The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สูตรไม่ลับฉบับผีบอก

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by , 2021-11-05 02:28:48

สูตรไม่ลับฉบับผีบอก

สูตรไม่ลับฉบับผีบอก

สูตรไม่ลับฉบับผีบอก

คัมภีร์รวบรวมสูตรน้ำหมักจุลินทรีย์
ที่ได้รับการรับรองมาแล้วว่าดี มารวมตรงนี้ไว้เพื่อคุณ



สารบัญ ก

สารบัญ หน้า
สูตรน้ำหมักจุลินทรีย์จากหยวกกล้วย
สูตรน้ำหมักจุลินทรีย์จากหอยเชอรี่ ก
สูตรน้ำหมักจุลินทรีย์จากเศษผลไม้ 1
สูตรน้ำหมักจุลินทรีย์จากหน่อกล้วย 2
สูตรน้ำหมักจุลินทรีย์จากน้ำนมที่หมดอายุ 3
สูตรน้ำหมักจุลินทรีย์จากสารชีวภาพ SM 4
สูตรน้ำหมักจุลินทรีย์จากกากน้ำตาลและรำหยาบ 5
สูตรน้ำหมักจุลินทรีย์จากดินขุยไผ่ 6
บรรณานุกรม 7
8
9

สูตรน้ำหมักจุลินทรีย์จากหยวกกล้วย 1

วัสดุและอุปกรณ์ที่ใช้

1. พด.2 จำนวน 2 ซอง
2. กากน้ำตาล 10 กิโลกรัม
3. หยวกกล้วย 30 กิโลกรัม
4. ยูเรีย 2 กิโลกรัม
5. นมเปรี้ยว 1 ลิตร
6. รำละเอียด 2 กิโลกรัม
7. เปลือกสัปปะรด 2 หัว
8. น้ำเปล่า 150 ลิตร
9. ถังหมักขนาด 200 ลิตร

ขั้นตอนการทำ
1. นำหยวกกล้วย และสับปะรดมาสับให้ละเอียด
2. นำหยวกกล้วย สับปะรด รำละเอียด กาก
น้ำตาล พด.2 ยูเรีย นมเปรี้ยว คลุกให้เข้ากัน
3. เติมน้ำเปล่า 150 ลิตร จากนั้นคนให้เข้ากัน
4. ปิดฝาให้สนิท ตั้งทิ้งในที่ร่ม 15 วัน พร้อมใช้
งาน

อัตราส่วนการใช้ ข้อดี

ใช้น้ำหมัก 200 ซีซี ผสมน้ำ ช่วยย่อยสลายตอซังข้าว
เปล่า 5 ลิตร ฉีดทุก 7 วัน และเป็นปุ๋ยในการทำนาครั้ง
ต่อไป

สูตรน้ำหมักจุลินทรีย์จากหอยเชอรี่ 2

วัสดุและอุปกรณ์ที่ใช้
1. เปลือกหอยเชอรี่บดละเอียดหรือปลา 2 ส่วน
2. กากน้ำตาล 1 ส่วน
3. เปลือกสับปะรด 1 ส่วน
4. น้ำมะพร้าว 1 ส่วน (ถ้ามี)

วิธีการทำ
1. นำหอยเชอรี่ทุบหรือบดละเอียดหรือปลา
2. กากน้ำตาลและเปลือกสับปะรดผสมคลุกเข้า
ด้วยกัน ตามอัตราส่วน
3. บรรจุลงถังหมักปิดฝาเก็บไว้ในที่ร่มนาน
15-30 วัน ใช้งานได้

ข้อดีของน้ำหมักจุลินทรีย์จากหอยเชอรี่
ส่งเสริมการเจริญเติบโตของพืช
กระตุ้นการงอกของเมล็ดเพิ่มการย่อยสลาย
ของตอซังข้าว

วิธีการนำไปใช้งาน
น้ำหมักจุลินทรีย์จากหอยเชอรี่ อัตราส่วน
5 ลิตรต่อไร่ นำไปฉีดพ่นหรือรดลงดิน
ระหว่างเตรียมดินหรือก่อนไถกลบ
เพื่อช่วยย่อยสลายตอซังข้าว

สูตรน้ำหมักจุลินทรีย์จากเศษผลไม้ 3

วัสดุและอุปกรณ์ที่ใช้
1. ผลไม้สุก
2. น้ำตาลทรายแดง
3. โอ่งหรือโหลปากกว้าง
4. กระดาษบรุ๊ฟ
5. เชือกฟาง
6. ขวดพลาสติกชนิดฝาปิดเป็นเกลียว

