101 ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 5

ชดุ ท่ี 3 หลกั ธรรมนาเศรษฐกิจพอเพียง เพญ็ วิภา สรรคชา

ชดุ กิจกรรมการเรียนรู้ เศรษฐกิจพอเพียงโดยเน้นแบบ Active Learning ชนั้ มธั ยมศึกษาปี ท่ี 5 6

ขั้นตอนการศกึ ษาชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้

ศึกษาคู่มอื ในการใช้ชดุ กิจกรรมการเรียนรู้

ดำเนินการใช้ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้
โดยใช้การเรยี นรู้แบบ Active Learning 5 ขั้น

1. ขั้นการนำเข้าส่บู ทเรียน
2. ขนั้ การสร้างประสบการณ์
3. ขั้นการแบง่ ปนั ความรู้
4. ขั้นการทบทวนความรู้
5. ข้ันการนำไปใช้

ผ่านเกณฑ์ ไมผ่ ่านเกณฑ์

ศึกษาชุดกิจกรรมการเรยี นรูอ้ ืน่ ต่อไป

ชุดท่ี 3 หลกั ธรรมนาเศรษฐกิจพอเพียง เพญ็ วิภา สรรคชา

ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้ เศรษฐกิจพอเพียงโดยเน้นแบบ Active Learning ชนั้ มธั ยมศึกษาปี ที่ 5 7

คำชี้แจงสำหรบั ครู

1. ข้อปฏิบตั กิ ่อนดำเนนิ การจัดการเรียนรู้

1.1 ศึกษาส่วนประกอบของชดุ กิจกรรมเรยี นรู้เศรษฐกิจพอเพียงโดยเน้นแบบ Active Learning
ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 5 อยา่ งละเอียดทง้ั 12 ชุด

1.2 ศกึ ษาเนื้อหาชดุ กจิ กรรมเรยี นรเู้ ศรษฐกจิ พอเพียงโดยเนน้ แบบ Active Learning
ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 5 ชดุ ท่ี 3 เรือ่ ง หลกั ธรรมนำเศรษฐกิจพอเพียง และแผนการจัดการเรียนรู้ให้เขา้ ใจเปน็ อยา่ งดี

1.3 แบ่งกลมุ่ นักเรียนโดยคละความสามารถเก่ง ปานกลาง ออ่ น โดยครูกำหนด กลุ่มละ 6 คน
จำนวน 5 กลุม่

1.4 วสั ดทุ คี่ รูตอ้ งเตรียม คอื ชดุ กิจกรรมเรยี นรูเ้ ศรษฐกิจพอเพยี งโดยเน้นแบบ Active Learning
ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 5 ชุดที่ 3 เรื่อง หลกั ธรรมนำเศรษฐกจิ พอเพยี ง ประกอบดว้ ย

1.4.1 คำชแี้ จงสำหรบั ครู
1.4.2 คำชีแ้ จงสำหรับนกั เรียน
1.4.3 จุดประสงค์การเรียนรู้
1.4.4 แผนการจัดการเรียนรู้
1.4.5 บตั รเน้ือหาและบตั รกจิ กรรม
1.4.6 เฉลยบตั รกิจกรรม
1.4.7 เฉลยแบบทดสอบกอ่ นเรยี น
1.4.8 เฉลยแบบทดสอบหลงั เรยี น
1.5 ชแ้ี จงวิธกี ารเรียนและใหร้ ายละเอยี ดของกิจกรรมตา่ ง ๆ ท่นี ักเรยี นต้องปฏบิ ัตติ ามชุดกจิ กรรมเรียนรู้
เศรษฐกิจพอเพียงโดยเน้นแบบ Active Learning ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดที่ 3 เรื่อง หลักธรรมนำเศรษฐกิจ
พอเพียง

ชดุ ท่ี 3 หลกั ธรรมนาเศรษฐกิจพอเพียง เพญ็ วิภา สรรคชา

ชดุ กิจกรรมการเรียนรู้ เศรษฐกิจพอเพียงโดยเน้นแบบ Active Learning ชนั้ มธั ยมศึกษาปี ที่ 5 8

2. ข้อปฏบิ ตั ิขณะดำเนินการจัดการเรยี นรู้

2.1 ชีแ้ จงการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้นกั เรยี นทุกคนทราบ
2.2 จัดกลุ่มนักเรยี นตามทไ่ี ด้เตรียมไว้ตามข้อที่ 1.3
2.3 ชแี้ จงบทบาทหนา้ ทแี่ ละอธบิ ายให้นักเรียนแตล่ ะกลุ่มทราบถึงการปฏบิ ตั ติ นในขณะทไี่ ด้รบั
บทบาทตา่ ง ๆ ดังน้ี

2.3.1 ประธาน ทำหน้าท่คี วบคุมการทำงานของกลุ่ม
2.3.2 รองประธาน ทำหน้าที่อ่านข้อมลู หรืออธบิ ายปญั หาใหส้ มาชกิ ภายในกล่มุ
2.3.3 เลขานุการ ทำหนา้ ที่บันทกึ ข้อมลู ความคิดเหน็ อย่างหลากหลายจากข้อมลู ที่ได้รับ
2.4 ดำเนนิ การจดั กิจกรรมการเรยี นรูต้ ามแผนการจัดการเรียนรู้
2.5 ใหค้ ำแนะนำและเปน็ ท่ปี รกึ ษาแก่นกั เรียนในขณะท่นี ักเรยี นปฏบิ ตั กิ จิ กรรม
2.6 ตรวจสอบการทำงานของนกั เรยี นและสรปุ บทเรยี นรว่ มกบั นักเรียน

3. ขอ้ ปฏบิ ตั เิ มือ่ การดำเนินการจัดการเรยี นรูส้ ้นิ สุดลง

3.1 ตรวจคำตอบจากชุดกิจกรรมในแตล่ ะชดุ กจิ กรรม
3.2 ตรวจแบบทดสอบก่อนเรยี นและหลังเรยี น
3.3 บันทึกผลคะแนน
3.4 บนั ทึกข้อสังเกตท้งั ท่ีเปน็ ขอ้ ดแี ละข้อท่ีควรพัฒนาที่พบจากการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้

ชดุ ที่ 3 หลกั ธรรมนาเศรษฐกิจพอเพียง เพญ็ วิภา สรรคชา

ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้ เศรษฐกิจพอเพยี งโดยเน้นแบบ Active Learning ชนั้ มธั ยมศึกษาปี ท่ี 5 9

สง่ิ ทีค่ รตู ้องเตรยี ม

1. แบบทดสอบก่อนเรียน จำนวน 29 ชุด

2. บตั รคำช้ีแจง จำนวน 5 ชุด

3. บัตรเน้ือหา จำนวน 29 ชุด

4. บตั รกิจกรรม จำนวน 29 ชุด

5. แบบทดสอบหลังเรียน จำนวน 29 ชุด

6. เฉลยแบบทดสอบก่อนเรยี น จำนวน 5 ชดุ

7. บตั รเฉลยกจิ กรรม จำนวน 5 ชุด

8. เฉลยแบบทดสอบหลังเรยี น จำนวน 5 ชดุ

9. กระดาษคำตอบ จำนวน 29 ชุด

ชดุ ท่ี 3 หลกั ธรรมนาเศรษฐกิจพอเพียง เพญ็ วิภา สรรคชา

ชดุ กิจกรรมการเรียนรู้ เศรษฐกิจพอเพียงโดยเน้นแบบ Active Learning ชนั้ มธั ยมศึกษาปี ที่ 5 10

