The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Livestock Products, 2021-03-22 04:53:09

เครื่องหนัง

เครื่องหนัง

Leather Handmade

สารบญั

บทท่ี 1 1
ประวัตกิ ารฟอกหนัง 4
6
บทท่ี 2 12
โครงสรา้ งของหนัง 20
25
บทที่ 3 28
ประเภทของหนงั ฟอก 40
47
บทที่ 4 50
การเยบ็ หนงั ด้วยมือ Saddle Hand stitch 70

บทที่ 5
สีและการการย้อมสเี ครื่องหนัง

บทท่ี 6
การตอกหนงั (Leather Stamp)

บทท่ี 7
ขนั้ ตอนการทาปกสมดุ ปกหนงั

บทท่ี 8
การประกอบกระเป๋าสตางคห์ นังฝาด

บทที่ 9
กระเป๋าใส่บตั ร (หนังแพะฟอกฝาดดว้ ยกากกาแฟ)

บทท่ี 10
การทาแพทเทิรน์ งานหนังด้วยกระดาษ

บทท่ี 11
การทาพวงกญุ แจจากหนงั ฟอกฝาด

ศูนยว์ จิ ยั และพัฒนาผลติ ภัณฑป์ ศุสัตวเ์ ชียงใหม่

Leather Handmade

บทที่ 1 Aparel

ประวัติ
การฟอกหนัง

การฟอกหนงั เปน็ กระบวนการ Rite
ของการรักษาสภาพหนังของสัตว์ให้ Warfare
มีความทนทานมากขนึ้ แตย่ งั คงออ่ นตวั
ไ ด้ แ ล ะ ไ ม่ เ กิ ด ก า ร ไ ม่ เ น่ า ส ล า ย Uniform
เ พ่ื อ ท่ี จ ะ น า ไ ป ใ ช้ ป ร ะ โ ย ช น์ ต่ อ ใ น
รูปแบบวัตถุดิบในการประยุกต์ใช้ใน Faison
สังคมมนุษย์ และมีการเปลี่ยนไปใน
ยุ ค ต่ า ง ๆ ต า ม ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ศูนย์วจิ ยั และพัฒนาผลติ ภณั ฑป์ ศุสัตวเ์ ชียงใหม่
ซ่ึงแรกเริ่มมนุษย์นาหนังสัตว์มาใช้
ป ร ะ โ ย ช น์ ทั้ ง ผื น โ ด ย ท า เ ป็ น
เครื่องนุ่งหม่ เป็นที่รองนอน ต่อมามี
การขึ้นรูปและตัดเย็บท่ีสลับซับซ้อนขึ้น
หนังสัตว์กลายมาเป็นวัตถุดิบในการ
สร้ า ง เ ป็ น ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ต่ า ง ๆ ต า ม
วตั ถปุ ระสงคก์ ารใชง้ าน ท้ังการนามา
ทา เป็ น อุป ก รณ์ กา รต่อสู้กัน เช่น
โล่ ห นั ง เก รา ะ ห นั ง ก า รท า เป็ น
เครื่องใช้ เช่น ถุง กระเป๋า รองเท้า
ทาเป็นพรม ต่อมามีการขึ้นรูปและ
ตดั เย็บ สร้างเป็นผลิตภณั ฑข์ ้ึนโดยมี
ก ร ร ม วิ ธี ใ น ก า ร ผ ลิ ต เ ฉ พ า ะ ตั ว
เกิดเป็นเอกลักษณ์และวัฒนธรรมที่
แ ต ก ต่ า ง กั น ขึ้ น ต า ม วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์
การนาไปใช้

Leather Handmade PAGE 2

การฟอกหนังสามารถแบง่ ตามวตั ถปุ ระสงคก์ ารใช้งานได้เป็น 2 ประเภท คือการฟอก
หนังแบบมีให้ขนสัตว์ติดอยู่ ซึ่งหนังท่ีติดขนจะเรียกว่า Fur มีมาต้ังแต่ช่วงแรกเร่ิม
ประวัติศาสตร์ของมนุษย์ เป็นการนาหนังสัตว์จากท่ีล่ามาเป็นอาหารไปทาเคร่ืองนุ่งห่มและ
อปุ กรณ์ที่ใช้ป้องกันความหนาวเย็น ต่อมาการใช้หนังสัตว์ติดขนพัฒนามาโยงกับความเช่ือ
ท่ีว่าหนังสัตว์เหล่านี้จะช่วยส่งผ่านพลังงานความแข็งแกร่งจากตัวสัตว์สู่ผู้สวมใส่ เช่น
การผูกช้ินหนงั สิงโตทเี่ อวของพรานในแอฟริกา การใช้หนงั เสือพาดไปบนบา่ หรอื การใช้หนัง
หมาป่าทั้งตัวคลมุ ไหลใ่ นชนชน้ั ผนู้ า จนกลายเป็นสัญลักษณ์ที่เกี่ยวกับชนช้ัน เช่น หนังเสือดาว
และหนังสิงโตถือเป็นสิ่งต้องห้ามที่มีแต่กษัตริย์ และหัวหน้าคณะสงฆ์ของอียิปต์โบราณ
เท่านั้นที่จะสวมใส่ได้ ยุโรปในช่วงศตวรรษที่ 11 ก็มีการจากัดว่าราชวงศ์ช้ันสูง ขุนนาง และ
นักบวชเท่านั้นท่ีจะสวมใส่เสื้อขนเออร์มิน (Ermine) มิงค์ (mink) และเซเบิล (Sable) ได้
จนเข้าสู่ศตวรรษที่ 20 มีการนาเสนอหนังติดขนในรูปแบบของแฟชั่นท่ีนาสมัยอีกครั้ง
โดยเฉพาะช่วงหลังสงครามโลกครงั้ ทส่ี องส้นิ สดุ ลง ในชว่ งปี 1950 จนเรม่ิ มีการต่อต้านการ
ใชห้ นังสัตว์ประเภทตดิ ขนนี้โดยสมาคมและองค์กรต่างๆ เนื่องจากการจะได้เสื้อขนสัตว์สวย
1 ตวั ต้องใช้หนงั จากสัตว์ตัวเล็ก ๆ เหลา่ น้ถี ึง 40 ตัว

ส่วนการฟอกหนังแบบไม่ติดขน หรือ Leather ก็พัฒนามาพร้อมกับประวัติศาสตร์
ของมนษุ ยเ์ ชน่ กนั เนือ่ งจากมนษุ ย์ยคุ แรกเร่ิมล่าสตั ว์เป็นอาหาร หนังสัตว์จึงเป็นกลายวัสดุ
สาคญั ของมนุษย์ยุคนนั้ หากแต่ในยุคนั้นมนษุ ย์ยงั ไม่รจู้ ักวิธีการแปรสภาพหนงั สัตวห์ นงั ที่ได้
ก็จะแข็งตัวเม่ืออุณหภูมิต่า และเป่ ือยเน่าเม่ืออุณหภูมิสูง จึงพัฒนาการทาให้หนังสัตว์มี
ความทนทานมากข้ึน ผา่ นการรมควนั การตากแดด ทาด้วยไขมนั สัตว์ และสุดท้ายมาพบกับ
วิธีที่ดีที่สุดเรียกว่า การฟอกหนัง (Tanning) ด้วยเปลือกไม้ และพัฒนาเรื่อยมาในยุค
อตุ สาหกรรม มีการแยกตัดหนังเป็นช้ันๆ ตามลักษณะของโครงสร้างหนังสัตว์ให้เหมาะสม
ตามความต้องการนาไปประยุกต์ใช้งานซึ่งนาไปทาผลิตเป็นเคร่ืองใช้ เช่น กระเป๋า รองเท้า
เส้ือ และเครื่องเฟอรน์ ิเจอร์ต่างๆ

หนังแท้ จึงกลายเป็นวัตถุดิบแรกๆที่ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางด้านวัตถุ และ
นามาซึ่งความเจริญของยุคสมัยเคร่ืองหนังหรือหนังสัตว์ นั้นได้ถูกนามาผลิตเป็นของใช้
ของจาเป็นในชวี ติ ประจาวันมาตั้งแตย่ ุคกอ่ นประวัติศาสตร์ เริ่มจากใช้หนังที่ได้จากสัตว์ท่ีล่ามา
ได้ในการทาถุง กระเป๋า สายรัด เกราะ รองเทา้ บู๊ต รองเทา้ แตะ เครอ่ื งนุง่ ห่ม และที่ห่อหุ้มอยู่
อาศัยกระโจมง่ายๆ ต่อมาจึงพยายามทาให้หนังสัตว์ที่ได้มีความคงทนและอ่อนนุ่มเท่าที่จะ
เป็นไปได้ และประยุกต์กระบวนการฟอกหนังสาหรับการใช้งานมาเรื่อยๆ หนังท่ีใช้ในแต่ละ
ยุคสมัยจะมีคุณภาพแย่จนดีข้ึนตามพัฒนาการของกระบวนการฟอกหนังซึ่งมีพัฒนาการ
ของกระบวนการฟอกผ่านจดุ เปล่ียนสาคัญอยสู่ ่ีชว่ ง

เริ่มแรกคอื การการฟอกไขมัน (Brain tanned ) 8000 ปีก่อนคริสตกาล เป็นการใช้
ไขมันจากสมองและไขมนั สตั ว์ทล่ี ่ามาไดม้ าทาผนื หนงั ใหไ้ ขมนั ค่อยๆ เข้าไปแทนน้าในเส้นใย
ของหนัง แม้จะยืดอายุหนังได้แต่ก็ยังมีปัญหาเรื่องของกลิ่นหืนไขมันที่ใช้หนังยุคน้ันเป็น
หนงั ท่ียังมขี นตดิ (Fur) ผลติ ภัณฑ์ทไ่ี ด้ก็เยบ็ ประกอบกนั อยา่ งหยาบๆ

ศูนย์วจิ ัยและพัฒนาผลิตภณั ฑป์ ศุสตั วเ์ ชยี งใหม่

Leather Handmade PAGE 3

ในช่วง 6000 ปีก่อนคริสตกาล
เร่ิมใช้สารเคมีง่ายๆ ในการฟอก ได้แก่
อลูมิเนียมซัลเฟตและโซเดียมคลอไรด์
หรือสารส้มและเกลือ (Alum tanned)
ซ่ึงเป็นวิธีที่สะดวกและง่ายขึ้นหากแต่
หนังท่ีได้ยังค่อนข้างแข็ง ต้องผ่านการ
ใช้งานระยะเวลาหน่ึงหนังจึงจะอ่อนตัว
ในสว่ นทม่ี กี ารพับงอบ่อย