อัตราส่วน ผลไม้สุก 1 กิโลกรัมต่อน้ำตาลทรายแดง
1 กิโลกรัม
ในกรณีที่ผลไม้มีความหวานมากให้ใช้ผลไม้สุก
2-3 กิโลกรัมต่อ น้ำตาลทรายแดง 1 กิโลกรัม

วิธีการทำ
1. หั่นผลไม้สุกให้มีขนาดประมาณ 2- 4 เซนติเมตร
2. นำผลไม้ที่หั่นแล้วไปกองรวมกันและทำให้เป็นกอง
แบน ๆ แล้วโรยด้วยน้ำตาลทรายแดงลงไปให้ทั่วทั้งกอง
3. ใช้มือคลุกเคล้าผลไม้ให้เข้ากับน้ำตาลทรายแดง
ทำสลับไปมาประมาณ 2-3 ครั้ง จนน้ำตาลสัมผัสกับ
ผลไม้ให้ทั่วทั้งหมด
4. หลังจากคลุกเคล้าผลไม้กับน้ำตาลเรียบร้อยแล้ว
นำไปบรรจุในโหลปากกว้าง กดให้เรียบ
5. ใช้อิฐหรืออิฐบล็อกห่อหุ้มด้วยถุงพลาสติกวางทับ
เพื่อไม่ให้ชิ้นส่วนของผลไม้ลอย
6. ปิดฝาโหลด้วยกระดาษบรุ๊ฟ และมัดด้วยเชือกฟาง
นำไปหมักทิ้งไว้ 8-12 วัน
7. หลังครบกำหนดรินใส่ขวดพลาสติกให้ได้ 2 ใน 3 ของ
ขวด ปิดฝาเก็บไว้ในที่ร่มและนำไปใช้

ข้อดีของน้ำหมักจุลินทรีย์จากเศษผลไม้
การช่วยย่อยสลายตอซังข้าว
การย่อยสลายของเสียในดิน
ช่วยเพิ่มไนโตรเจน ทำให้ดินร่วนซุย
ช่วยปรับสภาพดินให้เหมาะสม
ต่อการเจริญเติบโตของพืช

วิธีการนำไปใช้งาน
อัตราส่วน 100 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร รดราด
ทางดินหรือพ่นลงในแปลงก่อนไถกลบ
การขังน้ำในนาเพื่อให้ตอซังข้าวเร่งการย่อย
สลาย 10 ลิตร ต่อ 1 ไร่ โดยผสมกับน้ำ
ที่อยู่ในนา อีกทั้งยังเป็นการเพิ่มจุลินทรีย์ที่ดี
ลงไปในดินและทำให้ดินร่วนซุย

สูตรน้ำหมักจุลินทรีย์จากหน่อกล้วย 4

วัสดุ-อุปกรณ์ที่ใช้ทำหัวเชื้อ วิธีทำจุลินทรีย์หน่อกล้วยหัวเชื้อ

1. หน่อกล้วยใบธง สูง 1 เมตร ใช้ทั้งส่วน 1. นำหน่อกล้วยมาหั่น สับเป็นนชิ้นเล็กๆ
เหง้า ลำต้น ใบ และดินที่ติดมาทั้งหมด 2. นำไปใส่ในถังหมักขนาด 20 ลิตร แล้วคลุกเคล้า
จำนวน 3 กิโลกรัม ให้เข้ากันด้วยกากน้ำตาล หรือจะใช้น้ำตาลปี๊ บ
น้ำตาลทรายแดง โดยไม่ต้องใส่น้ำ
2. น้ำตาลปี๊ บ หรือ น้ำตาลทรายแดง 3. ปิดฝาหมักไว้ 7 วัน หมั่นคนทุกวันในตอนเช้าและ
แทนก็ได้ จำนวน 1 กิโลกรัม ตอนเย็น
4. เมื่อครบเจ็ดวันแล้วให้คั้นน้ำออกมาใส่ถัง
3. ถังมีฝาปิด 20 ลิตร แกลลอน หรือขวดพลาสติก แล้วปิดฝาไว้หลวม

4. ปูนแดง(ปูนหมาก) จำนวน 2 กิโลกรัม ..........หลังจาก 7 วัน..........
5. บดใบสาบเสือสด ใบยูคาลิปตัส ให้พอละเอียด
5. ใบสาบเสือสด จำนวน 5 กิโลกรัม ใส่ในถังหมักพลาสติก ขนาด 150 ลิตร
6. ละลายปูนแดงกับน้ำเปล่า
6. ใบยูคาลิปตัสสด จำนวน 5 กิโลกรัม 7. เติมน้ำพอท่วม แล้วจึงคนให้เข้ากัน หมักทิ้งไว้
25 วัน แต่ควรคนส่วนผสมทุกๆ เจ็ดวัน
7. กากน้ำตาล จำนวน 10 กิโลกรัม
วิธีการใช้น้ำหมักจุลินทรีย์จากหน่อกล้วย