การประเมินผล

1. ผลการเรยี นประเมนิ จาก
1.1 ประเมนิ ผลจากการทำแบบทดสอบกอ่ นเรียน – แบบทดสอบหลงั เรียน
1.2 ประเมนิ ผลจากผลงานของนกั เรยี นในการปฏบิ ัติกจิ กรรมจากบัตรกจิ กรรม
1.3 สงั เกตพฤตกิ รรมการเรยี นรู้ของนักเรียน
1.4 ประเมนิ ผลจากการเรียนทำแบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น

2. นกั เรยี นผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ ผล ร้อยละ 80 ขึ้นไป จงึ จะสามารถศึกษาชุดกิจกรรมเรียนรู้เศรษฐกิจ
พอเพยี งโดยเน้นแบบ Active Learning ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 5 ชดุ ตอ่ ไปได้ แตถ่ ้าไมผ่ ่านเกณฑ์การประเมิน
นักเรยี นต้องเรยี นซอ่ มเสรมิ

การเรยี นซอ่ มเสรมิ

ถ้านกั เรียนไมผ่ ่านเกณฑ์การประเมินตามระบุไว้ ให้นกั เรยี นไดศ้ ึกษาตามจดุ ประสงคท์ ี่ไม่ผ่าน แล้วทำ
แบบทดสอบหลงั เรยี นใหผ้ า่ นเกณฑ์ท่ีกำหนดไว้ โดยในการเรยี นซ่อมเสริมให้นักเรยี นปฏิบัติ ดังนี้

1. ใชเ้ วลามากกวา่ เดิม
2. ให้เพื่อนช่วยเหลอื
3. ครอู ธบิ ายเพ่มิ เตมิ

ชดุ ที่ 3 หลกั ธรรมนาเศรษฐกิจพอเพยี ง เพญ็ วิภา สรรคชา

ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้ เศรษฐกิจพอเพยี งโดยเน้นแบบ Active Learning ชนั้ มธั ยมศึกษาปี ที่ 5 11

คำชี้แจงสำหรับนกั เรยี น

นักเรยี นศึกษาและปฏิบัตติ ามขั้นตอนการใช้ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้ ดังนี้
1. เลอื กประธานกล่มุ เพ่ือเปน็ ผ้นู ำในการดำเนนิ กิจกรรมการเรียนรู้และเลขานกุ ารกลมุ่ เพ่ือบันทกึ

ขอ้ มลู ในแบบบันทึกการปฏบิ ัตกิ ิจกรรมต่าง ๆ
2. สมาชิกทุกคนต้องมสี ่วนร่วม ชว่ ยเหลือซึ่งกนั และกัน มีบทบาทหนา้ ท่รี บั ผิดชอบ รว่ มกนั เพื่อให้

การทำงานของกล่มุ ประสบความสำเร็จ
3. ปฏบิ ัตกิ จิ กรรมตามขัน้ ตอนในชุดกจิ กรรมการเรียนรู้ ซง่ึ ประกอบด้วยกิจกรรมย่อย ดงั น้ี
3.1 ขนั้ การนำเข้าสบู่ ทเรยี น
3.2 ขั้นการสร้างประสบการณ์
3.3 ขน้ั การแบง่ ปันความรู้
3.4 ขน้ั การทบทวนความรู้
3.5 ขน้ั การนำไปใช้
4. ทุกกจิ กรรมการเรียนรมู้ เี วลาจำกดั ผู้เรยี นควรปฏบิ ัตงิ านให้ทันเวลา ไมค่ วรปล่อยทิ้งสะสมงาน

ค้างไว้ เน่ืองจากผลงานของแต่ละกจิ กรรมการเรยี นจะเปน็ องค์ความรู้สำหรับกิจกรรมการเรยี นในลำดบั ถัดไป
5. เมอ่ื เรียนจบแต่ละกิจกรรมการเรียน ควรทำความสะอาดโต๊ะทำงานและเก็บอปุ กรณก์ ารเรียน

เข้าที่เดิมใหเ้ รยี บร้อยทกุ คร้งั
6. หากนกั เรียนมขี ้อสงสัยหรือเกิดปัญหาภายในกล่มุ ใหน้ ักเรยี นปรึกษาครผู ู้สอนเพอ่ื ให้ความ

ช่วยเหลอื แก่นกั เรยี น

ชดุ ที่ 3 หลกั ธรรมนาเศรษฐกิจพอเพยี ง เพญ็ วิภา สรรคชา

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เศรษฐกิจพอเพียงโดยเน้นแบบ Active Learning ชนั้ มธั ยมศึกษาปี ท่ี 5 12

ชุดกจิ กรรมการเรยี นรู้กลมุ่ สาระการเรียนรูส้ งั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
เรื่อง เศรษฐกจิ พอเพยี ง โดยเน้นกระบวนการเรียนรูแ้ บบ Active Learning

ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 5
ชุดที่ 3 เรอ่ื ง หลกั ธรรมนำเศรษฐกจิ พอเพยี ง

มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ช้วี ดั

สาระที่ 3 เศรษฐศาสตร์

มาตรฐาน ส 3.1 เข้าใจและสามารถบรหิ ารจดั การทรัพยากรในการผลติ และการบริโภค
การใช้ทรัพยากรท่มี ีอยู่จำกดั ไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธภิ าพและคุ้มคา่ รวมทั้ง
เข้าใจหลักการของเศรษฐกจิ พอเพยี งเพอ่ื การดำรงชีวติ อยา่ งมีดลุ ยภาพ

ตวั ชี้วดั ม. 4-6/2 ตระหนักถงึ ความสำคัญของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงทมี่ ตี ่อเศรษฐกจิ
สงั คมของประเทศ

สาระสำคญั

หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ภูมพิ ลอดลุ ยเดช
รชั กาลที่ 9 ไดพ้ ระราชทานพระบรมราชานญุ าตให้นำไปเผยแพร่เพื่อเปน็ แนวทางในการพัฒนา
ประเทศไทยสูก่ ารเปน็ “สังคมฐานปัญญา” โดยอาศยั หลักธรรมทางพระพทุ ธศาสนาในการนำ
ไปสู่การพฒั นาที่ยั่งยนื มีความพอดี พอประมาณบนพื้นฐานของความเปน็ เหตุเปน็ ผลอนั จะก่อ
ให้เกดิ ระบบภูมคิ มุ้ กนั ต่อความเปล่ียนแปลงต่าง ๆ ที่มากระทบในการดำเนนิ ชวี ติ

ชดุ ที่ 3 หลกั ธรรมนาเศรษฐกิจพอเพยี ง เพญ็ วิภา สรรคชา

ชดุ กิจกรรมการเรียนรู้ เศรษฐกิจพอเพยี งโดยเน้นแบบ Active Learning ชนั้ มธั ยมศึกษาปี ท่ี 5 13

จุดประสงคก์ ารเรียนรู้

1. บอกหลกั คำสอนทางพระพุทธศาสนาที่เก่ียวเนื่องกับเศรษฐกจิ พอเพยี งได้
2. อธิบายถึงหลักธรรมทางพระพทุ ธศาสนาทีส่ ง่ เสริมแนวคดิ เศรษฐกจิ พอเพียงได้
3. เสนอแนะแนวทางในการปฏิบตั ิตนตามแนวคิดเศรษฐกิจพอเพยี งทสี่ อดคล้องกับ

หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาได้

สาระการเรียนรู้

1. หลกั คำสอนทางพระพุทธศาสนาทีเ่ กยี่ วเนื่องกับเศรษฐกจิ พอเพียง
2. หลกั ธรรมทางพระพุทธศาสนาที่เก่ียวเนอ่ื งกบั เศรษฐกิจพอเพยี ง
3. แนวทางในการปฏิบตั ิตนตามแนวคิดเศรษฐกจิ พอเพียงทสี่ อดคล้องกับหลกั ธรรม

ทางพระพุทธศาสนา

สมรรถนะสำคัญ

1. ความสามารถในการสอ่ื สาร
2. ความสามารถในการคดิ
3. ความสามารถในการแกป้ ญั หา

คุณลักษณะอันพึงประสงค์

1. ใฝ่เรยี นรู้
2. มงุ่ มัน่ ในการทำงาน

ชุดที่ 3 หลกั ธรรมนาเศรษฐกิจพอเพยี ง เพญ็ วิภา สรรคชา

ชดุ กิจกรรมการเรียนรู้ เศรษฐกิจพอเพยี งโดยเน้นแบบ Active Learning ชนั้ มธั ยมศึกษาปี ที่ 5 14

ขนั้ ที่ 1 ข้นั การนำเขา้ สู่บทเรียน

บัตรคำส่ังท่ี 1

ใหน้ กั เรยี นทำแบบทดสอบ
ก่อนเรียนตามแบบทดสอบ
ก่อนเรียน จำนวน 10 ข้อ

ใช้เวลา 10 นาที

ชดุ ท่ี 3 หลกั ธรรมนาเศรษฐกิจพอเพียง เพญ็ วิภา สรรคชา

ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้ เศรษฐกิจพอเพียงโดยเน้นแบบ Active Learning ชนั้ มธั ยมศึกษาปี ที่ 5 15

แบบทดสอบกอ่ นเรียน
ชดุ ที่ 3 เรือ่ ง หลกั ธรรมนำเศรษฐกจิ พอเพียง

คำชีแ้ จง 1. แบบทดสอบฉบับนม้ี ีทัง้ หมด 10 ข้อ ใช้เวลา 10 นาที
2. ให้ทำเคร่อื งหมาย (X) ทับตวั อักษร ก ข ค และ ง ทถ่ี ูกต้องท่ีสดุ เพยี ง

ข้อเดียว ลงในกระดาษคำตอบ

1. ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งตรงกับความหมายของการปฏบิ ตั ติ นตามหลกั ธรรมใดในทางพระพุทธศาสนา
ก. พทุ ธโอวาท 3
ข. มชั ฌมิ าปฏิปทา
ค. บุญกรยิ าวัตถุ 4
ง. อริยบคุ คล 4

2. คุณธรรมในข้อใดไมส่ มั พนั ธก์ ับเศรษฐกิจพอเพยี ง
ก. สติ : ระลึก ตระหนกั ในการกระทำของตนตามหลักเหตุและผล
ข. ปญั ญา : เพยี งพอบนความรอบรแู้ ละเหตผุ ล ฉลาดคดิ ใช้และทำ
ค. คุณธรรม : ไม่เบียนตนเอง ผอู้ ่นื และทรัพยากรธรรมชาติ
ง. วฒั นธรรม : ปรับวัฒนธรรมให้ทันสมยั กับการเปลีย่ นแปลงของสงั คมโลก

3. ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งทำให้คนไทยมีคุณธรรมหลายประการ ยกเว้น ข้อใด
ก. ขยนั และประหยัด
ข. มอี าชีพสุจรติ
ค. มีนำ้ ใจชว่ ยเหลือผอู้ น่ื
ง. สร้างฐานะให้ม่ังค่ังรำ่ รวย

4. สัปปรุ ิสธรรม 7 ธรรมของสัตบรุ ุษ ข้อใดสอดคล้องโดยตรงกับหลกั เศรษฐกจิ พอเพียง
ก. มตั ตญั ญุตา
ข. ธัมมัญญตุ า
ค. อัตถัญญุตา
ง. อตั ตัญญตุ า

ชดุ ท่ี 3 หลกั ธรรมนาเศรษฐกิจพอเพียง เพญ็ วิภา สรรคชา

ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้ เศรษฐกิจพอเพยี งโดยเน้นแบบ Active Learning ชนั้ มธั ยมศึกษาปี ท่ี 5 16

5. การดำเนินงานให้สำเรจ็ ตามแนวปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง ตอ้ งมีคุณธรรมข้อใดสำคัญทส่ี ุด
ก. ความซ่ือสัตยส์ จุ ริต
ข. ความขยนั หมัน่ เพียร
ค. ความกตญั ญูกตเวที
ง. ความเมตตากรุณา

6. หลกั พุทธศาสนากับหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง เน้นแนวทางมัชฌมิ า ท่ีมีหัวใจสำคัญคือ
ก. สมั มาอาชวี ะ
ข. สัมมาวายามะ
ค. สมั มากัมมันตะ
ง. สัมมาสติ

7. การดำเนินชวี ติ ใหส้ อดคล้องกับหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตอ้ งใชห้ ลักธรรมทีส่ ำคัญทส่ี ดุ คืออะไร
ก. อรยิ สัจ 4 พรหมวิหาร 4
ข. พรหมวิหาร 4 สังคหวตั ถุ 4
ค. สังคหวตั ถุ 4 อรยิ สัจ 4
ง. พรหมวิหาร 4 อิทธบิ าท 4

8. หลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง ข้อใดสำคัญท่สี ดุ
ก. หลักการพง่ึ ตนเอง
ข. หลักความสนั โดษ
ค. หลกั ความพอดี
ง. หลกั ความไม่โลภ

9. หัวใจเศรษฐีคอื ข้อใด
ก. สุ จิ ปุ ลิ
ข. อุ อา กะ สะ
ค. ธะ อะ มะ กา
ง. ทุ สะ นิ โร

10. วธิ กี ารแก้ปัญหาตามหลกั เศรษฐกิจพอเพยี ง ใชแ้ นวทางใด
ก. การสงั่ การของผูน้ ำ
ข. การใช้ปญั ญาในการแก้ปัญหา
ค. การใช้ความคดิ ของตนเองเป็นสำคญั
ง. การใช้กำลังในการแกป้ ัญหา

ชดุ ท่ี 3 หลกั ธรรมนาเศรษฐกิจพอเพยี ง เพญ็ วิภา สรรคชา

ชดุ กิจกรรมการเรียนรู้ เศรษฐกิจพอเพียงโดยเน้นแบบ Active Learning ชนั้ มธั ยมศึกษาปี ที่ 5 17

ขน้ั ที่ 2 ขน้ั การสร้างประสบการณ์

บตั รคำสั่งที่ 2

ให้นักเรียนศึกษา

บัตรเนอื้ หาที่ 3.1-บัตรเนื้อหาท่ี 3.2

ชดุ ท่ี 3 หลกั ธรรมนาเศรษฐกิจพอเพียง เพญ็ วิภา สรรคชา

ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้ เศรษฐกิจพอเพียงโดยเน้นแบบ Active Learning ชนั้ มธั ยมศึกษาปี ท่ี 5 18