ในยุคสาริดระหว่าง 2000 ปีก่อนคริสตกาล มีการฟอกฝาด (Vegetable
tanned) กนั อยา่ งแพร่หลาย โดยใชแ้ ทนนินและสว่ นผสมอ่ืนๆ ที่พบในพืช เช่น เปลือกไม้
ใบไม้ ผลไม้และราก โดยสารแทนนินนี้นอกจากจะเข้าไปทดแทนน้าในเส้นใยของหนัง
ยงั เข้าไปหยดุ การเจรญิ เตบิ โตของจุลินทรีย์ทอ่ี ยู่ในหนังดว้ ย หนังที่ได้จะน่มุ และมสี ีน้าตาล
ตามสีของฝาดไม้ มีผิวมันเป็นรูปแบบเฉพาะของหนังกลุ่มนี้เป็นหนังแบบไม่มีขน
(Leather) เหมาะสาหรับใช้ในการแกะสลักหนังหรือ ป๊ ัมรอย ตัดเย็บได้ดีข้ึน แต่หนังจะมี
การเปลี่ยนคุณสมบัติ เช่น กระด้างข้ึน และสีเปลี่ยนไปเมื่อผ่านระยะเวลาหน่ึงเป็นช่วงท่ี
เกดิ การนพัฒนาผลติ ภณั ฑ์เคร่ืองหนงั หลากหลายรปู แบบ และมีลักษณะเป็นงานประณีต
ขึน้ กว่าแต่ก่อนจงึ เกดิ เป็นนยิ ามของกระบวนการการฟอกหนงั หรือ Tanning ซึ่งมาจาก
คา Tannum แปลว่าเปลือกโอ๊ค ซึ่งเป็นเปลือกไม้ชนิดแรกๆที่นามามาใช้ในกระบวนการ
ฟอกหนัง ซึ่งต่อมามกี ารคน้ พบสารให้ความฝาดท่ีมีอยู่ในเปลือกไมน้ ้แี ละตั้งชื่อวา่ Tannin

ยุคอุตสาหกรรมช่วงปี 1900 มีการใช้กลุ่มโลหะหนักจาพวกโครเม่ียม (Chrome
tanned) เข้าไปทดแทนน้าในเส้นใยหนังท่ีฟอกด้วย Chrome จะมีความนุ่มและและมี
ความยืดหยุ่นมากขึ้น ไม่เปล่ียนสี หรือสูญเสียรูปร่าง รู้จักกันในชื่อ wet-blue ตามสี
ของหนังด้านในเป็นหนังที่ใช้กระบวนการฟอกที่สั้น ราคาถูกและสะดวกในการผลิตเป็น
ปริมาณมากเป็นระบบอุตสาหกรรม ทาได้ทั้งหนัง ขน (Fur) และหนังไม่ติดขน
(Leather) นอกจากน้ียังเพิ่มเทคนิคย้อมสีและป๊ ัมลวดลายต่างๆ ลงบนหนังทาให้
อุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์เครื่องหนังมีการขยายตัวมากข้ึนทั้งปริมาณและคุณภาพ
หากแต่กระบวนการนี้มีจุดด้อยท่ีพึงระวัง เพราะในกระบวนการการผลิตมีจะโลหะหนัก
หลงเห ลืออยู่ ใน ส่วน ข องน้าท้ิ ง ท า ให้ต้องมี กา รควบ คุม ก ารบ าบัด น้า เสียจ า ก
อุตสาหกรรมเคร่ืองหนงั เปน็ พิเศษไม่ใหโ้ ลหะหนกั ไหลลงแหล่งน้าธรรมชาติ

ศูนย์วิจัยและพัฒนาผลติ ภณั ฑ์ปศุสตั วเ์ ชยี งใหม่

Leather Handmade

บทท่ี 2

โครงสร้าง
ของหนัง

หนัง คือส่วนท่ีปกคลุมช้ันนอก หนงั ช้นั นอก หรือหนังกาพร้า (Epidermis)
ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง ประกอบขึ้น เป็นช้ันหนังที่อยู่ด้านนอกสุด มีขนติดอยู่
จากเน้ือเย่ือเอ็กโทเดิร์ม (Ectoderm) มีส่วนประกอบทางเคมีที่สาคัญคือ โปรตีน
ซึ่งเป็นเนื้อเย่ือชั้นแรกที่ปกคลุมพื้นผิว ชนิดเคราติน (Keratin) โดยท่ัวไปมีความหนา
ของรา่ งกายตงั้ แตเ่ ร่ิมปฏิสนธิ ทาหน้าที่ ประมาณร้อยละ 0.5–2.0 ของความหนา
เปน็ ส่วนนอกหอ่ หุม้ และป้องกันกลา้ มเน้ือ ทั้งหมด ท้ังนี้แล้วแต่ชนิดของหนังสัตว์นั้นๆ
กระดูก เอ็น และอวัยวะภ า ยในท่ี อยู่ หนังช้ัน นี้จ ะมี กระ บวนก ารสร้า งเซลล์ใน
ภายในร่างกาย มีบทบาทสาคัญในการ ชั้นย่อยด้านในสุด และค่อยๆ ดันนออกไปสู่
ป ก ป้ อ ง ร่ า ง ก า ย จ า ก จุ ล ชี พ ก่ อ โ ร ค ช้ั น ย่ อ ย น อ ก สุ ด ซ่ึ ง จ ะ เ ป็ น เ ซ ล ล์ ที่ ต า ย แ ล้ ว
ป้ อ ง กั น ก า ร สู ญ เ สี ย น้ า เ ป็ น ฉ น ว น และจะหลุดลอกออกเป็นขไี้ คล
ป้ อ ง กั น อุ ณ ห ภู มิ ภ า ย น อ ก แ ล ะ ค ว บ คุ ม
อุณหภูมิภายในร่างกาย และรับความรู้สึก ห นั ง ชั้ น ก ล า ง ห รื อ ห นั ง แ ท้
หนังท่ีไดร้ บั ความเสียหายรุนแรงอาจเกดิ (Dermis/Corium) เป็นช้ันท่ีความหนาและมี
เนอ้ื เยอ่ื แผลเปน็ เมอ่ื แผลหาย ความยืดหยุ่น หนังช้ันนี้เป็นช้ันท่ีมีโปรตีน
เ ส้ น ใ ย ส า น กั น อ ยู่ อ ย่ า ง ห น า แ น่ น
โดยทั่วไปหนังประกอบด้วยน้า องค์ประกอบท่ีพบในชั้นหนังแท้คือ คอลลาเจน
ประมาณร้อยละ 65 โปรตีนประมาณ และอิลาสติน, เน้ือเย่ือเก่ียวพันซึ่งให้ความ
ร้อยละ 30 ส่วนท่ีเหลือประกอบด้วย แข็งแรง แ ละความ ยืดห ยุ่นแ ก่ผืน ห นั ง
ไขมัน คาร์โบไฮเดรต และเกลือแร่ นอกจา กน้ีหนั งช้ันนี้ ยังประกอบไป ด้วย
โดยสามารถแยกออกเป็นช้ันสาคัญ ต่อมเหงื่อ รูขุมขน แ ละ ประสาท สัม ผัส
ได้ 3 ชั้น คอื หนังชั้นนอก (Epidermis), ห นั ง ช้ั น น้ี มี ค ว า ม ห น า ป ร ะ ม า ณ ร้ อ ย ล ะ
หนังชั้นกลาง (Dermis) และหนังช้ันใน 95–98 ของความหนาของผิวหนังท้ังหมด
( Hypodermis) ซึ่ ง ใ น แ ต่ ล ะ ชั้ น จ ะ แ ล ะ เ ป็ น ส่ ว น ส า คั ญ ท่ี น า ถู ก น า ไ ป ฟ อ ก แ ล ะ
แบ่งเป็นชั้นย่อยๆอีกหลายชั้น และ ทาเปน็ ผลติ ภัณฑเ์ ครือ่ งหนงั แบบตา่ งๆ
มีต่อมต่างๆ อีกมากมาย เช่น ต่อม
เหง่ือ ต่อมไขมนั เป็นตน้ ซึ่งจะมหี นา้ ที่
แตกต่างกันออกไป

ศูนยว์ ิจยั และพัฒนาผลติ ภัณฑ์ปศุสัตวเ์ ชยี งใหม่

Leather Handmade PAGE 5

หนังช้ันใน หรือชั้นไขมั น (Hypodermis/Fleas) หม ายถึง หนังชั้น ล่างที่ติด
กล้ามเนอ้ื ประกอบด้วยเซลล์ไขมัน โปรตีนคอลลาเจน และหลอดเลือดต่างๆที่มาหล่อเลี้ยง
จานวนมาก ทาหน้าที่กักเก็บพลังงาน เป็นเหมือนเบาะกันกระแทกให้กับอวัยวะภายใน
โดยเฉลี่ยหนังช้ันในมีความหนาประมาณร้อยละ 1–5 ของความหนาของแผ่นหนังทั้งหมด
และเปน็ ชน้ั ท่ีตอ้ งกาจดั ออกในระหว่างการฟอกหนงั