ใช้น้ำหมัก 20 ลิตรต่อไร่ ใส่ในนาข้าวที่เปิดน้ำท่วมขังไว้
โดยใส่ทิ้งไว้ห้าวัน ให้เกิดกระบวนการย่อยสลายของ
จุลินทรีย์ แล้วตีย่ำให้ฟางจม จากนั้นอีกสองวัน
จึงทำเทือกพร้อมหว่านข้าว

ข้อดีของน้ำหมักจุลินทรีย์จากหน่อกล้วย

ช่วยเร่งการย่อยสลายตอซังข้าว
ช่วยปรับปรุงโครงสร้างของดิน
ช่วยดับกลิ่นของเน่าเสีย คือ กลิ่นฟางเน่าก่อนย่อยสลาย
สารอาหารจากหน่อกล้วยจะถูกนำไปบำรุงดินและเพื่อเป็น
ปุ๋ยชีวภาพในการทำนาครั้งต่อไป

สู ต ร น้ำ ห มัก จุ ลิ น ท รีย์ จ า ก น้ำ น ม ที่ ห ม ด อ า ยุ แ ล้ ว 5

วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ทำ วิธีการใช้และอัตราการใช้

1.กากน้ำตาลจำนวน 10 กิโลกรัม
นำไปฉีดที่นาข้าวที่เกี่ยวข้าวเรียบร้อยแล้ว
2.น้ำสะอาดจำนวน 20 ลิตร
3.น้ำหมักชีวภาพ จำนวน 20 ลิตร หมักทิ้งไว้ 7 วันจากนั้นก็ทำเทือกแล้วทิ้งไว้
4.น้ำนมจำนวน 20 ลิตร (น้ำนมที่เลียแล้วก็ได้) อีก 7 วัน แล้วทำหว่านได้เลยหรือถ้านาข้าวมี
5.เศษอาหารหมักจำนวน 10 กิโลกรัม น้ำขังประมาณ 10-15 เซนติเมตรให้เทราด
ลงไปในนาข้าวจำนวน 5 ลิตรต่อไร่แล้วหมัก

ไว้ 7 วัน ฟางก็จะย่อยเป็นปุ๋ยได้แล้วและพวก
ข้าวดีดก็จะตายไม่เกิดขึ้นอีกนั้นเอง
วิธีการทำ


นำส่วนผสมทั้งหมดหมักรวมกันทิ้งไว้ประมาณ 1

เดือนหลังจากนั้นก็สามารถนำมาใช้ได้แล้ว




ข้อดีของการใช้น้ำหมักจุลินทรีย์

ปรับปรุงโครงสร้างของดินให้เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของพืช
ดินมีความโปร่งร่วนซุยอุ้มน้ำได้ดีและความหนาแน่นของดินลดลง
เพิ่มปริมาณอินทรียวัตถุและหมุนเวียนธาตุอาหารพืชคืนสู่ดิน
เพิ่มปริมาณของจุลินทรีย์ที่เป็นประโยชน์ในดิน
ช่วยในการลดระดับความเค็มของดิน
ลดปัญหามลภาวะสภาพแวดล้อมและอุบัติเหตุอีกด้วย

สูตรน้ำหมักจุลินทรีย์จากสารชีวภาพ SM 6

วิธีการทำ วัสดุอุปกรณ์

นำน้ำสะอาดใส่ลงในถังขนาด 200 ลิตร ส่วนที่ 1
เทกากน้ำตาลลงไปในถังน้ำแล้วผสม สารชีวภาพ SM 50 กรัม
ให้เข้ากัน น้ำสะอาด 200 ลิตร
เติมสารชีวภาพ SM ลงไปในถัง ผสมให้ กากน้ำตาล 4 กิโลกรัม
เข้ากัน จากนั้นทิ้งไว้ 3 วัน
หลังจาก 3 วันนำสารปรับปรุงดิน SM ส่วนที่ 2
แบบน้ำที่ได้มาไปผสมกับน้ำสะอาดและ สารปรับปรุงดิน SM แบบน้ำ(ผลที่ได้จาก
กากน้ำตาล ส่วนที่1) 20 ลิตร
ผสมให้เข้ากันแล้วจึงนำไปใช้ได้ น้ำสะอาด 200 ลิตร
กากน้ำตาล 5 กิโลกรัม