บตั รเนื้อหาท่ี 3.1
หลักธรรมนำเศร1ษฐกจิ พอเพียง

หลักมัชฌมิ าปฏิปทา (การปฏบิ ตั ติ นในทางสายกลาง)

มัชฌมิ าปฏิปทาในทางพทุ ธศาสนา หมายถึง ทางสายกลาง คอื การไมย่ ึดถอื สุดทาง
ทั้ง 2 ทาง ได้แก่ อตั ตกิลมถานโุ ยค คือ การประกอบตนเองใหล้ ำบากเกนิ ไปและ
กามสุขัลลิกานโุ ยค คือ การพวั พนั ในกามในความสบายเป็นหลกั คำสอนทีป่ รากฏในพระ
ธรรมเทศนากัณฑ์แรกของพระพทุ ธเจา้ ท่ที รงแสดงแก่ปญั จวัคคีย์ คือ ธัมมจักกปั ปวัตตนสตู ร

นอกจากคุณค่าขั้นสูงสุดของหลักมัชฌิมาปฏิปทาที่เป็นไปเพื่อการพ้นทุกข์แล้ว
คุณค่าในเบอื้ งต้นยังเปน็ ไปเพ่อื การรจู้ ักการดำเนินชีวิตให้เกดิ ความพอดีเป็นแนวทางของการ
แกท้ กุ ขท์ ่เี รยี กวา่ “อริยมรรคมอี งค์ 8” โดยมงุ่ เนน้ ให้มีความสขุ กายและสขุ ใจไปด้วย ดังนี้

1. สมั มาทิฏฐิ คือ ปัญญาเหน็ ชอบ หมายถงึ การปฏิบัตอิ ยา่ งเหมาะสมตามความเปน็ จริงด้วยปญั ญา
2. สัมมาสังกัปปะ คือ ดำริชอบ หมายถึง การใช้สมองความคิดพิจารณาแต่ในทางกุศลหรือ
ความดีงาม
3. สมั มาวาจา คอื เจรจาชอบ หมายถึง การพดู ต้องสภุ าพ แต่ในส่ิงท่ีสรา้ งสรรค์ดงี าม
4. สัมมากมั มันตะ คอื การประพฤติชอบ หมายถงึ การประพฤติดีงาม ทางกายหรอื กจิ กรรมทางกาย
ท้ังปวง
5. สัมมาอาชีวะ คือ การงานชอบ หมายถึง การทำมาหากินอย่างสุจริตชน ไม่คดโกง เอาเปรียบ
คนอื่น ๆ มากเกินไป
6. สัมมาวายามะ คือ ความเพียรชอบ หมายถึง ความอุตสาหะพยายาม ประกอบความเพียรใน
การกุศลกรรม
7. สมั มาสติ คอื ความระลึกชอบ หมายถึง การไมป่ ลอ่ ยใหเ้ กดิ ความพลัง้ เผลอ จิตเลอ่ื นลอย ดำรงอยู่
ดว้ ยความรตู้ วั อยเู่ ปน็ ปกติ
8. สัมมาสมาธิ คือ จิตตั้งมั่นชอบ หมายถึง การฝึกจิตให้ตั้งมั่น สงบ สงัด จากกิเลส นิวรณ์อยู่เป็น
ปกติ

ชดุ ที่ 3 หลกั ธรรมนาเศรษฐกิจพอเพยี ง เพญ็ วิภา สรรคชา

ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้ เศรษฐกิจพอเพียงโดยเน้นแบบ Active Learning ชนั้ มธั ยมศึกษาปี ท่ี 5 19

อัตตฺ า หิ อัตตฺ โน นาโถ (ตนเปน็ ทพ่ี ่งึ แห่งตน)

หลักอัตฺตา หิ อัตฺตโน นาโถ เป็นคำสอนให้บุคคลพึ่งตนเอง ซึ่งแนวทางของระบบ
เศรษฐกิจพอเพียงก็ได้มุ่งเน้นให้พึ่งตนเองในการทำมาหาเลี้ยงชีพในการสร้างฐานะและ
การเก็บรักษาทรพั ยท์ ี่หามาได้เพื่อจับจา่ ยใช้สอยในยามจำเป็น นอกจากเป็นที่พึง่ แหง่ ตน
แลว้ จะต้องเปน็ ทพ่ี ึ่งของบคุ คลอื่นด้วยนอกจากในระดบั บคุ คลแล้วยงั มงุ่ เนน้ ใหก้ ารพัฒนา
ประเทศชาติให้พึ่งตนเองในลักษณะ “เศรษฐกิจพอเพียง” นั่นคือการพัฒนาที่ไม่อิง
เศรษฐกจิ โลกจนเกนิ ไป

หลกั สนั โดษ

หลักสันโดษนี้มุ่งให้บุคคลพึงพอใจในสิ่งของหรือทรัพย์สินท่ีตนเองได้มาและใช้จ่ายใน
สิ่งที่ก่อให้เกิดประโยชน์ ให้บุคคลรู้จักประมาณ ได้แก่ การประหยัดและรู้จักออม
ไม่ฟุ่มเฟือยฟุ้งเฟ้อ มีความเป็นอยู่อย่างสงบเรียบง่าย และโปร่งใส ไม่ทะเยอทะยาน
ต่อสู้และเบียดเบียนบุคคลอื่น ไม่เอารัดเอาเปรียบกัน อยู่ร่วมกันได้อย่างสันติสุข
ในคัมภีร์ มังคลทีปนี ได้ให้ความหมายของคำว่า สันโดษ ไว้ 3 นัยคือ ยินดีสิ่งที่เป็น
ของตน ยินดใี นสงิ่ ที่มอี ยู่ และยินดดี ้วยใจที่เสมอ(ด้วยใจท่ีมนั่ คง)

ชดุ ท่ี 3 หลกั ธรรมนาเศรษฐกิจพอเพียง เพญ็ วิภา สรรคชา

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เศรษฐกิจพอเพยี งโดยเน้นแบบ Active Learning ชนั้ มธั ยมศึกษาปี ที่ 5 20

หลักสัปปรุ ิสธรรม 7

หลกั สปั ปุริสธรรม 7 คือ ธรรมของสัตบุรษุ ธรรมท่ีทำใหเ้ ปน็ สัตบุรุษ หรือคณุ สมบัติของ
คนดี ประกอบด้วย

1.ธมั มัญญุตา ความร้จู กั เหตุ คือ ร้หู ลักความจรงิ รู้หลักการ ร้หู ลักเกณฑ์ รูก้ ฎ
แหง่ ธรรมดา รกู้ ฎเกณฑ์แห่งเหตผุ ล และรหู้ ลักการท่ีจะทำใหเ้ กดิ ผล

2.อตั ถัญญตุ า ความรจู้ ักอรรถ รู้ความม่งุ หมาย หรอื ร้จู กั ผล คอื รู้ความหมาย
รคู้ วามม่งุ หมาย รู้ประโยชนท์ ี่ประสงค์

3.อัตตญั ญตุ า ความรู้จกั ตน คอื รวู้ า่ เราน้นั ว่าโดยฐานะ ภาวะ เพศ กำลัง
ความรู้ ความสามารถ ความถนดั และคุณธรรม เปน็ ตน้ บดั น้ี เท่าไร อย่างไร
แลว้ ประพฤตใิ ห้เหมาะสมและรทู้ ีจ่ ะแก้ไขปรบั ปรงุ ต่อไป