ศูนยว์ ิจยั และพัฒนาผลติ ภณั ฑ์ปศุสัตว์เชยี งใหม่

Leather Handmade

บทท่ี 3 เมื่อลึกลงไ ปเส้นใยโปรตีนเส้นเดิมน้ี จะ มี
ข น า ด ใ ห ญ่ ขึ้ น ก า ร เ ก่ี ย ว พั น ข อ ง เ ส้ น ใ ย กั น ก็
ประเภทของ คลายตัวไม่แนน่ หนา (Corium) ทาให้เกิดเป็น
ชื่อหนังประเภทต่างๆตามคณุ สมบัติของหนัง
หนังฟอก ซง่ึ มคี ุณภาพและลกั ษณะการใชง้ านรวมไปถึง
ราคาท่ีตา่ งกัน ดงั นี้
การฟอกหนังสามารถแบ่งตาม
วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ ก า ร ใ ช้ ง า น ไ ด้ เ ป็ น หนัง Full Grain เปน็ การใช้หนัง Grain
2 ประเภท คือ การฟอกหนังแบบมีให้ ท้ังชั้นโดยคงสภาพผิวด้านบนไว้ ทาให้เกิด
ขนสตั ว์ติดอยู่ ซึ่งหนงั ทตี่ ดิ ขนจะเรียกว่า เป็นเอกลักษณ์ของผืนหนังตามริ้วรอยของ
Fur ซึ่ ง เ ป็ น วั ต ถุ ดิ บ ใ น ก า ร พั ฒ น า สัตว์ขณะมีชีวิต เช่น รอยป้ ัม รอยแผล
ประดิษฐ์ส่ิงของจาเป็นของมนุษย์ต้ังแต่ ผิ ว ข อ ง ห นั ง ก ลุ่ ม น้ี เ ป็ น ส่ ว น ที่ มี เ ส้ น ใ ย
ช่วงแรกเร่ิมประวัติศาสตร์ จนมาถึง ขนาดเล็กและเกี่ยวพันกันแน่นหนา ที่สุด
ยุ ค ปั จ จุ บั น เ ร่ิ ม มี ก า ร ต่ อ ต้ า น ก า รใ ช้ ทาให้เม่ือนามาทาผลิตภัณฑ์เครื่องหนังจะ
หนงั สัตว์ประเภทติดขนนี้โดยสมาคมและ สามารถระบายอากาศได้ดี กันน้าได้ดีกว่า
องค์กรต่างๆ เน่ืองจากการจะได้เสื้อขน หนังประเภทอ่ืนๆเป็นกลุ่มท่ีย่ิงใช้ย่ิงเงางาม
สัตว์สวย 1 ตัว ต้องใช้หนังจากสัตว์ถึง เป็นหนังท่ีมีความทนทานมาก จัดเป็นหนัง
40 ตวั คุณภาพสูงหากแต่มีข้อด้อยตรงความดิบ
เ ถ่ื อ น ข อ ง ห นั ง ไ ม่ เ รี ย บ ห รู พ อ ส า ห รั บ
ส่วนการฟอกหนังแบบไม่ติดขน กลุ่มลูกค้าส่วนใหญ่ที่เป็นสตรี หนังกลุ่มนี้
หรือ Leather ก็พั ฒนามาพร้อมกับ ได้แก่ หนัง Crazy horse หรือเรียกกันว่า
ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ข อ ง ม นุ ษ ย์ เ ช่ น กั น หนังคาวบอย เป็นหนังท่ีผ่านสีและ น้ายา
เน่ืองจากมนุษย์ยุคแรกเริ่มล่าสัตว์เป็น ม า บ้ า ง แ ต่แ ท บ ไ ม่ มีก า ร ขั ด ร้ิ ว ร อ ย ข อ ง
อา ห า ร ส่ วน ก า รท า ห นัง ฟอ ก ใ น ยุ ค หนังออก ทาให้ผลิตภัณฑ์เครื่องหนังที่ มี
อตุ สาหกรรมสมยั ใหม่น้ีผลิตจากหนังวัว ร้ิวรอยดั้งเดิมจากตัววัว เป็นที่ต้องการใน
ซึ่งส่วนผ ลพลอยได้จาก กา รบริโภค ก ลุ่ ม ลู ก ค้ า ท่ี เ ป็ น บุ รุ ษ ท่ี เ น้ น ก า ร ใ ช้ ง า น
เน้ือวัว โดยจะทาการแยกใช้งานไปตาม สมบุกสมบันมากกว่า และกลุ่มหนังฝาดท่ีมี
ส่วนของระดับผิวหนังซ่ึงมีโครงสร้าง การขัดหน้าผิวหนังออกเล็กน้อยอีกท้ังไม่
ของหนังท่ีแตกต่างกันในแต่ละชั้นย่อย ผ่านสแี ละนา้ ยาคงสภาพอืน่ ๆ ทาให้หนังฝาด
ของชั้นหนังแท้ (Dermis) โดยความ นอกจากจะย่ิงใช้ยิ่งเงาแล้วยังเก็บริ้วรอย
หนาแน่นของเส้นใยโปรตีนที่อยู่ชั้นบน การใช้งานลงบนตัวหนังทาให้ตัวผลิตภัณฑ์
ข อ ง ห นั ง จ ะ มี เ ส้ น ใ ย โ ป ร ตี น ท่ี เ ป็ น หนังฝาดสามารถบอกกล่าวเร่ืองราวของ
เส้นเล็กๆ เก่ียวพันกับเส้นใยช้างเคียง ผู้ใช้ไดด้ ้วย
อยา่ งหนาแน่น (Grain)

ศูนย์วจิ ยั และพัฒนาผลติ ภัณฑป์ ศุสัตวเ์ ชยี งใหม่

Leather Handmade PAGE 7

หนัง Top Grain เป็นหนังท่ีผ่านการเอาริ้วรอยต่างๆของหนังออกโดยการปาด
หรอื ขัด เพ่ือให้หนังมีความเรียบเสมอท่ัวท้ังผืนซึ่งเม่ือนาผิวชันนอกออกไปส่วนหนึ่งแล้วจึง
ต้องเพิ่มหนังส่วน Corium เข้ามาทดแทนความหนา หนังท่ีได้จะนิ่มขึ้นเป็นหนังที่นิยม
ทาผลิตภัณฑเ์ คร่ืองหนงั Hi-End ที่เปน็ แบรนด์เนมตา่ งๆ และเปน็ ท่ีช่ืนชอบของกลุ่มลูกค้า
ที่เป็นสตรีที่นิยมสะสมมากกว่าใช้งานจริง หนังกลุ่มนี้ย่ิงใช้ยิ่งเงาเหมือนกันแต่อาจไม่เท่า
กลมุ่ Full Grain อย่างเช่น หนัง Nubuk ที่มีการขัดผิวหน้าให้เสมอกันจากนั้นนาไปป่ ันให้
เสน้ ใยผิวหน้าแตกตัวเล็กน้อย ทาให้มีสัมผัสคล้ายกามะหยี่ หรือบางชนิดเพ่ิมการลงน้ามัน
ทาให้ความเงาแตก่ เ็ กิดริว้ รอยได้งา่ ยเช่นหนัง Oil Pull Up

หนงั Split หรอื Genuine leather เป็นหนงั ท่ีเหลือจากการเอาชนั้ Grain ออกไป
ทาให้ผิวสัมผัสมลี ักษณะเป็นปยุ ขนเล็กๆ คล้ายกามะหย่ี ซ่ึงสามารถนาไปฟอกย้อมละใช้เป็น
ผลติ ภณั ฑเ์ ครอื่ งหนงั พวกหนงั กลับตา่ งๆ ซึง่ สวยมองดูนุ่มนวลแต่ก็เก็บรอยเป้ ือนต่างเข้า
ไปในผิวง่ายดูแลรักษายาก หรอื นาหนงั ไปฟอกย้อมสีและนาไปอัดเป็นลวดลายหรือเพิ่มเป็น
ผิวสัมผัสต่างๆเพิ่มเติมแล้วเพ่ิมเคมีเพ่ือคงรูป เช่น ป้ ัมเป็นผิวกระ ป้ ัมเป็นลายผิวหนัง
จระเข้ หรอื เพ่ิมเคมีที่ทาให้เงางาม เรียกได้ว่าทาผลิตภัณฑ์เสร็จก็สวยเลยแต่หนังกลุ่มน้ีไม่
ทนทานการขัดสีเท่าสองกลุ่มแรกจึงไม่ขึ้นเงาเมื่อใช้ไปนานๆ อาจเกิดการถลอกของสีและ
พื้นผิวท่ีถูกป๊ ัมลายขึ้นมา แต่แม้จะคุณสมบัติจะไม่เทียบเท่าสองกลุ่มแรกแต่ก็ทนกว่าวัสดุ
ทดแทนหนังหรอื หนงั เทยี มหลายเทา่

ประเภทหนงั ฟอกในท้องตลาดปัจจบุ ัน

หนังฟอกทีน่ ิยมนามาใช้ทาผลิตภัณฑ์เครื่องหนังในปัจจุบัน มีท้ังหนังฟูลเกรน
ทอปเกรน และสปลิท ซึ่งมีความแตกต่างกันทั้งราคาของหนังคุณภาพ และความ
เหมาะสมกับการใชง้ าน ซ่งึ สง่ ผลไปถงึ ตัวผลติ ภณั ฑท์ ีใ่ ช้หนงั ประเภทนน้ั ๆ ดว้ ย

ศูนย์วิจยั และพัฒนาผลติ ภัณฑป์ ศุสตั วเ์ ชียงใหม่

Leather Handmade PAGE 8

หนงั Natural Vegetable Tanned เปน็ หนงั
ฟูลเกรนท่ีผ่านกระบวนการตกแต่งน้อยมาก ไม่มีการ
ลงน้ามันเป็นวัตถุดิบพ้ืนฐานสาหรับการทาผลิตภัณฑ์
เคร่ืองหนัง สามารถนาไปทาสีให้เป็นไปตามความ
ต้องการเน่ืองจากมีความสามารถดูดน้าและคราบต่างๆ
ได้ดี อีกท้ังตัวหนังเองสามารถเปล่ียนสีตาม อายุ
การผลิตเมื่อไม่ทาสีได้ ทาให้การทาผลิตภัณฑ์จากหนัง
ประเภทน้ีต้องทาด้วยความระมัดระวัง เพราะหนังจะ
ดูดซับเหงื่อจาการทางานและเลือดจากบาดแผลซ่ึง
แก้ไขไดย้ าก

หนงั Crazy Horse เปน็ หนงั ฟูลเกรนท่ีไมม่ กี าร
ตกแตง่ ผิวหน้า ทาให้ร่องรอยบนผิวหนังวัวขณะมีชีวิต
เช่น บาดแผล ตราประทับ ยังคงมีให้เห็นอยู่ หนังชนิดน้ี
จ ะ ดู ด ซั บ น้ า แ ล ะ น้ า มั น จ า ก ก า รใช้ ง า น ม า สะ สม ไ ว้
ผิวของห นั งจ ะ เข้ม ขึ้น แ ละ เกิด ควา ม มั น วา วท า ให้
ผลติ ภณั ฑด์ ูโดดเดน่ มากยิ่งข้นึ กว่าเดิม อีกท้ังเม่ือหนัง
ไ ด้ รั บ ก า ร ขู ด ขี ด แ ล้ ว จ ะ เ ป ล่ี ย น สี ต ร ง ร อ ย แ ผ ล
คุณสมบัติเหล่าน้ีทาให้ผลิตภัณฑ์มีร่องรอยไปตามการ
ใชง้ าน สร้างเรือ่ งราวใหแ้ ก่ผใู้ ชง้ าน

หนัง Cow Cracking Oil เป็นหนังฟู ลเกรน
เพิ่มกระบวนการ เคลือบผิว โดยการย้อมสีและป่ ันหนัง
ให้มสี ที ูโทนเป็นมันเงา แต่ยังมีความเป็นธรรมชาติของ
ผืนหนังด้วยน้ามันภายในช้ันหนังท่ีเคลือบไว้ หนังดู
หรูหราแต่ไมเ่ หมาะกบั การใชง้ านสมบุกสมบนั

ศูนยว์ จิ ยั และพัฒนาผลติ ภัณฑป์ ศุสัตวเ์ ชยี งใหม่

Leather Handmade PAGE 9

หนัง Oil Pull Up เปน็ หนังสว่ นที่ผ่านการฟอก
และย้อมด้วยวิธีเฉพาะ โดยการป่ ันผิวให้ไขมันในหนัง
แตกตัว ได้เป็นหนังท่ีมีลักษณะเฉพาะ มีความเงางาม
เหมือนมีน้ามันเคลือบผิว และน้ามันในหนังยังทาให้
หนงั ความชื้นได้ดกี ว่าหนังประเภทอื่น

ห นั ง Nappa เ ป็ น ห นั ง ท อ ป เ ก ร น ผ่ า น
กระบวนการฟอกด้วยโครม ทาการย้อมและพ่ นสี
โดยท่ัวไปมีผิวเรียบไม่มีการเคลือบเพ่ือให้หนังไม่แข็ง
เนอ้ื หนังจงึ มีความน่มิ คล้ายผ้า

หนัง Laminated split เป็นการใช้ประโยชน์
ข อ ง ห นัง ที่ผ่า น ก า ร ป า ด ผ ิว อ อ ก ไ ป ใ ช้แ ล ะ ยัง มีค ว า ม
ห น า พ อ น า ไ ป ฟ อ ก ย ้อ ม ม ีก า ร เ ค ล ือ บ ผ ิว ใ ห้
หน้าสัมผัสดูมันเงา หนังกลุ่มนี้แม้คุณภาพไม่สูงเท่า
กลุ่มอ่ืนแต่ก็ทนกว่าหนังเทียมหลายเท่า