วิธีการนำไปใช้งาน

ปล่อยน้ำจุลินทรีย์ SM ลงไปใน
แปลงนา พร้อมกับปล่อยน้ำให้มีระดับ
5-10 เซนติเมตร หมักทิ้งไว้ 5-7วัน
ปล่อยให้เกิดการทำงานของจุลินทรีย์

ข้อดีของการใช้น้ำหมักจุลินทรีย์จากสารชีวภาพ SM

นำไปใช้ในการปรับปรุงดินโดยการเพิ่มจุลินทรีย์ให้กับดิน
ใช้หมักเศษฟาง เศษพืช ปุ๋ยคอก ในแปลงนา ทำให้ดินได้รับวัสดุอินทรีย์และ
ธาตุอาหารพืชเพิ่ม จึงทำให้ดินมีความอุดมสมบูรณ์ขึ้น พร้อมที่จะปลูกข้าว
ใช้หมักเพื่อย่อยสลายข้าวดีดในแปลง
ทำให้ดินมีโครงสร้างดี มีลักษณะร่วนซุย มีการระบายน้ำและอากาศดี
ทำให้ดินมีความสามารถดูดซับน้ำและธาตุอาหารพืชสูงขึ้น จึงทำให้ประหยัดปุ๋ย

สู ต ร น้ำ ห มัก จุ ลิ น ท รีย์ จ า ก ก า ก น้ำ ต า ล เ เ ล ะ รำ ห ย า บ 7

วัสดุ-อุปกรณ์ที่ใช้

1. กากน้ำตาล 10 กิโลกรัม
2. รำหยาบ 15 กิโลกรัม
3. น้ำสะอาด 100 ลิตร
4. เชื้อจุลินทรีย์ พด.2 1-2 ซอง

วิธีการทำ

ใช้กากน้ำตาล 10 กิโลกรัม ผสมกับรำหยาบ 15 กิโลกรัม
ใส่ถังหมักพลาสติกความจุ 100 ลิตร แล้วเติมน้ำสะอาด
ลงในถังหมักพลาสติก ให้ได้ปริมาณ 100 ลิตร จากนั้น
ใส่เชื้อจุลินทรีย์ พด. 2 1-2 ซอง ลงในถังหมัก ใช้ไม้คน
ให้เข้ากันดีแล้วปิดฝาถังหมัก หมักทิ้งไว้ในที่ร่มประมาณ
7-10 วัน เพื่อเพิ่มปริมาณเชื้อจุลินทรีย์น้ำหมัก
จะใช้การได้โดยสังเกตจากการเปิดฝาถังหมักจะพบว่ามี
เส้นใยเชื้อราจำนวนมาก

วิธีการใช้และอัตราการใช้


เทใส่ในนาพร้อมกับการเอาน้ำเข้านาที่เกี่ยวแล้ว ในอัตรา

การใช้น้ำหมัก 10 ลิตร ต่อไร่ น้ำที่ไหลเข้านาจะกระจาย
น้ำหมักที่มีเชื้อจุลินทรีย์ที่มีความสามารถในการย่อย
สลายฟางข้าวได้ดีไปทั่วแปลงนาให้แช่น้ำหมักฟางและ
ตอซังข้าวในระดับท่วมตอซังข้าวโดยแช่หมักนาน
ประมาณ 10-14 วัน ฟางและตอซังข้าวจะเปื่ อย

ข้อดีของการใช้น้ำหมักจุลินทรีย์

สามารถลดการใช้ปุ๋ยเคมีลงได้เป็นอย่างดี ซึ่งจะเป็นการลดต้นทุนการผลิตข้าวได้ส่วนหนึ่ง และยัง
ส่งผลดีต่อการป้องกันกำจัดข้าววัชพืช ข้าวเรื้อ ข้าวค้างฤดู หรือเมล็ดวัชพืชได้อีกทางหนึ่งด้วย

สูตรน้ำหมักจุลินทรีย์จากดินขุยไผ่ 8

วัสดุ-อุปกรณ์สำหรับหัวเชื้อจุลินทรีย์แห้ง

1. ดินขุยไผ่ 1 กิลโลกรัม 1. กะละมัง
2. แกลบ 4 กิโลกรัม 2. ไม้พายสำหรับคน
3. รำอะเอียด 1 กิโลกรัม 3. กระสอบป่าน

(สามารถใช้อย่างอื่ น
แทนได้)

วิธีการทำ

1. นำส่วนผสมทุกอย่างมาคลุกเคล้ารวมกัน
2. ใส่น้ำสะอาดให้พอชุ่มๆ
3. นำไปหมักในกะละมัง แล้วใช้กระสอบป่านปิดปาก