4. มัตตญั ญตุ า ความรจู้ ักประมาณ คือ ความพอดี เชน่ ภกิ ษรุ จู้ ักประมาณใน
การรบั และบริโภคปจั จยั ส่ีคฤหสั ถ์รจู้ กั ประมาณในการใชจ้ ่ายโภคทรพั ย์ เป็นตน้

5. กาลัญญตุ า ความรจู้ ักกาล คือ ร้กู าลเวลาอนั เหมาะสม และระยะเวลาทค่ี วร
หรือจะต้องใช้ในการประกอบกิจ ทำหน้าท่ีการงาน เชน่ ให้ตรงเวลา ใหเ้ ปน็ เวลา
ใหท้ ันเวลา ใหพ้ อเวลา เป็นตน้

6. ปรสิ ญั ญุตา ความรู้จกั บริษทั คือ รจู้ กั ชุมชน และรจู้ กั ท่ีประชุม รู้กริยาท่ี
จะประพฤตติ อ่ ชมุ ชนน้นั ๆ ว่าชมุ ชนนี้เมอ่ื เขา้ ไปหา จะตอ้ งทำกรยิ าอยา่ งน้ี จะตอ้ งพูด
อย่างน้ี ชมุ ชนน้ีควรสงเคราะห์อยา่ งน้ี เป็นต้น

7.ปุคคลัญญุตา หรอื ปุคคลปโรปรญั ญุตา ความรจู้ ักบคุ คล คอื ความแตกต่าง
แหง่ บคุ คลวา่ โดยอธั ยาศยั ความสามารถและคณุ ธรรม เป็นต้น ใคร ๆ ยิง่ หรือหยอ่ น
อย่างไร และรทู้ จี่ ะปฏิบตั ิตอ่ บคุ คลนัน้ ๆ ดว้ ยดี เป็นต้น

ชดุ ท่ี 3 หลกั ธรรมนาเศรษฐกิจพอเพยี ง เพญ็ วิภา สรรคชา

ชดุ กิจกรรมการเรียนรู้ เศรษฐกิจพอเพยี งโดยเน้นแบบ Active Learning ชนั้ มธั ยมศึกษาปี ท่ี 5 21

ทิฏฐธมั มกิ ตั ถะ

เป็นข้อปฏิบัติสำคัญที่ทำให้เกิดผล คือ ความมั่นคงทางเศรษฐกิจ ทำให้มีทรัพยส์ ิน
เงินทอง พึ่งตนเองได้ เรียกว่าธรรมที่เป็นไปเพื่อประโยชน์ปัจจุบัน บางทีเรียกว่า “หัวใจ
เศรษฐี” โดยมคี ำย่อคอื “อุ““อา““กะ““สะ“ ดังน้ีคือ

1. อุฏฐานะสัมปทา (อุ) หมายถึง การถึงพร้อมด้วยความขยันหมั่นเพียร รู้จักใช้
ปัญญาไตร่ตรองพิจารณาหาวิธีการที่แยบคายในการทำงาน มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
รจู้ ักคดิ รูจ้ กั ทำ รู้จกั ดำเนนิ การดา้ นเศรษฐกจิ ทำการงานประกอบอาชีพใหไ้ ดผ้ ลดี

2. อารักขสัมปทา (อา) หมายถึง การถึงพร้อมด้วยการรักษา สามารถปกป้อง
คุ้มครองรกั ษาทรัพยส์ นิ ทีห่ ามาได้ ไมใ่ ห้สูญหายพินาศไปดว้ ยภัยต่าง ๆ

3. กัลยาณมิตตตา (กะ) หมายถึง การรู้จักคบคนดีหรือมีกัลยาณมิตร ซึ่งจะเป็น
องค์ประกอบสำคัญ ที่ช่วยให้เจริญก้าวหน้าในวงการอาชีพนั้น ๆ ทำให้รู้เห็นช่องทางและ
โอกาสต่าง ๆ ในการงาน ทันต่อเหตุการณ์ ตลอดจนรู้จักปฏิบัติต่อทรัพย์ของตนอย่าง
ถูกต้อง ไม่ถูกมิตรชั่วชักจูงไปในทางอบายมุข ซึ่งจะทำให้ทรัพย์สินไม่เพิ่มพูนหรือมีแต่จะ
หดหายไป

4. สมชีวติ า (สะ) หมายถงึ ความเป็นอยู่พอดี หรอื ความเป็นอยู่สมดุล คือ
เลี้ยงชพี แต่พอดีไม่ใหฟ้ มุ่ เฟือย ไม่ใหฝ้ ืดเคือง ใหร้ ายไดเ้ หนือรายจ่าย มีเหลอื เก็บไวใ้ ช้ใน
คราวจำเปน็

ชดุ ท่ี 3 หลกั ธรรมนาเศรษฐกิจพอเพียง เพญ็ วิภา สรรคชา

ชดุ กิจกรรมการเรียนรู้ เศรษฐกิจพอเพยี งโดยเน้นแบบ Active Learning ชนั้ มธั ยมศึกษาปี ที่ 5 22

โภคาวภิ าค 4

เป็นวิธีการจัดสรรทรัพย์ในการใช้จ่าย โดยจัดสรรทรพั ย์ออกเป็น 4 สว่ น ดงั นค้ี ือ
1. แบ่ง 1 สว่ น เพอ่ื ใชบ้ รโิ ภคเลยี้ งตนเองใหเ้ ป็นสุข เล้ยี งดูครอบครวั และคนท่อี ยู่

ในความรบั ผิดชอบให้เปน็ สุข และใช้ทำความดี บำเพ็ญประโยชนแ์ ตส่ าธารณะ เป็นต้น
2. แบ่ง 2 ส่วน เพอื่ จดั สรรไว้สำหรับลงทนุ ประกอบกิจการงานต่าง ๆ
3. แบ่ง 1 ส่วน เพื่อเก็บไว้ใช้ในยามจำเป็น เช่น เมื่อเกิดอุบัติเหตุ เมื่อเจ็บไข้ได้

ปว่ ย เป็นตน้

โภคอาทยิ ะ 5

หลกั การใช้ทรพั ยเ์ พอ่ื ให้เกิดประโยชน์ในการดำเนนิ ชีวติ อยา่ งถูกต้อง มีดงั น้ี
1. เลีย้ งตนเอง บดิ ามารดา บตุ ร ภรรยาและคนในปกครองให้มคี วามสุข
2. บำรุงมติ รสหายและผู้รว่ มงานให้มีความสุข
3. ใช้สำหรบั ปอ้ งกันภยันตราย
4. ใชท้ ำพลี 5 อยา่ ง ได้แก่ ญาตพิ ลี คือ สงเคราะห์ญาติ อตถิ พี ลี คอื ตอ้ นรับแขก

ปพุ พเปตพลี คอื ทำบุญอุทิศแกบ่ รรพบุรุษ ราชพลี คอื บำรงุ ราชการโดยการเสยี ภาษี
เทวดาพลี คือ ถวายเทวดาหรอื สักการะแกส่ ง่ิ ท่ีควร