ศูนย์วิจยั และพัฒนาผลิตภณั ฑป์ ศุสตั ว์เชยี งใหม่

Leather Handmade PAGE 10

หนัง Embossed Split เป็นหนังที่คล้ายกับ
Laminated split แต่เพ่ิมผิวสัมผัสการอัดลายนูนบน
ผืนผิว ให้เกิดสัมผัสท่ีไม่เรียบ เช่น ลายหนังช้าง
ลายหนงั จระเข้

หนัง Wet Blue เป็นหนังที่ฟอกทั้งขนด้วยโครม
โดยไม่มีการกาจัดขนออก เพ่ือรูปแบบการใช้ประโยชน์
แ ล ะ ค ง ค ว า ม ส ว ย ง า ม ข อ ง ข น สั ต ว์ ท่ี ติ ด อ ยู่ กั บ ห นั ง
เหมือนตอนท่สี ตั วย์ งั มีชีวิต

หนัง Lining หรือหนังซับ เป็นหนังชั้นสุดท้าย
ซ่ึงมีโครงสร้างไม่เหมาะสาหรับนาไปทา ผลิตภัณฑ์
ส่วนใหญจ่ ะถกู นาไปทาซับในในผลติ ภัณฑ์เครื่องหนงั

ศูนยว์ จิ ยั และพัฒนาผลติ ภัณฑป์ ศุสตั วเ์ ชยี งใหม่

Leather Handmade PAGE 11

หนัง Nubuck เป็นหนังทอปเกรนที่ฟอกแล้วนามาขัดผิวด้วยทราย จนผิวแสดง
เส้นใยออกมาในรูปแบบขนสั้นๆนุ่มๆลักษณะคล้ายกามะหยี่ (Velvet-like) ไม่เรียบมัน
เหมือนการปาดผิวหน้าหนังของหนังชนิดอ่ืน แล้วจึงนาไปย้อมสี เม่ือผ่านการใช้งานไป
สกั ระยะขนเหล่านจี้ ะคอ่ ยๆ เนียนข้ึน ผิวของหนังจะเรียบข้ึนและเงาขึ้น สีของหนังจะค่อยๆ
เขม้ ขึ้น หนังยังมีข้อเดน่ คือเกดิ รอยถลอกและรอยขูดขดี ได้งา่ ยแตว่ ่าก็หายไปในเวลาไม่นาน

หนัง Suede เปน็ หนังท่ใี ชป้ ระโยนชน์จากการเรยี งตวั ของหนงั ช้นั ลกึ ลงไปท่ีเสน้ ใยมี
ขนาดใหญ่ข้ึนมาและพันกันหลวมข้ึนมาทาการผ่านการขัดทราย คล้าย กับการผลิต
หนงั นูบัค แต่จะให้ผวิ สัมผัสทน่ี ่มุ และจะมีขนยาวกวา่ หนงั นูบัคพอสมควร ซ่ึงด้วยหนังกลับ
ท่มี ขี นคอ่ นขา้ งจะยาว จึงทาให้การดูแลรักษาและทาความสะอาดหนังประเภทนี้จะค่อนข้าง
ยุ่งยากเปน็ พิเศษ

การซอื้ ขายหนังสาหรับการซื้อปลีกโดยบุคคลทว่ั ไป

การฝอกหนังจะฟอกหนังในส่วนที่หุ้มลาตัว คอ โคนขา ไม่รวมส่วนหัว และ
สว่ นปลายขา หนงั ทผี่ ่านการฟอกแล้วจะใช้วิธีขายยกผืนท้ังตัวหรือคร่ึงตัว โดยหนังฟอก
ผืนละคร่ึงตัวจะมากจากการผ่าคร่ึงตามความยาวลาตัวคร่ึงตัว การคานวณราคาซ้ือขาย
สาหรับการขายปลีกแก่บุคคลท่ัวไป จะมาจากคุณภาพของหนังซ่ึงแตกต่างกัน ตาม
วิธกี ารฟอก ความหนาโดยเฉลี่ยของผืนหนัง และพ้ืนทีข่ องหนังซึ่งวัดขนาดเป็นตารางฟุต เช่น

หนังฟอกฝาดววั หนา 1.5 มลิ ลเิ มตร ตารางฟุตละ 90 บาท หนังมีพ้ืนที่ 19.52 ตารางฟุต
เปน็ เงิน = 1,756 บาท

การซ้ือนอกจากจะพิจารณาท่ีขนาดและราคาของหนังแล้ว ควรตรวจสอบ
ร่องรอยซ่ึงเป็นตาหนิต่างๆ เช่นรอยโหว่ที่เกิดจากขั้นตอนการเลาะหนังที่ไม่ประณีต
ตาแหน่งเส้นเลือดและรอยยับตามข้อพับเดิมของตัวสัตว์ ร่องรอยบาดแผลท่ีเกิดขณะ
ที่สัตว์ยังมชี วี ติ ไปจนถึงร่องรอยการขดู ขดี จากการขนส่งและเกบ็ รักษาหนงั ฟอก

ซง่ึ โดยทวั่ ไปผนื หนังจะมีตาหนิเหล่านบี้ ้างไมม่ ากกน็ ้อย ซ่ึงรอยตาหนเิ ล็กๆสามารถ
หลบเลี่ยงท่ีจะไม่ใช้บริเวณเหล่านั้นได้ แต่หากมีเยอะหรืออยู่ในตาแหน่งท่ีสาคัญต่อการ
ออกแบบ กท็ าให้เสยี โอกาสในการใชป้ ระโยชนข์ องบริเวณน้นั ๆ ควรพิจารณาหนังผืนท่ีมี
ตาหนินอ้ ยทส่ี ุด เน่ืองจากตาหนเิ หลา่ นไ้ี มไ่ ดอ้ ยใู่ นการคานวณราคา

ศูนย์วจิ ยั และพัฒนาผลิตภณั ฑ์ปศุสตั วเ์ ชียงใหม่

Leather Handmade

บทท่ี 4 ความแตกต่างระหว่างการเย็บหนัง
ด้วยมอื กบั การเยบ็ ด้วยจักร
การเยบ็ หนงั

ด้วยมอื

Saddle Hand

stitch

การเย็บหนังด้วยมือโดยใช้เข็ม
เยบ็ สองเล่มวิง่ ไขว้กันนี้ เป็นเทคนิคการ
เย็บมือท่ีใช้กันท่ัวไปในหมู่ช่างทาอานม้า
ย้อนไปตั้งแต่สมั ยคริสต์ศักราช 365
ตามหลักฐานทางโบราณคดี ซ่ึงเป็นไปได้
ว่าการเย็บอานม้าอาจจะมาก่อนหน้านี้
จึงเปน็ นิยามของการเย็บตะเข็บพื้นฐาน
ข อ ง ก า ร ท า ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ เ ค รื่ อ ง ห นั ง ใ น
เวลาต่อมา

ตะเข็บอานม้าและตะเข็บที่ทาโดย
จัก รเย็บมี ควา ม แต ก ต่า งกัน ในท า ง
เทคนคิ การเย็บตะเข็บโดยใช้จักรเย็บจะ
ใช้เข็มส่งด้ายแทงผ่านหนังไป ไขว้กับ
ดา้ ยจากอีกด้านเพื่อ "ล็อค" ตะเข็บให้เข้าที่
แล้วดึงเข็มและด้ายเส้นเดิมออกไปแพ
ย้ายไปตะเข็บใหม่ ผลลัพธ์ท่ีได้คือด้าย
ด้านบนที่อยู่ฝ่ ังตัวจักร ก็จะอยู่ด้านบน
ต ะ เ ข็ บ ข อ ง ช้ิ น ง า น ต ล อ ด ก า ร เ ย็ บ
เ ช่ น เ ดี ย ว กั บ ด้ า ย ด้ า น ล่ า ง ที่ จ ะ อ ยู่
ด้ า น ล่า ง ต ะ เข็บ ข องช้ิ น งา น เช่น กั น
ในทางกลับกันตะเขบ็ อานม้า จะแทงเข็ม
สองเล่มพาด้ายว่ิงไขว้กันสลับกันไปมา
ง่ายๆเป็นรูปแบบพื้นฐานท่ีสุดสาหรับ
งานเย็บผลติ ภณั ฑจ์ ากหนงั

ศูนยว์ ิจัยและพัฒนาผลิตภณั ฑป์ ศุสตั วเ์ ชียงใหม่

Leather Handmade PAGE 13

หลังจากตอกหนังทาแนวตะเข็บเย็บพร้อมแล้ว ให้สอดเข็มเข้ารูหน้าของรูที่เป็น
จุดเริ่ม 1 รู ดึงเข็มและปลายด้านท้ังสองด้านให้เท่ากัน จากนี้จะแสดงความต่างด้วยด้าย
สองสี แทนด้ายเส้นบนด้วยด้ายสีน้าตาล และเส้นล่างด้วยด้ายสีขาว นาด้ายเส้นบนแทง
ยอ้ นกลับไปทีจ่ ุดเริม่ ตน้ 1 ตะเขบ็

ศูนยว์ จิ ยั และพัฒนาผลติ ภัณฑป์ ศุสตั วเ์ ชียงใหม่

Leather Handmade PAGE 14

พ ลิ ก ด้ า น ล่ า ง ขึ้ น ม า ดึ ง ด้ า ย เ ส้ น บ น ใ ห้ ตึ ง ต า ม แ น ว ท แ ย ง ข อ ง รู รู ป ข น ม เ ปี ย ก ปู น
แล้วแทงด้ายเส้นล่างสวนข้ึนไป โดยการดึงด้ายเส้นบนไปตามแนวทแยงนั้นจะช่วย ให้
การแทงด้ายเส้นล่างกลับข้ึนไปทาได้สะดวกขึ้นและไม่แทงเข้าไปในด้ายเส้นบนซ่ึงจะทา ให้
รอยเยบ็ ไมส่ วยและเส้นด้ายไมแ่ ขง็ แรง

จากน้ันเดินด้ายไปข้างหน้าต่อไปโดยให้เริ่มจากการแทงด้ายท่ีอยู่ด้านบนลงไป
ก่อนทุกครั้ง แล้วค่อยสวนด้ายเส้นล่างขึ้นมา ทุกครั้งท่ีมีการสวนกันเสร็จแล้วควรกัน
ดงึ ดา้ ยท้ังสองฝ่ งั ใหก้ ระชบั แต่ไมต่ งึ จนหนงั รน่ ความยาวเข้ามา ทาการเย็บต่อต่อไปตาม
แนวตอกรตู ะเข็บแต่ละรดู ้วยแรงดึงท่ีเท่าๆ กัน

ศูนยว์ ิจยั และพัฒนาผลิตภัณฑป์ ศุสตั วเ์ ชยี งใหม่

Leather Handmade PAGE 15

เมื่อมาถึงเย็บมาถึงจุดสุดท้ายท่ีต้องการ ให้ทาการเย็บย้อนกลับไปหน่ึงตะเข็บ
จากน้นั นาดา้ ยเสน้ บนที่เหลอื อยู่แทงลงไปเพ่ือซอ่ นด้านล่างอกี คร้ัง