หมักทิ้งไว้ 7 วัน

วัสดุ-อุปกรณ์สำหรับหัวเชื้อจุลินทรีย์น้ำ

1. หัวเชื้อจุลินทรีย์แห้ง 1. ถุงตาข่าย
2. น้ำ 360 ลิตร 2. ถังขนาด 200 ลิตร
3. กากน้ำตาล 20 กิโลกรัม
2 ถัง
3. ไม้พายสำหรับคน

วิธีการทำ

1. นำหัวเชื้อจุลินทรีย์แห้งใส่ถุงตาข่าย ปิดปากให้สนิทแล้วเอาไปใส่ใน
ถัง 200 ลิตร

2.เติมน้ำ 180 ลิตร ใส่กากน้ำตาล 10 กก. แล้วหมักทิ้งไว้ 7 วัน
3. เมื่อได้หัวเชื้อจุลินทรีย์น้ำแล้ว ให้นำขยายต่อ โดยนำหัวเชื้อที่ลอย

อยู่ด้านบน ไปใส่ในถังอีกใบ
4. เติมน้ำในถังใหม่ 180 ล. กากน้ำตาล10กก. แล้วหมักทิ้งไว้ 7 วัน

เช่นเดิม เราก็จะได้หัวเชื้อน้ำพร้อมใช้งาน

วิธีการใช้และอัตราการใช้ ข้อดีของการใช้น้ำหมักสูตรนี้

ปล่อยน้ำเข้าในนาที่มีตอซังข้าวอยู่ แล้วนำหัวเชื้อ ทำให้ดินมีความอุดมสมบูรณ์ ไม่เสื่อมโทรม
น้ำที่เราหมักไว้ เทในบริเวณที่ปล่อยน้ำ โดย 1 ไร่ จะ ประหยัดเงินจากการใช้สารเคมี
ใช้น้ำหมัก 10 ลิตร ปล่อยทิ้งไว้ 10-12 วัน จนตอ มีธาตุอาหารในดินมากขึ้น ส่งผลผลผลิตที่ได้มี
ซังข้าวย่อยสลาย พร้อมทำนาในครั้งต่อไป มากขึ้นเช่นกัน

9

บรรณานุกรม

การทำน้ำหมักจุลินทรีย์จากผลไม้สุก โดยสำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการ การเกษตร
มหาวิทยาลัยแม่โจ้. (2560). การทำน้ำหมักจุลินทรีย์จากผลไม้สุก. สืบค้นเมื่อ 2
พฤศจิกายน 2564, จาก https://www.nfc.or.th/content/4009

ชลอ ปุระณะ. (2557). กำจัดตอซังข้าวด้วยน้ำหมักชีวภาพ. สืบค้นเมื่อ 2 พฤศจิกายน
2564,

จาก https://www.rakbankerd.com/agriculture/page.php?
id=6767&s=tblrice

ณัฏฐ์ คำวิชัย. (2560). ชาตรี เพชรแอน : เกษตรกรยุคใหม่ ทำนาไม่เผาตอซัง ลงทุนน้อย
กำไรเยอะ. สืบค้นเมื่อ 2 พฤศจิกายน 2564, จาก
https://www.rakbankerd.com/agriculture/guru-view.php?id=45

บริษัทมติชนจำกัด. (2564). วิธีทำปุ๋ยอินทรีย์จาก “ฟางข้าว” หมักไม่นาน ลดต้นทุนได้จริง.
สืบค้นเมื่อ 2 พฤศจิกายน 2564, จาก
https://www.technologychaoban.com/bullet-news-
today/article_127490

บุญลือ เต้าแก้ว. (2553). สูตรย่อยสลายตอซังข้าวและกำจัดข้าวดีดในนาข้าว. สืบค้นเมื่อ
2

พฤศจิกายน 2564,จาก https://rakbankerd.com/agriculture/print.php?
id=1051&s=tblareablog

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. (2562). การทำหัวเชื้อจุลินทรีย์หน่อกล้วย. สืบค้นเมื่อ 2
พฤศจิกายน 2564, จาก

http://thaifarmer.lib.ku.ac.th/question/5d22ededd63af714e9684a3a#
answer1

องค์การบริหารส่วนตำบลเมืองคง. (2550). เกษตรอินทรีย์ คืออะไร. สืบค้นเมื่อ 2
พฤศจิกายน

2564, http://www.khongcity.go.th/show.php?No=86

อานนท์. (2564). การย่อยสลายต่อซังข้าวในแปลงนา. สืบค้นเมื่อ 3 พฤศจิกายน 2564,
จาก

http://cw-sm.com/3004.html


Click to View FlipBook Version