5. บำรงุ สมณะ ใช้อุปถมั ภ์บำรุงสมณพราหมณ์ ผู้ประพฤตชิ อบ

ชุดท่ี 3 หลกั ธรรมนาเศรษฐกิจพอเพยี ง เพญ็ วิภา สรรคชา

ชดุ กิจกรรมการเรียนรู้ เศรษฐกิจพอเพยี งโดยเน้นแบบ Active Learning ชนั้ มธั ยมศึกษาปี ที่ 5 23

กามโภคสี ขุ 4 (สุขของคฤหัสถ์ 4)

กามโภคสี ขุ 4 (สุขของคฤหสั ถ์ 4) คือ คนครองเรอื นควรจะมีความสขุ 4 ประการ ซึ่งคน
ครองเรอื นควรจะพยายามให้เข้าถึงใหไ้ ด้ คอื

1.อัตถิสุข สุขเกิดจากการมีทรัพย์ เป็นหลักประกันของชีวิต โดยเฉพาะความ
อนุ่ ใจ ปลาบปลม้ื ภูมใิ จวา่ เรามีทรัพยท์ ี่หามาไดด้ ว้ ยกำลงั ของตนเอง

2. โภคสุข สุขเกิดจากการบริโภคทรัพย์ หรือใช้จ่ายทรัพย์ คือ รู้จักใช้จ่ายทรัพย์
นนั้ ใหเ้ กิดประโยชน์แก่ชีวติ ของตน เลย้ี งดูบุคคลอื่น และทำประโยชนส์ ขุ ต่อผอู้ ่ืนและสังคม
เปน็ ตน้

3. อนณสขุ สขุ เกดิ จากความไม่เปน็ หน้ี ไมต่ ้องทุกขใ์ จ เป็นกงั วลใจเพราะมีหน้ีสิน
ติดค้างใคร

4. อนวัชชสุข สุขเกิดจากความประพฤติที่ไม่มีโทษ คือ มีกายกรรม วจีกรรม
มโนกรรมที่สุจริต ที่ใครจะว่ากล่าวติเตียนไม่ได้ มีความบริสุทธิ์ และมีความมั่นใจใน
การดำเนินชวี ติ ของตน

ชุดท่ี 3 หลกั ธรรมนาเศรษฐกิจพอเพยี ง เพญ็ วิภา สรรคชา

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เศรษฐกิจพอเพียงโดยเน้นแบบ Active Learning ชนั้ มธั ยมศึกษาปี ท่ี 5 24

บัตรเนือ้ หาท่ี 3.2

ความสอดคลอ้ งเศรษฐกจิ พอเพียงกับหลกั ธรรมในพุทธศาสนา

ความสอดคล้องของหลกั เศรษฐกิจพอเพยี งกบั หลกั ธรรมในพุทธศาสนา มดี ังน้ี

1. เน้นความเป็นเศรษฐกิจแบบองค์รวม กล่าวคือ เป็นระบบการพัฒนา
ชีวิตของปัจเจกชน ควบคู่กับการพัฒนาสังคม ชุมชน และสิ่งแวดล้อม โดยมี
จริยธรรม คือ ความเมตตา ความเก้ือกูลสงเคราะห์ ความสามัคคี ความไม่เห็นแกต่ ัว
ดังหลักของระบบเศรษฐกิจพอเพียงที่กล่าวไว้ว่า มนุษย์อยู่ดี ชุมชนอยู่ได้ ธรรมชาติ
ย่ังยืน

2. เป็นระบบเศรษฐกิจแบบมัชฌิมา ที่มีสัมมาอาชีวะเป็นหัวใจสำคัญ
ซึ่งสามารถโยงไปสู่การที่พระพุทธศาสนามีท่าทีปฏิเสธความสุดโต่ง 2 ด้าน คือ
การหมกมนุ่ ในกามสุขอย่างเดียว และ การทรมานตนเองในรปู แบบต่าง ๆ

3. เป็นระบบเศรษฐกิจ ที่มุ่งพฒั นาทั้งคนและทั้งกระบวนการทางเศรษฐกิจ
ซึ่งถ้าคนไทยปฏิบัติตามระบบเศรษฐกิจแบบพอเพียงก็จะส่งผลให้เกิดภาวะ
“เศรษฐกจิ งอกงาม ธรรมงอกเงย คนก็มคี วามสขุ ”

4. เป็นระบบเศรษฐกิจที่ไม่เบียดเบียนใครให้เดือดร้อน ไม่มุ่งทำลาย
ทรัพยากรธรรมชาตจิ นกลายเป็นการทำรา้ ยธรรมชาติ

5. เป็นระบบเศรษฐกิจที่ฝึกให้มนุษย์ตระหนักรู้ถึงศักยภาพในด้านการ
สามารถพ่ึงตนเองได้

ชดุ ที่ 3 หลกั ธรรมนาเศรษฐกิจพอเพียง เพญ็ วิภา สรรคชา

ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้ เศรษฐกิจพอเพยี งโดยเน้นแบบ Active Learning ชนั้ มธั ยมศึกษาปี ท่ี 5 25

ขน้ั ท่ี 3 ขั้นการแบง่ ปนั ความรู้

บตั รคำส่งั ที่ 3

ใหน้ กั เรยี นแตล่ ะกล่มุ ทำ
บัตรกจิ กรรมตามคำชีแ้ จงของ
บตั รกจิ กรรมที่ 3.1-3.2

ชดุ ท่ี 3 หลกั ธรรมนาเศรษฐกิจพอเพยี ง เพญ็ วิภา สรรคชา

ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้ เศรษฐกิจพอเพยี งโดยเน้นแบบ Active Learning ชนั้ มธั ยมศึกษาปี ท่ี 5 26

บัตรกิจกรรมท่ี 3.1
อรยิ มรรคมีองค์ 8

คำชี้แจง ให้นักเรยี นจับคหู่ ลกั ธรรมต่อไปนีใ้ หถ้ กู ตอ้ ง (8 คะแนน)

………1. การฝกึ จิตให้ต้งั มัน่ สงบ สงดั จากกิเลส นิวรณอ์ ยู่ ก. สมั มาทฏิ ฐิ
เปน็ ปกติ ข. สัมมาสงั กปั ปะ
ค. สมั มาวาจา
.........2. ความอุตสาหะพยายาม ประกอบความเพยี รในการ ง. สัมมากมั มันตะ
กศุ ลกรรม จ. สัมมาอาชวี ะ
ฉ. สมั มาวายามะ
……….3. การปฏบิ ัตอิ ย่างเหมาะสมตามความเป็นจริงดว้ ย ช. สมั มาสติ
ปญั ญา ซ. สัมมาสมาธิ

..........4. การพูดต้องสภุ าพ แตใ่ นสง่ิ ทส่ี รา้ งสรรคด์ งี าม
……….5. การทำมาหากินอย่างสจุ ริตชน ไมค่ ดโกง เอาเปรยี บ

คนอ่นื ๆ มากเกินไป
……….6. การประพฤตดิ ีงาม ทางกายหรือกจิ กรรมทางกาย

ทงั้ ปวง
………..7. การใช้สมองความคิดพิจารณาแต่ในทางกุศลหรือ

ความดงี าม
..........8. การไมป่ ล่อยใหเ้ กิดความพลั้งเผลอ จิตเลอื่ นลอย

ดำรงอย่ดู ้วยความรตู้ ัวอย่เู ปน็ ปกติ

ชุดท่ี 3 หลกั ธรรมนาเศรษฐกิจพอเพยี ง เพญ็ วิภา สรรคชา

ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้ เศรษฐกิจพอเพยี งโดยเน้นแบบ Active Learning ชนั้ มธั ยมศึกษาปี ที่ 5 28

บตั รกจิ กรรมท่ี 3.2
หลกั ธรรมนำเศรษฐกจิ พอเพียง

คำชแี้ จง ใหน้ กั เรยี นตอบคำถามต่อไปนี้ (12 คะแนน)

1. อัตตฺ า หิ อัตตฺ โน นาโถ เปน็ หลักธรรมเกี่ยวกับเร่อื งอะไร (2 คะแนน)

............................................................................................................................. ......................................................
............................................................................................................................................................... ...................