เมอ่ื มองจากด้านบนของช้ินงานจะเห็นว่าด้ายทัง้ สองหลบลงไปอยู่ด้านล่าง จากน้นั
พลิกด้านล่างขึ้นมาตัดด้ายและลนด้ายทั้งหมดด้วยไฟเช็คเพื่อให้ไขในด้ายละลายมาเชื่อม
กนั ทาให้แนวด้ายทเี่ ย็บแนน่ และทนย่งิ ข้ึน

ศูนย์วจิ ยั และพัฒนาผลิตภัณฑป์ ศุสตั วเ์ ชยี งใหม่

Leather Handmade PAGE 16

การตอกหนังเพ่ือทาแนวตะเข็บเยบ็

การเย็บหนังแบบอานม้าจะค่อนข้างเรียบง่าย ผู้ทาท่ีมีความชานาญก็ใช้เวลาไม่นาน
ในการเย็บ แตก่ ระบวนการในการทาแนวตะเข็บสาหรับเย็บกลับใช้เวลานานกว่านั้นหลายเท่า
โดยพ้ืนฐานคือการใช้ส้อมตอกหนัง (Chisel) ซ่ึงจะเจาะรูตะเข็บหนังให้ต่อกันเป็นแนวเย็บ
ตามท่ีกาหนดไว้ ซึ่งตัวส้อมตอกหนังเองก็มีหลากหลายทั้งประเภทรูปแบบของปลายส้อม
ความถี่ระหว่างซ่ี และปริมาณซี่ของส้อม ซึ่งจะมีรูปแบบการใช้งานที่เหมาะสมต่างกัน
เช่น จานวนซี่ของส้อมยิ่งเยอะก็จะย่ิงง่ายต่อการตอกแนวเย็บให้ตรง ขณะที่ส้อมซี่เดี่ยว
หรอื สองซ่กี เ็ หมาะกบั การตอกเป็นเสน้ โค้ง สว่ นรปู แบบปลายส้อมกจ็ ะเป็นตัวกาหนดรูปแบบ
ตะเข็บเยบ็ เชน่

ส้อมตอกหนงั แบบกลม (Round hole chisel) ซึง่ ปลายส้อมแต่ละซจี่ ะคลา้ ยกบั
เหล็กตอกเจาะรู (ตุ๊ดตู่) ตอกหนังขนาดเล็กมาเรียงกัน โดยจะเป็นการตัดหนังให้เป็น
รูกลมขาดเล็ก และมีช่องระบายเศษหนังท่ีตัดออก ปลายส้อมชนิดน้ีใช้งานสะดวก
สามารถผลิกหนงั ตอกได้ทัง้ ด้านหนา้ และด้านหลังช้ินงาน

ศูนย์วจิ ัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ปศุสัตวเ์ ชียงใหม่

Leather Handmade PAGE 17

สอ้ มตอกแบบหัวเพชร (Diamond hole chisel) ปลายส้อมตอกแต่ละซ่ีจะมีหน้า
ตัดเป็นรูปขนมเปียกปูน โดยเป็นการแทงคมลงในหนังแล้วแหวกหนังออกเป็นรูรูปทรง
ขนมเปียกปนู สอ้ มแบบนี้ตอกไดด้ า้ นเดียวไมส่ ามารถพลิกอีกด้านมาตอกตอ่ ได้

การสนเขม็ สาหรับเย็บหนงั

การสนเข็มสาหรบั เยบ็ หนงั จะแตกตา่ งจากการสนเข็มสาหรับเย็บผ้าเพราะด้ายและ
เขม็ จะตอ้ งตดิ กนั แน่นแต่ตอ้ งไม่มปี ม เนอื่ งจากจะทาให้การดึงด้ายผ่านฝีเข็มที่ตอกนาไว้ที่
หนังต้องใช้แรงมากขึ้น มีโอกาสท่ีด้ายจะขาดสูง อีกท้ังด้ายท่ีใช้เย็บงานหนังจะเป็นด้าย
เทยี นซง่ึ มไี ขเคลือบไว้ในตัว โดยไขนี้จะมีประโยชน์มากเมื่อละลายจากความร้อนและการใช้
งานโดยจะเป็นตัวเช่ือมให้การเย็บงานหนังมีความแข็งแรงย่ิงขึ้น นอกจากนี้ยังกันน้าได้ด้วย
โดยดา้ ยเทียนจะมขี นาดและความแขง็ แรงต่างกันไปเพ่ือความเหมาะสมในการนาไปใช้งาน
โดยแบง่ เปน็ เบอร์ตา่ งๆ ดงั นี้
ด้ายเทยี นเบอร์ 4 เส้นผา่ ศูนย์กลาง .45 มลิ ลเิ มตร รับแรงดงึ ได้ 4.54 กโิ ลกรมั
ดา้ ยเทยี นเบอร์ 3 เสน้ ผ่าศูนย์กลาง .51 มลิ ลิเมตร รับแรงดงึ ได้ 6.35 กโิ ลกรมั
ด้ายเทยี นเบอร์ 2 เส้นผา่ ศูนยก์ ลาง .76 มลิ ลเิ มตร รบั แรงดงึ ได้ 13.61 กิโลกรัม
ด้ายเทยี นเบอร์ 1 เส้นผา่ ศูนย์กลาง .86 มลิ ลเิ มตร รับแรงดงึ ได้ 19.50 กโิ ลกรัม

ศูนยว์ ิจัยและพัฒนาผลิตภณั ฑป์ ศุสตั ว์เชียงใหม่

Leather Handmade PAGE 18

การเลอื กด้ายเทยี นในขนาดท่ีแตกต่างกันของด้ายเทียนสง่ ผลถงึ รูปแบบรอยตะเข็บ
และตัวผลิตภณั ฑ์ ท้ังความสามารถในการรับแรงดึงของเส้นด้าย และขนาดของเส้นด้ายท่ี
ทาใหต้ ะเขบ็ เยบ็ เกิดความแตกต่างกนั แม้ว่าจะใช้ส้อมตอกแบบเดียวกัน และมีระยะระหว่างซ่ี
ที่เท่ากัน

ในรปู เปน็ การแสดงความแตกต่างของการใชด้ า้ ยเทยี นตา่ งกนั เย็บในแนวตะเข็บ
เย็บแบบเดียวกัน โดยแถวบนคือแนวตะเข็บตอกโดย ส้อมตอกปลายไดมอนด์ระยะห่าง
ระหว่างซ่ี 5 มลิ ลเิ มตร แถวท่ีสองคือตะเขบ็ ทเ่ี ยบ็ ด้วยด้ายเทียนเบอร์ 3 และแถวล่างคือ
การเย็บดว้ ยด้ายเทยี นเบอร์ 2

การสนเขม็ ดว้ ยด้ายเทยี นสาหรบั เยบ็ หนงั

การสนเข็มสาหรับเย็บหนังจะเร่ิมจากสนด้ายเทียนผ่านรูเข็ม ใช้ด้ายเทียน
วนรอบเข็ม สองถงึ สามรอบแลว้ ใช้เข็มแทงทะลุผา่ นกลางช่วงปลายเส้นด้ายเทียนแล้ว
รดู ให้จุดทแี่ ทงดา้ ยเทียนทะลนุ ั้น ลงผ่านตัวเขม็ ลงไปอยู่ด้านท้ายเข็ม เกลียวด้ายเทียน
ที่พันเข็มไว้จะลงไปพันเกลียวกับด้ายเทียนท่ีใกล้รูเข็ม เมื่อมีการดึงเข็มขณะเย็บจะทา
ใหด้ ้ายไมไ่ หลหลุดจากเข็ม

ศูนยว์ จิ ัยและพัฒนาผลิตภณั ฑป์ ศุสัตว์เชียงใหม่

Leather Handmade PAGE 19

จากรูปเป็นการแสดงให้เห็นถึงความแตกต่างระหว่าง การร้อยเข็มแล้วแทงทะลุ
ปลายด้ายโดยตรงไปเลย กับการร้อยเข็มแล้วใช้ด้ายพันเกลียวกับตัวเข็มก่อนแทงทะลุ
ปลายด้าย

หลงั จากรูดจุดทแี่ ทงกลางเสน้ ดา้ ยผ่านตัวเข็มลงแล้วจะเห็นว่าเกลียวด้ายที่พัน
ไว้กับตัวเข็ม ขยับลงมาเป็นเกลียวอยู่ใกล้รูเข็ม ซ่ึงจะช่วยยึดไม่ให้ด้ายหลุดไหลจากรู
เข็มเม่ือมีแรงดึงจากการเย็บหนัง ซึ่งปกติจะใช้แรงมากกว่าการเย็บผ้าหรือวัสดุอื่น
ทว่ั ไป

ศูนย์วิจยั และพัฒนาผลิตภณั ฑป์ ศุสตั ว์เชยี งใหม่

Leather Handmade

บทท่ี 5 1. สีย้อมหนงั สูตรนา้ (Water Based)
เป็นสีย้อมหนังที่มีส่วนผสมของน้าเป็นหลัก
สีและ เน้ือสจี ะเคลอื บที่ชนั้ ผวิ ของหนังไม่ซมึ เข้าไปใน
การการย้อมสี ตัวหนัง เน้ือสีมีความนุ่มและยืดหยุ่นสูงเมื่อ
เครือ่ งหนงั แห้งสนิท ทาให้ปกปิดร้ิวรอยเล็กๆบนพื้นผิว
อั น เ กิ ด จ า ก ร อ ย ขี ด ข่ ว น ร อ ย ป า ก ก า
ค ร า บ ส ก ป ร ก ต่ า ง ๆ ไ ด้ ดี เ ป็ น สี ท่ี แ ห้ ง
ค่ อ น ข้ า ง ช้ า เ มื่ อ เ ที ย บ กั บ สี ย้ อ ม ห นั ง
สูตรแอลกอฮอล์ เหมาะกับงานซ่อมสีหนัง
แ ม้ จ ะ มี ก า ร ผ ลิ ต อ อ ก ม า ห ล า ย เ ฉ ด สี
หลายระดับความเงา แต่ต้องอาศัยความ
ช า น า ญ พ อ ส ม ค ว ร ใ น ก า ร ผ ส ม สี ใ ห้ ไ ด้
ใกลเ้ คียงกับสีเดมิ ของหนงั ท่จี ะทาการซ่อม

ห นั ง ที่ ผ่ า น ก ร ะ บ ว น ก า ร ฟ อ ก จ า ก
โรงงานส่วนให ญ่จะท ากา รย้อม สีตา ม
กรรมวิธีต่างๆ ตามประเภทของหนังที่
ต้องการ แต่สาหรับงานผลิตภัณฑ์เครื่อง
หนังท่ีเป็นงานทามือที่ช่างหนังจะใช้ทักษะ
ในการ ออกแบบ ตัดหนัง ย้อมสีหนัง
เ ย็ บ ชิ้ น ส่ ว น ห นั ง จ น ไ ด้ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ที่ เ ป็ น
งา น ฝี มื อนั้ น จ ะ นิ ยม ใช้ห นั งฟอก ฝา ด
(Natural vegetable tanned) ซึ่งเป็น
หนังที่ฟอกด้วยสารกลุ่มแทนนิน แต่ไม่มี
การย้อมสีหรือเคลือบด้วยสารเคมี ใดๆ
โ ด ย ช่ า ง ห นั ง จ ะ เ ป็ น ผู้ ท า ก า ร ย้ อ ม สี ห นั ง
ฟ อ ก ฝ า ด ใ น ก ร ะ บ ว น ก า ร ท า ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์
เครอื่ งหนงั ดว้ ยตวั เอง