2. หลักสนั โดษมคี วามเกย่ี วข้องกับเศรษฐกจิ พอเพียงอย่างไรบ้าง (2 คะแนน)

....................................................................................................................................................................... ............
............................................................................................................................. .....................................................

3. หลกั สปั ปรุ ิสธรรม 7 เป็นหลกั ธรรมเก่ียวกบั เร่อื งอะไร (2 คะแนน)

.......................................................................................................................................... ..........................................
......................................................................................... ..........................................................................................

4. ทิฏฐธัมมิกตั ถะ เปน็ หลักธรรมเก่ียวกบั เร่ืองอะไร (2 คะแนน)

......................................................................................................... ...........................................................................
............................................................................................................................. ......................................................

5. โภคาวภิ าค 4 เป็นหลักธรรมเก่ียวกับเรอื่ งอะไร (2 คะแนน)

............................................................................................................................. .......................................................
...................................................................................................................................................................................

6. โภคอาทยิ ะ 5 เปน็ หลักธรรมเก่ียวกับเร่ืองอะไร (2 คะแนน)

............................................................................................... .....................................................................................
............................................................................................................................. ......................................................

ชดุ ที่ 3 หลกั ธรรมนาเศรษฐกิจพอเพียง เพญ็ วิภา สรรคชา

ชดุ กิจกรรมการเรียนรู้ เศรษฐกิจพอเพียงโดยเน้นแบบ Active Learning ชนั้ มธั ยมศึกษาปี ท่ี 5 30

ขน้ั ที่ 4 ขั้นการทบทวนความรู้

บตั รคำสัง่ ท่ี 4

ให้นักเรยี นทำ
บตั รกิจกรรมที่ 3.3

ชดุ ท่ี 3 หลกั ธรรมนาเศรษฐกิจพอเพียง เพญ็ วิภา สรรคชา

ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้ เศรษฐกิจพอเพียงโดยเน้นแบบ Active Learning ชนั้ มธั ยมศึกษาปี ท่ี 5 31

บตั รกจิ กรรมท่ี 3.3

เศรษฐกิจพอเพียงกับหลักธรรมในพุทธศาสนา

คำชีแ้ จง ให้นักเรยี นบอกความสอดคลอ้ งของหลักเศรษฐกิจพอเพยี งกับหลักธรรมในพทุ ธศาสนา

(10 คะแนน)

ชุดท่ี 3 หลกั ธรรมนาเศรษฐกิจพอเพยี ง เพญ็ วิภา สรรคชา

ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้ เศรษฐกิจพอเพยี งโดยเน้นแบบ Active Learning ชนั้ มธั ยมศึกษาปี ที่ 5 33

ข้นั ที่ 5 ขัน้ การนำไปใช้

บตั รคำสั่งที่ 5

ให้นกั เรยี นทำ
บตั รกจิ กรรมที่ 3.4
การนำหลักธรรมไป
ประยุกตใ์ ช้ในชวี ิตประจำวัน

ชดุ ท่ี 3 หลกั ธรรมนาเศรษฐกิจพอเพยี ง เพญ็ วิภา สรรคชา

ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้ เศรษฐกิจพอเพยี งโดยเน้นแบบ Active Learning ชนั้ มธั ยมศึกษาปี ที่ 5 34

บตั รกิจกรรมท่ี 3.4
การนำหลกั ธรรมไปประยกุ ต์ใช้ในชวี ิตประจำวัน

คำชแ้ี จง ใหน้ ักเรยี นแสดงความคดิ เห็นจากข้อคำถามทค่ี รูกำหนด

(10 คะแนน)

นักเรยี นจะนำหลกั ธรรมไปประยกุ ต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้อยา่ งไรจงึ เกดิ ประโยชน์
สงู สุด

............................................................................................................................. ..............................
...........................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..............................
............................................................................................................................................ ...............
.................................................................................................................... .......................................
............................................................................................................................. ..............................
...........................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..............................

ชดุ ท่ี 3 หลกั ธรรมนาเศรษฐกิจพอเพยี ง เพญ็ วิภา สรรคชา

ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้ เศรษฐกิจพอเพียงโดยเน้นแบบ Active Learning ชนั้ มธั ยมศึกษาปี ที่ 5 36

แบบทดสอบหลังเรยี น
ชดุ ที่ 3 เร่ือง หลกั ธรรมนำเศรษฐกิจพอเพยี ง

คำชแ้ี จง 1. แบบทดสอบฉบับนี้มีทั้งหมด 10 ข้อ ใชเ้ วลา 10 นาที
2. ใหท้ ำเครอื่ งหมาย (X) ทับตวั อักษร ก ข ค และ ง ทถ่ี ูกตอ้ งท่ีสุดเพียง

ขอ้ เดียว ลงในกระดาษคำตอบ

1. ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงทำให้คนไทยมีคณุ ธรรมหลายประการ ยกเวน้ ข้อใด
ก. ขยันและประหยดั
ข. มอี าชีพสจุ ริต
ค. มีนำ้ ใจช่วยเหลอื ผอู้ น่ื
ง. สร้างฐานะให้มง่ั คั่งร่ำรวย

2. ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งตรงกับความหมายของการปฏบิ ตั ติ นตามหลักธรรมใดในทางพระพทุ ธศาสนา
ก. พุทธโอวาท 3
ข. มชั ฌมิ าปฏิปทา
ค. บญุ กริยาวตั ถุ 4
ง. อรยิ บุคคล 4

3. สปั ปรุ ิสธรรม 7 ธรรมของสตั บุรุษ ข้อใดสอดคล้องโดยตรงกบั หลกั เศรษฐกิจพอเพียง
ก. มัตตญั ญุตา
ข. ธัมมัญญตุ า
ค. อัตถัญญุตา
ง. อัตตญั ญตุ า

4. คณุ ธรรมในข้อใดไม่สัมพันธก์ บั เศรษฐกิจพอเพียง
ก. สติ : ระลกึ ตระหนักในการกระทำของตนตามหลักเหตุและผล
ข. ปัญญา : เพียงพอบนความรอบรูแ้ ละเหตผุ ล ฉลาดคิดใช้และทำ
ค. คณุ ธรรม : ไมเ่ บยี นตนเอง ผอู้ น่ื และทรัพยากรธรรมชาติ
ง. วัฒนธรรม : ปรับวฒั นธรรมใหท้ ันสมยั กับการเปลย่ี นแปลงของสงั คมโลก

ชุดท่ี 3 หลกั ธรรมนาเศรษฐกิจพอเพียง เพญ็ วิภา สรรคชา

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เศรษฐกิจพอเพยี งโดยเน้นแบบ Active Learning ชนั้ มธั ยมศึกษาปี ท่ี 5 37

5. การดำเนนิ ชวี ิตใหส้ อดคล้องกับหลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง ต้องใช้หลักธรรมทส่ี ำคัญทส่ี ุดคืออะไร
ก. อริยสัจ 4 พรหมวิหาร 4
ข. พรหมวหิ าร 4 สงั คหวตั ถุ 4
ค. สงั คหวัตถุ 4 อริยสัจ 4
ง. พรหมวิหาร 4 อทิ ธิบาท 4

6. การดำเนินงานใหส้ ำเร็จตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ต้องมีคณุ ธรรมข้อใดสำคัญที่สุด
ก. ความซื่อสตั ย์สุจริต
ข. ความขยันหมัน่ เพยี ร
ค. ความกตัญญูกตเวที
ง. ความเมตตากรุณา

7. หลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง ข้อใดสำคัญท่ีสุด
ก. หลักการพง่ึ ตนเอง
ข. หลักความสันโดษ
ค. หลกั ความพอดี
ง. หลกั ความไม่โลภ

8. วธิ ีการแกป้ ญั หาตามหลักเศรษฐกิจพอเพยี ง ใช้แนวทางใด
ก. การสง่ั การของผู้นำ
ข. การใชป้ ญั ญาในการแก้ปัญหา
ค. การใช้ความคดิ ของตนเองเป็นสำคัญ
ง. การใชก้ ำลงั ในการแกป้ ัญหา

9. หลกั พุทธศาสนากับหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง เน้นแนวทางมัชฌิมา ท่ีมีหวั ใจสำคญั คือ
ก. สัมมาอาชวี ะ
ข. สมั มาวายามะ
ค. สมั มากมั มันตะ
ง. สมั มาสติ

10. หัวใจเศรษฐคี อื ข้อใด
ก. สุ จิ ปุ ลิ
ข. อุ อา กะ สะ
ค. ธะ อะ มะ กา
ง. ทุ สะ นิ โร

ชุดที่ 3 หลกั ธรรมนาเศรษฐกิจพอเพียง เพญ็ วิภา สรรคชา

ชดุ กิจกรรมการเรียนรู้ เศรษฐกิจพอเพยี งโดยเน้นแบบ Active Learning ชนั้ มธั ยมศึกษาปี ท่ี 5 38

กระดาษคำตอบ

แบบทดสอบกอ่ นเรียน-หลังเรยี น
ชดุ ท่ี 3 เรอื่ ง หลกั ธรรมนำเศรษฐกจิ พอเพียง

ชอ่ื ……………………………………………….ชัน้ ……………เลขที…่ …………

แบบทดสอบกอ่ นเรยี น ง แบบทดสอบหลงั เรียน

ขอ้ ก ข ค ข้อ ก ข ค ง
1 1
2 2
3 3
4 4
5 5
6 6
7 7
8 8
9 9
10 10

ชดุ ท่ี 3 หลกั ธรรมนาเศรษฐกิจพอเพยี ง เพญ็ วิภา สรรคชา

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เศรษฐกิจพอเพยี งโดยเน้นแบบ Active Learning ชนั้ มธั ยมศึกษาปี ที่ 5 40

แบบบนั ทกึ คะแนนรายบุคคล

ชุดกจิ กรรมการเรยี นรเู้ ศรษฐกจิ พอเพียงโดยเน้นแบบ Active Learning
ชนั้ มัธยมศึกษาปที ี่ 5

ชดุ ที่ 3 เรอ่ื ง หลกั ธรรมนำเศรษฐกิจพอเพยี ง

ชื่อ .................................................. นามสกลุ ...............................................
ชั้น .............. เลขท่ี .................. กลุม่ ที่ .....................

แบบทดสอบ คะแนนเตม็ คะแนนทไี่ ด้ แบบทดสอบ คะแนนเต็ม คะแนนทีไ่ ด้

กอ่ นเรียน 10 หลงั เรยี น 10

บตั รกจิ กรรมท่ี คะแนนเตม็ คะแนนทไ่ี ด้ ผ่านเกณฑ์ 80% ข้นึ ไป
ผ่าน ไม่ผ่าน
3.1 8
3.2 12
3.3 10
3.4 10
3.5 10
รวม 50

รวมคะแนน
คดิ เป็นรอ้ ยละ

ชุดที่ 3 หลกั ธรรมนาเศรษฐกิจพอเพียง เพญ็ วิภา สรรคชา

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เศรษฐกิจพอเพียงโดยเน้นแบบ Active Learning ชนั้ มธั ยมศึกษาปี ที่ 5 41

เกณฑก์ ารประเมิน ระดบั
นักเรยี นได้คะแนนร้อยละ 80 ขนึ้ ไป ดมี าก
นักเรียนได้คะแนนร้อยละ 70 - 79
นักเรียนไดค้ ะแนนร้อยละ 60 – 69 ดี
นกั เรยี นได้คะแนนต่ำกวา่ ร้อยละ 60 พอใช้
ควรปรับปรงุ

ชดุ ที่ 3 หลกั ธรรมนาเศรษฐกิจพอเพยี ง เพญ็ วิภา สรรคชา

ชดุ กิจกรรมการเรียนรู้ เศรษฐกิจพอเพียงโดยเน้นแบบ Active Learning ชนั้ มธั ยมศึกษาปี ท่ี 5 42

บรรณานุกรม

มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปฎิ กภาษาไทย ฉบับมหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลัย
กรงุ เทพมหานคร :โรงพมิ พ์มหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย.

ออนไลน์.พุทธศาสนากบั เศรษฐกิจพอเพยี ง.เข้าถงึ ได้จาก
ites.google.com/a/birdkm.com/birdkm/outside-classroom/budha-
story/buddha-sufficiency-economy.สบื คน้ เมือ่ วนั ท่ี 1 มีนาคม 2561.

ออนไลน์.พอเพยี งตามแนวพทุ ธศาสนา.เข้าถึงไดจ้ าก
https://www.buddhismdata.org/index.php?url=salatam&id=29.
สืบค้นเมื่อวนั ท่ี 2 มนี าคม 2561.

ออนไลน์. หลกั การและหลักธรรมทีน่ ำมาใช้ตามหลกั ปรัชาเศรษฐกิจพอเพียง. เข้าถึงได้จาก
https://www.scbfoundation.com/media_knowledge/document/583.
สบื คน้ เม่ือวันท่ี 1 มีนาคม 2561.

ออนไลน์. หลักธรรมกับเศรษฐกจิ พอเพยี ง. เข้าถึงไดจ้ าก
https://sites.google.com/site/httpssersthkicphxpheiyng/hlak-thrrm-1.
สบื คน้ เมือ่ วันที่ 1 มนี าคม 2561.

ออนไลน์. หลกั พุทธธรรมและปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง. เขา้ ถึงได้จาก
https://journal.ghbank.co.th/uploads/journal/pagelist/pagelist_57_th/32.pdf
สืบคน้ เมอื่ วนั ที่ 1 มีนาคม 2561.

ชดุ ท่ี 3 หลกั ธรรมนาเศรษฐกิจพอเพยี ง เพญ็ วิภา สรรคชา


Click to View FlipBook Version