สีย้อมหนังนอกจากจะใช้เปลี่ยนสี
ห นั ง ฝ า ด ที่ มี สี ข า ว อ ม ช ม พู เ ป็ น สี ต า ม
ต้อ ง ก า ร แ ล้ ว สี บ า ง ช นิ ด ยั ง ส า ม า ร ถ
กลบรอยขูดขดี บนผวิ ของหนังได้ สามารถ
ใชซ้ อ่ มแซมรอยสีถลอกและร่องรอยขูดขีด
บนผลิตภัณฑ์เคร่ืองหนังบางประเภทได้ดี
โดยสที ่นี ยิ มใช้แบ่งออกได้ตามสื่อทาละลาย
ของสี น้ันๆ รวม ถึงคุณสมบัติและกา ร
นาไปใชท้ แ่ี ตกต่างกัน ซ่ึงแบ่งได้ตามความ
นยิ มหลักๆ ได้ 4 ประเภท

ศูนย์วจิ ยั และพัฒนาผลิตภณั ฑป์ ศุสตั ว์เชยี งใหม่

Leather Handmade PAGE 21

2. สีย้อมหนงั สูตรแอลกอฮอล์ (Alcohol Based) เปน็ สยี อ้ มหนงั ท่ีจะซมึ ลงไปในหนงั
เมอื่ ทาสไี ปแลว้ จะไมก่ ลบลายหนงั และริว้ รอยบนหนงั ดูเป็นธรรมชาติ เหมาะกับการย้อมหนัง
ท่ีมีอัตราการดูดซึมสูง เช่น การย้อมสีหนังฟอกฝาด และการย้อมสีหนังกลับ หรือหนัง
ที่ต้องการคงความเป็นธรรมชาติ

3. สีย้อมหนัง สูตรออยล์ (Oil Based) เป็นสีย้อมหนังที่มีส่วนผสมของน้ามันอยู่
ในลักษณะของเนื้อครีม ใช้นวดลงไปบน หนังแล้วขัด เงา ต่อด้วยครีมขัดเงาหนัง
เพื่อให้หนังขึ้นเงาและขจัดครีมสีส่วนเกิน สีย้อมหนังประเภทจะช่วยให้สีของหนังสดใสข้ึน
หนังทเ่ี หมาะกับสปี ระเภทนี้ควรเปน็ หนังทีน่ ่มุ มีอัตราการดูดซึมสูงและมีสีเข้มเกือบดา อีกท้ัง
สีชนดิ นี้ยงั ช่วยเพิ่มความนมุ่ ใหห้ นังได้ดว้ ย

ศูนย์วจิ ยั และพัฒนาผลิตภัณฑ์ปศุสตั ว์เชยี งใหม่

Leather Handmade PAGE 22

4. สีทาขอบหนงั (Acrylic Based) เปน็ สพี ลาสติก แตส่ มี ีลักษณะนมี้ คี วามข้นเหนยี ว
และความยืดหยุ่นสูงมากกว่าสีสูตรน้า จึงนิยมนามาทาขอบหนังเพ่ือเก็บความเรียบร้อย
ของงาน สีทา ขอบห นังสา ม ารถก ลบ ร้ิวรอยบ นห นังไ ด้เหมือน สีย้อม หนังสูตร น้า
แต่เน่อื งจากสีมีความขน้ สูง สีจะดูหนาไมเ่ ป็นธรรมชาติ

การยอ้ มสีหนงั ฟอกฝาด dyeing (natural vegetable tanned) leather

หนังฟอกฝาดเป็นหนังท่ีมีสีขาวอมชมพู ยังไม่ผ่านกระบวนการย้อมหรือเคลือบ
สามารถนามาทาผลิตภัณฑ์ได้เลยแล้วปล่อยให้สีเข้มขึ้นตามธรรมชาติเอง หรือทาย้อมสี
หนังให้ได้สีตามต้องการ ส่วนวิธีการย้อมหนังสามารถทาได้ทั้งการทาสีหนัง การชุบย้อมหนัง
และการพ่นสีหนังข้ึนอยู่กับความข้นเหนียวของสีย้อมหนังแต่ละชนิด และรูปแบบของตัว
ผลิตภัณฑ์ท่ีจะทา ซึ่งสีท่ีนิยมนามาย้อมหนังฟอกฝาดจะเป็นสีสูตรแอลกอฮอล์ (alcohol
based) เนื่องจากสีจะซึมลงในเน้ือหนัง ซ่ึงที่วิธีท่ีนิยมกันมีดังน้ีเหมาะกับสีที่แห้ง ช้า
เช่น สีสูตรน้าและสอี ครลี คิ

กอ่ นทาการลงสีนน้ั หนงั ฝาดตอ้ งสะอาดปราศจากคราบไขมัน สิ่งสกปรก แป้งหรือ
สงิ่ ปลอมปนอนื่ ๆ เนอื่ งจากหนังฝาดทีน่ ามาจาหน่ายน้ัน มกี ารแปง้ เผ่ือกลบรอยตาหนิต่างๆ
หรืออาจมีส่ิงปนเป้ ือนต่างๆ ติดมากับผิวของหนัง โดยใช้ฟองน้าชุบด้วยน้าสะอาด
ถเู พื่อขจัดสง่ิ แปลกปลอมให้หลุดออก จากนัน้ ทิ้งไวใ้ หแ้ ห้ง

ก่อนทาการลงสนี น้ั หนังฝาดต้องสะอาดปราศจากคราบไขมัน สิ่งสกปรก แป้งหรือ
สิ่งปลอมปนอ่นื ๆ เนื่องจากหนังฝาดทนี่ ามาจาหนา่ ยนน้ั มีการแปง้ เผ่ือกลบรอยตาหนิตา่ งๆ
หรืออาจมีส่ิงปนเป้ ือนต่างๆ ติดมากับผิวของหนัง โดยใช้ฟองน้าชุบด้วยน้าสะอาด
ถเู พ่ือขจัดสงิ่ แปลกปลอมให้หลุดออก จากนน้ั ทิ้งไวใ้ ห้แห้ง

ศูนย์วจิ ัยและพัฒนาผลติ ภณั ฑ์ปศุสัตวเ์ ชยี งใหม่

Leather Handmade PAGE 23

การทาสี เป็นการย้อมสีหนังโดยการทาสีหรือเรียกตามลักษณะการทาว่าการวนสี

เป็นวิธีการพื้นฐานโดยใช้อุปกรณ์การย้อมที่มีคุณสมบัติอุ้มสี ไม่ยุ่ยเม่ือถูกของเหลว
สีไม่ตกและไม่ละลายเมื่อถูกสี เช่น ขนแกะ ฟองน้า แปรงหรือผ้านิ่ม ท่ีมีขนาดที่เหมาะสม
มาจุม่ ในสีให้ชุ่ม เร่ิมลงสีในจุดใดจุดหน่ึงวนเป็นก้นห้อย และขยายไปยังส่วนอ่ืนๆ การลงสี
ต้องลงอยา่ งเบามือไม่กดหรือขยี้ และไมช่ มุ่ เกินไปจนสีเยิ้มหรือขังบนผิวของหนัง การลงสี
แตล่ ะคร้ังตอ้ งรอให้สีทีล่ งไปครั้งกอ่ นแห้งกอ่ นทจ่ี ะลงทับ หากเป็นสีเข้มอาจลงเพียง 1–2 คร้ัง
ถา้ สีอ่อนอาจลง 3–4 คร้งั การลงสีซ้ามากเกินไปทาใหส้ ีเขม้ ขึ้นด้วย

การชุบสี เป็นการย้อมสีโดยการนาหนังชิ้นงานจุ่มลงไปในสีจนมิด การชุบนี้
เหมาะกับหนงั ท่เี ปน็ ช้นิ งานเล็กๆ หากชุบช้ินงานขนาดใหญ่ ภาชนะที่ใช้ก็จะมีขนาดใหญ่
ตามวิธีน้ีสีจะซึมเข้าทั้งด้านหน้าและด้านหลังของหนัง ทาให้ค่อนข้างส้ินเปลือง
แต่ช้นิ งานที่ย้อมจะเนียนเสมอกนั ทงั้ ช้ินงาน

ศูนยว์ ิจยั และพัฒนาผลติ ภณั ฑ์ปศุสัตว์เชยี งใหม่

Leather Handmade PAGE 24

การพ่นสี เป็นการย้อมสีโดยใช้อุปกรณ์พ่นสี เช่น แอร์บรัช วิธีนี้สีจะถูกขับโดย

แรงดันอากาศพ่นเป็นละอองสีเล็กๆ ไปติดกับหนังช้ินงาน จึงประหยัดสีกว่าวิธีอ่ืน
อกี ทง้ั สามารถใช้เทคนิคไลเ่ ฉดสี (Gradiation) บนชน้ิ งานเพื่อใหช้ นิ้ งานดูมมี ติ ไิ ดด้ ว้ ย

ข้อควรระวังในการย้อมหนัง
1. ควรใช้หนังคุณภาพดีในการนามาย้อม การใช้หนังเก่าและเก็บรักษาไม่ดีอาจเกิด
ปญั หาการยอ้ มไม่ติด หรอื สไี ม่เรียบเนียนสมา่ เสมอ
2. ข้นั ตอนทจ่ี ะการย้อมในการทาผลติ ภณั ฑ์ ซึ่งนิยมย้อมสหี นงั ก่อนการใส่ช้ินส่วนเสริมต่างๆ
เช่น กระดุม ห่วง หัวเข็มขัด ผลิตภัณฑ์บางอย่างย้อมสีหนังก่อนท่ีนาหนังมาเย็บเข้า
ด้วยกัน บางอย่างทาเสรจ็ แล้วคอ่ ยทาสี
3. หนังต้องแห้งและสะอาดก่อนการย้อม โดยการขจัดคราบไขมัน ผงแป้งหรือส่ิง
ปลอมปนอื่นๆ รวมถึงการระวังไม่ให้หนังเป้ ือนระหว่างการทาผลิตภัณฑ์ ซ่ึงสามารถ
เกิดไดจ้ าก เหง่ือ เลือดจาดบาดแผลของผทู้ า
4. คุมปรมิ าณสีในการยอ้ ม ระวังไม่ให้ให้สีหยดหรือเย้ิมบนผิวของหนัง ซ่ึงจะกลายเป็น
รอยดา่ งดวง สบี นชิน้ งานไม่สม่าเสมอ

ศูนยว์ ิจัยและพัฒนาผลติ ภณั ฑ์ปศุสัตวเ์ ชยี งใหม่

Leather Handmade

บทที่ 6 Emboss Stamp เป็นการป๊ ัมลวดลาย
บน ห นัง โ ดย ก าร ใ ช้ตั ว แม่ พิ มพ์ ก ดแ ช่ ลง ไ ป
การตอกหนงั บนแผ่นหนังที่อ่อนนมุ่ ด้วยการแชน่ า้ ให้เปยี ก
และเมื่อหนังแห้งแล้วจะแข็งขึ้น และทิ้ง
(Leather Stamp) ลวดลายไว้ ตัวแม่พิมพ์สามารถใช้ได้ท้ัง
ทองเหลือง หรือโลหะผสมท่ีใช้ในงานทา
ตรายาง วิธีน้เี หมาะกับการใชส้ ร้างลวดลาย
ให้ผลิตภัณฑ์จากหนังฟอกฝาด

การทาผลิตภัณฑ์จากเครื่องหนัง Embossing Machine Stamp
ส า ม า ร ถ ส ร้ า ง ต ร า สิ น ค้ า ห รื อ รู ป ต่ า ง ๆ เป็นการใชเ้ ครื่องจกั รสร้างแรงกดกระแทก
เ พื่ อ แ ส ด ง ตั ว ต น ข อ ง ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ใ ห้ แ ม่ พิ ม พ์ ถู ก ก ด ก ร ะ แ ท ก ล ง ไ ป ใ น
เ ช่ น สั ญ ลั ก ษ ณ์ ข อ ง สิ น ค้ า ร้ า น ค้ า แผ่นหนังแห้ง เหมาะกับการใช้งานที่เน้น
สั ญ ลั ก ษ ณ์ ข อ ง ห น่ ว ย ง า น ส ถ า น ท่ี ปรมิ าณงานและระยะเวลาในการทา
สั ญ ลั ก ษ ณ์ ข อ ง ตั ว ผู้ ผ ลิ ต เ อ ง ห รื อ
การเติมรูปร่างลวดลายเพ่ือสร้างความ
สวยงามเป็นเอกลกั ษณ์ โดยกระบวนการ
สร้า งล วด ลา ย ต่า งๆ นี้ มี ท้ั ง วิธีท่ี ใ ช้
เคร่อื งมอื เครื่องจักรทซ่ี บั ซ้อนไปจนถึงวิธี
ท่ี ใ ช้ เ ค รื่ อ ง มื อ ช่ า ง พ้ื น ฐ า น ง่ า ย ๆ
ซง่ึ เป็นไปตามลักษณะงานทีแ่ ตกต่างกัน

Hot Stamp เปน็ การป๊ มั ลวดลาย
บนหนั งโดยการให้ควา มร้อน กับตัว
แม่พิ มพ์ แล้วกดลงไ ปบนแ ผ่น หนั ง
ซ่ึ ง ส า ม า ร ถ ท า ไ ด้ ทั้ ง ก า ร ใ ห้ ค ว า ม ร้ อ น
แม่พิมพ์แล้วกดทาบด้วยมือ หรือใช้
เ ค รื่ อ ง ส า ห รั บ ก ด แ ล ะ ใ ห้ ค ว า ม ร้ อ น ท่ี
ส า ม า ร ถ เ ส ริ ม แ ผ่ น ฟอ ย ด์ ล ง ไ ป ใ ห้ เกิ ด
ความเงางามได้ ตัวแม่พิมพ์จะเป็นโลหะ
ท่ีทนความร้อน เช่นทองเหลือง วิธีน้ี
สามารถใชก้ บั หนงั ได้เกอื บทกุ ประเภท

Laser Stamp เป็นการสร้าง
ลวดลายลงบนหนังโดยการใช้เคร่ืองตัด
ยิงเลซอร์ ยิงสร้างรอยใหม้ที่ระดับผิว
ข อ ง ห นั ง โ ด ย ไ ม่ ท ะ ลุ ซึ่ ง ใ ช้ ต้ อ ง
เคร่ื อง มื อ เฉ พา ะ ใช้ ไ ด้ กับ ห นั งทุ ก
ประเภทรวมไปจนถงึ วสั ดุอนื่ ๆด้วย

ศูนย์วิจัยและพัฒนาผลิตภณั ฑป์ ศุสตั วเ์ ชยี งใหม่

Leather Handmade PAGE 26

Leather Carving เป็นการตอกลวดลายรูปทรงอิสระลงในหนังฝาด โดยการใช้
เหลก็ ตอกซ่ึงปลายท่ีมีรปู รา่ งแตกต่างกนั ตอกกดลงในหนงั ฟอกฝาดขณะเปียกเป็นรูปร่าง
ตามตอ้ งการ

Alphabet Stamp/Letter & Number Stamp เป็นการใช้เหล็กตอกท่ีส่วนปลาย
ทาตัวหนงั สอื หรือตัวอักษรโดยเฉาะ ตอกเรียงกนั จนกลายเป็นชอื่ หรือประโยคท่ตี อ้ งการ

ศูนย์วจิ ยั และพัฒนาผลิตภณั ฑ์ปศุสตั วเ์ ชียงใหม่

Leather Handmade PAGE 27

การออกแบบตราสัญลกั ษณ์

การออกแบบแม่พิมพ์สาหรับกดเพ่ือสร้างลวดลายบนแผ่นหนังหนัง ใช้หลักการ
เดียวกันกับการออกแบบตรายาง คือออกแบบเป็นรูปขาวดา ส่วนท่ีออกแบบเป็นสีดาคือ
ส่วนที่แม่พิมพ์ถูกกดลงไปเพื่อสร้างลวดลายตามที่ออกแบบ สาหรับการออกแบบสาหรับ
งานป๊ ัมลายหนังส่วนที่เป็นสีดาจะเป็นส่วนท่ีกดลงไปในพื้นผิว เกิดเป็นร่องลึกเกิดเป็น
ลวดลายตามท่ีออกแบบไว้ ซึ่งการออกแบบลวดลายท่ีมีลักษณะเป็นเส้น เช่น ตัวหนังสือ
หรอื รูปท่เี ปน็ เส้น สามารถทาการออกแบบโดยการทาตัวอกั ษรหรอื รปู เปน็ รูปขาวดาไดเ้ ลย

แต่หากต้องการรูปตราสัญลักษณ์ ในลักษณะที่รอบๆถูกกดและรูปท่ีต้องการไม่
ถูกกดจนดูเหมือนนูนออกมา ให้ทาการออกแบบโดยสลับสีดาและสีขาว ผ่านโปรแกรมต่างๆ
หรือโดยเคร่ืองถ่ายเอกสาร และหากรูปต้นแบบมีลวดลายท่ีมีความละเอียด มาก
อาจต้องมีการออกแบบส่วนที่จะต้องถูกกดให้จมและไม่กดใหม่ให้นูนลอยข้ึนมาใหม่
ทั้งหมด

ศูนยว์ ิจัยและพัฒนาผลิตภณั ฑป์ ศุสตั ว์เชยี งใหม่

Leather Handmade

บทท่ี 7

ขั้นตอนการทาปกสมุดปกหนัง

1.ทาความสะอาดแผ่นหนัง เพื่อขจดั ผงฝ่นุ แปง้ และคราบสกปรก

2.ทาการวัดหนงั แผ่นปกนอกขนาด 19.5 x 29 เซนติเมตร 1 ชนิ้ แผ่นในปก 19.5 x 11.5
เซนติเมตร 2 ชนิ้

ศูนย์วจิ ยั และพัฒนาผลติ ภณั ฑ์ปศุสัตว์เชยี งใหม่

Leather Handmade PAGE 29

3.ตัดหนงั ตามแบบท่ีวดั ไว้

4.นาชนิ้ สว่ นทั้ง 3 ชน้ิ ไปทาสี ท้ิงไวจ้ นแหง้

ศูนย์วิจัยและพัฒนาผลติ ภณั ฑ์ปศุสตั ว์เชยี งใหม่

Leather Handmade PAGE 30

5.นาส่วนปกนอกชุบน้าให้เปียกแล้วนาไปป๊ ัมตราสัญลักษณ์ด้วยวิธี Emboss Stamp
ในตาแหน่งที่ต้องการ

6.แกะตวั ป๊ มั ตราสัญลกั ษณ์ ท้งิ ไวจ้ นแหง้

ศูนย์วิจัยและพัฒนาผลติ ภณั ฑป์ ศุสตั ว์เชียงใหม่

Leather Handmade PAGE 31

7 นาปกนอกมาประกบกับในปกดว้ ยกาวยาง โดยทาบรเิ วณขอบที่จะทาการเยบ็ ประกบเท่าน้ัน

8.ขดี ทาแนวสาหรับตอกแนวตะเข็บ โดยใหแ้ นวตะเข็บเย็บ ขนานกบั ขอบหนงั ด้วยระยะหา่ ง
4 มลิ ลิเมตร

ศูนยว์ ิจัยและพัฒนาผลติ ภัณฑป์ ศุสตั วเ์ ชียงใหม่

Leather Handmade PAGE 32

9.ใช้สอ้ มตอกหัวเพชร (Diamond hole chisel) ทาตะเข็บสาหรบั เย็บ จะได้รตู ะเขบ็ ที่เปน็
ทรงเปยี กปูน

10.เยบ็ ตามแนวทต่ี อกไว้ ดว้ ยวธิ ีเยบ็ อานม้า (Saddle Hand stitch)

ศูนยว์ จิ ยั และพัฒนาผลติ ภณั ฑ์ปศุสตั วเ์ ชยี งใหม่

Leather Handmade PAGE 33

11.ทาปกหลังเช่นเดียวกนั จนครบหน้าหลงั

12.ตดั ตกแตง่ บริเวณมมุ ทั้งสีด่ ้าน ให้โคง้ มน

ศูนยว์ ิจัยและพัฒนาผลติ ภัณฑ์ปศุสัตวเ์ ชยี งใหม่

Leather Handmade PAGE 34

13.ใชเ้ หล็กขดู ขอบ ลบมมุ บริเวณรมิ ขอบหนงั แลว้ ใช้กระดาษทรายขัดตามใหข้ อบโค้ง
และเรียบเนยี นข้ึน

14.ใชน้ ้าผสมผง CMC ซึง่ มีลกั ษณะและคุณสมบัตคิ ลา้ ยกาวน้า ทาเคลือบบนขอบทข่ี ดั ไว้

ศูนย์วจิ ยั และพัฒนาผลติ ภณั ฑป์ ศุสตั ว์เชยี งใหม่

Leather Handmade PAGE 35

15.ใชไ้ ม้ขดั ขอบ ขัดรูดขอบหนงั ไปมาเร็วและแรงให้CMCอดั เข้ากบั ขอบหนังจนเป็นมันเงา

16.ใชส้ ที าขอบทาปดิ ขอบหนงั ทีข่ ดั จนเรยี บแล้ว

ศูนยว์ ิจยั และพัฒนาผลติ ภัณฑป์ ศุสัตวเ์ ชียงใหม่

Leather Handmade PAGE 36

17.ขัดขอบดว้ ยไม้ขดั ขอบอกี ครง้ั เบาๆ ให้ขอบเรยี บเนียนอกี คร้งั

18.ขดั เคลือบด้วยไข ซึง่ ช่วยปกปอ้ งหนังจากสง่ิ สกปรกและความช้นื

ศูนยว์ ิจัยและพัฒนาผลติ ภณั ฑป์ ศุสตั วเ์ ชียงใหม่

Leather Handmade PAGE 37

19.ประกอบกบั สมดุ โดย สอดปกสมดุ เขา้ ไป

ศูนย์วจิ ัยและพัฒนาผลิตภณั ฑ์ปศุสัตว์เชยี งใหม่

Leather Handmade PAGE 38

ศูนย์วิจยั และพัฒนาผลติ ภณั ฑป์ ศุสัตวเ์ ชียงใหม่

Leather Handmade PAGE 39

ศูนย์วิจยั และพัฒนาผลติ ภณั ฑป์ ศุสัตวเ์ ชียงใหม่

Leather Handmade

บทท่ี 8

การประกอบกระเปา๋ สตางค์
หนงั ฝาด

นาหนังซับมาพิจารณาเลือกด้านที่มีความเนียน และเรียบเสมอกว่าอีกด้านเล็กน้อย
ใหเ้ ป็นสว่ นทีจ่ ะมองเหน็ ไดแ้ ละไมท่ าการขีดหรือทาเคร่ืองหมายใดๆลงไป ตัดหนังซับสาหรับ
เป็นชน้ิ ส่วนด้านในของกระเป๋าสตางค์ตามแบบท่ีวางไว้ โดยทาเครื่องหมาย A B C D และ
E ตรงด้านในของช้ินส่วนซ่งึ เมอ่ื ประกอบเสรจ็ แล้วจะมองไมเ่ หน็

ศูนยว์ จิ ยั และพัฒนาผลติ ภัณฑป์ ศุสัตวเ์ ชียงใหม่

Leather Handmade PAGE 41

โดยแผ่น A จะเป็นแผ่นหลักของด้านในพับของกระเป๋าสตางค์ โดยมี B C และ D E
เปน็ ชอ่ งใสบ่ ตั รโดย ชอ่ งใสบ่ ัตร B C ซง่ึ อยทู่ างซ้ายจะเป็นการประกอบเย็บแบบวางเหลื่อม
สว่ นช่องใสบ่ ัตรทางขวา D E จะเป็นการประกบเยบ็ แบบวางซ้อน

1.นาแผ่น A ที่มีความกวาง 10 เซนติเมตร มาพับให้เหลือความกว้าง 8.5 เซนติเมตร
โดยทาเครื่องหมายและพับไปทางท่ีจะใช้เป็นด้านใน ทากาวด้วยกาวยาง พับให้แน่น
วัดแนวเส้นห่างจากขอบ 5 มิลลิเมตร สาหรับตอกส้อมตอกหนังเพื่อทาเป็นแนวเย็บ
จากน้ันเย็บให้เรียบร้อย โดยประคองหนังไปด้วย หากดึงด้ายแรงไปหนังจะร่นทาให้
ความยาวหดส้นั ลง

ศูนย์วิจัยและพัฒนาผลิตภณั ฑ์ปศุสัตวเ์ ชียงใหม่

Leather Handmade PAGE 42

2.ทาการวางแนวเย็บส่วน B C และ D E โดยวัดแนวและตอกส้อมตอกลงบนส่วน B C
โดยการวางแผ่น C เหลอื่ มซอ้ นกับแผ่น B จากน้นั นาไปทาบตาเหน่งบนแผน่ A แล้วตอกส้ิอมตอก
ลงไปซอ้ นแนวให้ตรงกนั สว่ นทางฝ่ ังขวา วัดแนวเส้นและตอกส้อมตอกลงบนแผ่น D ก่อนจะ
นาไปวางตาแหนง่ และตอกส้อมตอกซอ้ นทับแผ่น A และแผ่น E จากนั้นเย็บแผ่น B C และ E D
เข้ากับแผ่น A

3.ตัดหนังฝาดให้ได้ขนาดตามแบบ ซ่ึงจะสังเกตได้ว่าความยาวของหนังฝาดที่ อยู่
ดา้ นนอกจะมคี วามยาวกวา่ ส่วนหนังซับดา้ นในเล็กนอ้ ยเพราะหากเท่ากัน การพับกระเป๋า
สตางค์ขณะใช้งานจะโก่งไม่สวยนาหนังฝาดที่ตัดไว้ ทาความสะอาดและนาไปย้อมสีและ
ตอกหรอื ป้ มั ลายเป็นสญั ลกั ษณล์ งบนแผน่ หนังแผ่น

ศูนยว์ จิ ัยและพัฒนาผลติ ภณั ฑ์ปศุสตั วเ์ ชียงใหม่

Leather Handmade PAGE 43

4.ตัดหนังซับสาหรับติดหนังฝาดให้ได้ตามขนาด ทากาวยางให้ทั่วท้ังแผ่นหนังซับและ
ด้านในของหนงั ฝาดจากนนั้ ประกบกนั ใหส้ นทิ ทงิ้ ไว้ให้แหง้

5.นาหนังฝาดมาวดั แนวเส้นห่างจากขอบหนัง 5 มิลลเิ มตรให้รอบโดยเวน้ ส่วนกลางขอบ
ด้านล่างไวเ้ พื่อเป็นจดุ ขยับขณะพับของกระเป๋าสตางค์ เร่ิมจากขอบด้านบนของกระเป๋าสตางค์
ซึ่งจะเย็บเฉพาะส่วนของหนังฝาดไม่มีการประกบกับหนังซับ ตอกส้อมตอกหนังลงไป
ตามแนวจากน้ันนาไปทาบกับหนังซับให้ตรงกันโดยเริ่มทาบและตอดทีละฟาก เพื่อให้รอยเย็บ
ข อ บ ซ้ า ย ข ว า ข อ ง ห นั ง ฝ า ด แ ล ะ ห นั ง ซั บ ต ร ง กั น ทิ้ ง ช่ ว ง ท่ี เ ห ล่ื อ ม ทั บ กั น เ ว ล า พั บ ไ ว้
ตรงกลางของขอบล่าง

ศูนยว์ ิจยั และพัฒนาผลิตภัณฑ์ปศุสัตว์เชยี งใหม่

Leather Handmade PAGE 44

6.เย็บส่วนหนังฝาดกับหนังซับเข้าด้วยกันโดยเร่ิมจากขอบล่างของกระเป๋าสตางค์
ก่อนจากน้ันวนไปรอบๆจนครบตามท่ีตอกรูไว้ (เส้นสีเทา) โดยการวนซ้ายหรือขวาข้ึนอยู่กับ
ความถนัดของผู้ทา โดยให้ทาด้านแรกที่หนังฝาดและหนังซับประกบกันให้เสร็จก่อน
จากน้ันไล่ดา้ นบนซึ่งไม่มหี นงั ซบั ประกบ ทาไปเรื่อยๆจนถึงจุดที่จะมีการประกบกันอีกครั้ง
ดงึ หนงั ทั้งสองใหข้ อบและรูเยบ็ อย่ตู รงกนั จากนัน้ ทาต่อจนเสร็จ

7.ตกแต่งบริเวณมุมของกระเป๋าสตางค์โดยการลบเหล่ียมให้ดูโค้งมน โดยการตัดมุม
จะเป็นการกดใบมีดลงตรงๆตัดลบมุมไปทีละน้อย ไม่ควรกรีดใบมีดตัดเป็นเส้น โค้ง
ในครั้งเดียวเพราะการกรีดช่วงสั้นๆใกล้ขอบหนังที่ซ้อนทับกันจะทาให้หนังในแต่ละ ชั้น
มีรอยตัดของมีดไม่ตรงกันทาให้มุมไม่โค้งสวยและขอบไม่เรียบ ทาการขัดขอบให้เรียบ
ด้วยการไล่กระดาษทรายน้า ทาน้ายาขัดขอบ จากนั้นอาจทาสีทาขอบเพ่ิมเติมหรือ
ปลอ่ ยไว้กไ็ ด้

ศูนย์วิจยั และพัฒนาผลิตภัณฑ์ปศุสัตว์เชียงใหม่

Leather Handmade PAGE 45

ศูนย์วิจยั และพัฒนาผลติ ภณั ฑป์ ศุสัตวเ์ ชียงใหม่

Leather Handmade PAGE 46

การทาแนวเยบ็ บรเิ วณมมุ

การตอกแนวเยบ็ ให้บริเวณมุมสามารถตกแต่งเป็นรูปโค้งมนน้ัน รูเย็บไม่ควรอยู่
บนจุดตัดของมุมฉาก แต่ควรหา่ งออกจากจดุ ตดั มมุ ฉากสกั ครึ่งหนง่ึ ของความห่างของ
ซ่ีส้อมตอก เมอ่ื เย็บแลว้ แนวเยบ็ จะดูเหมอื นถกู ตัดออกเปน็ มมุ 45 องศา

จากน้ันทาการตัดโดยการกดมีดลงตรงๆไม่กรีดเฉือนเพราะหนังจะเคล่ือนตาม
แรงมีดไม่เท่ากันทาให้รอยตัดไม่เสมอ การกดตัดครั้งแรกให้แนวมีดขนาดรอยเย็บ
ท่ีทามุม 45 องศาก่อน จากนั้นกดตัดตกแต่งมุมที่เกิดจากการตัดรอบแรกอีกคร้ัง
วิธีนี้จะทาให้ง่ายต่อการขัดกระดาษทรายตกแต่งลบมุมท่ีเหลือให้โค้งมนย่ิงขึ้นและ
งา่ ยต่อการทาสบี รเิ วณขอบหนงั อีกครงั้

ศูนยว์ จิ ยั และพัฒนาผลิตภัณฑป์ ศุสัตวเ์ ชียงใหม่

Leather Handmade

บทที่ 9

กระเปา๋ ใส่บัตร

(หนังแพะฟอกฝาดดว้ ยกากกาแฟ)

ทาการวดั และตดั หนังออกตามแบบโดย A และ B เป็นหนังแพะฟอกฝาดด้วยกากกาแฟ
ซงึ่ ไมจ่ าเปน็ ตอ้ งใชห้ ากตอ้ งการทาเป็นหนังฟอกฝาด C D E F และ G เป็นหนังฝาดวัว
1.2 มลิ ลเิ มตร

ศูนย์วิจัยและพัฒนาผลิตภณั ฑป์ ศุสัตว์เชียงใหม่

Leather Handmade PAGE 48

ประกบ A เขา้ กบั C และ B เข้ากบั D ดว้ ยกาว
จบั ค่ปู ระกบกนั ตามภาพ วดั และทาการตอกแนวเย็บท้งิ ไว้ ทีละคู่
เร่มิ เย็บประกบคทู่ ี่มีแนวเย็บดา้ นในกอ่ น คือคู่ F และ H กับคู่ E และ G
เยบ็ ประกบคู่ท่ีมแี นวเยบ็ ขอบนอก คือคู่ A+C กบั E คู่ B+D กบั F และคู่ G กับ H

ศูนยว์ จิ ัยและพัฒนาผลิตภัณฑป์ ศุสตั ว์เชยี งใหม่


Click to View FlipBook Version