Chapter 7
การจัดการคลังสินค้า และ
สนิ ค้าคงคลัง
(Inventory and Warehouse Management)
คลังสินค้า (Warehouse)
คลงั สนิ ค้า เป็นสถานท่ีจดั เก็บสนิ ค้า ซงึ่ เป็นหนงึ่ ในกระบวนการ
จดั การ Logistics เป็นจดุ พกั จดั เก็บกระจายการจดั สง่ สินค้า หรือ
วัตถุดิบ ทัง้ ในส่วนของการบริหารการจัดการพืน้ ที่การบริหาร
สนิ ค้าคงคลงั การบริหารการจดั เก็บ
ตาแหน่งของคลังสินค้า
(Warehouse Location)
จุดกาเนิด จุดบริโภค
ผู้ผลติ คลังสินค้า ผู้บริโภค
กจิ กรรมหลักของการคลงั สนิ ค้า
(Warehouse Activities)
1. งานรับสนิ ค้า (Goods Receipt)
2. การตรวจพสิ ูจน์ทราบ (Identify Goods)
3. การตรวจแยกประเภท (Sorting Goods)
4. งานจดั เกบ็ (Put Away)
5. งานดแู ลรักษาสินค้า (Holding Goods)
กจิ กรรมหลักของการคลังสนิ ค้า
(Warehouse Activities) (ต่อ)
1. งานจดั ส่งสนิ ค้า (Dispatch Goods)
2. การนาออกจากท่เี ก็บ (Picking)
3. การจัดส่ง (Shipping)
4. การส่งผ่านสินค้าคงคลัง(Cross Docking)
กจิ กรรมในคลังสินค้า
การรับของ (Receiving) 15%
การจดั เก็บ (Storing) 15%
การเบกิ จ่ายหรือการเลือก
หยบิ (Picking) 20%
การจดั ส่ง (Shipping) 50%
ท่ีมา: TANIT SORAT
การออกแบบสินค้าคงคลัง
1. ค้นหาข้อมลู ท่ีต้องการ ชว่ ยในการคานวณพืน้ ท่ีใช้สอยท่ี
ต้องการ
ประเมินความต้องการของสตอ็ กสนิ ค้า
ขนาดหีบหอ่ บรรจภุ ณั ฑ์ และระดบั ความสงู แตล่ ะชนั้
ขนาดและนา้ หนกั ของสินค้าตอ่ หน่วยในการจดั เก็บ
2. ตวั แปรในการออกแบบคลงั สินค้า ควรคานงึ ถึงการ
ปฏิบตั ิงานระบบโลจิสตกิ ส์ภายในอาคาร
วัตถุประสงค์ของการจัดการคลังสินค้า (Objective of
Warehouse Management)
1.ลดระยะทางในการปฏิบตั กิ ารในการเคลอ่ื นย้ายให้มากท่ีสดุ
2.การใช้พืน้ ที่และปริมาตรในการจดั เก็บให้เกิดประโยชน์สงู สดุ
3.สร้างความมนั่ ใจวา่ แรงงาน เคร่ืองมือ อปุ กรณ์ สาธารณปู โภค
ตา่ งๆ มีเพียงพอและสอดคล้อง กบั ระดบั ของธรุ กิจท่ีได้วางแผนไว้
วัตถุประสงค์ของการจดั การคลังสินค้า (Objective of
Warehouse Management) (ต่อ)
4.สร้างความพงึ พอใจในการทางานในแตล่ ะวนั แกผ่ ้เู กี่ยวข้องใน
การเคลื่อนย้ายสนิ ค้า ทงั้ การรับเข้าและการจ่ายออก โดยใช้
ปริมาณจากการจดั ซอื ้ และความต้องการในการ จดั สง่ ให้แก่
ลกู ค้าเป็นเกณฑ์
5.สามารถวางแผนได้อย่างตอ่ เนื่อง ควบคมุ และรักษาระดบั การ
ใช้ทรัพยากรตา่ งๆ เพ่ือให้เกิดการบริการภายใต้ต้นทนุ ท่ีเกิด
ประสทิ ธิภาพค้มุ คา่ ในการลงทนุ ตามขนาดธรุ กิจท่ีกาหนด
พนั ธกิจของการจดั การคลังสินค้า
(The Mission of a warehouse)
• คลงั สนิ ค้าชว่ ยสนบั สนนุ การผลติ (Manufacturing support
• คลงั สนิ ค้าเป็นที่ผสมผลติ ภณั ฑ์ (Mix warehouse)
• คลงั สินค้าเป็นที่รวบรวมสนิ ค้า (Consolidation warehouse)
• คลงั สนิ ค้าใช้ในการแบง่ แยกสินค้าให้มีขนาดเลก็ ลง
(Break Bulk warehouse)
กลยุทธ์การเลือกทาเลท่ตี งั้ ของคลังสนิ ค้า
มี 3 ประเภท ดงั นี้
1. กลยทุ ธ์ทาเลทต่ี งั้ ใกล้ตลาด (Market-positioned
Strategy)
2. กลยทุ ธ์ทาเลทต่ี งั้ ใกล้แหลง่ ผลติ (Production-
positioned Strategy)
3. กลยทุ ธ์ทาเลท่ีตงั้ อย่รู ะหวา่ ง (Intermediately-
positioned Strategy)
ประเภทของคลังสินค้าแบ่งตาม
ลักษณะทางกายภาพ
1.คลงั สนิ ค้าที่มิดชิด มกี าแพง เพดาน และประตู ได้แก่
คลงั สนิ ค้าทวั่ ไป
2.คลงั สนิ ค้าทีม่ แี ตห่ ลงั คา แตไ่ มม่ ีผนงั
3.คลงั สินค้ากลางแจ้ง
4.คลงั สินค้าท่เี ป็นถงั (Tank)
5.คลงั สนิ ค้าเคล่ือนทไ่ี ด้
6.คลงั เก็บข้อมลู อิเลก็ ทรอนิคส์
ประโยชน์ของคลังสนิ ค้า
- เพ่ือสนับสนุนการผลิต (Manufacturing Support) เช่น คลังวัตถุดบิ
และวัสดุสนิ้ เปลืองของโรงงานผลติ สนิ ค้า
- เพ่ือแยกหีบห่อ (Break bulk) เช่น ศูนย์แบ่งบรรจุสนิ ค้า
- ทาให้ต้นทุนของสนิ ค้าลดลง
- สามารถผลติ ได้ในปริมาณเกนิ กว่าความต้องการตามฤดกู าล
- ช่วยเกบ็ พกั สนิ ค้าช่ัวคราวท่จี ะต้องส่งออกไปต่างประเทศอีกต่อหน่ึงในลักษณะของ
Re-Export
- ช่วยให้ได้สินค้านัน้ ๆ ได้ทันตามความต้องการ
การบริหารจัดการคลังสินค้าอย่างมมี าตรฐาน
(Inventory and warehouse management)
อาศยั ระบบการทางานท่ีมี คณุ ภาพ มีระบบเทคโนโลยี
อปุ กรณ์เครื่องมือทที่ นั สมยั และบคุ ลากรท่ีเป็นมืออาชีพ
1. ปริมาณสินค้าคงคลังท่เี หมาะสม
ลดความเสี่ยงจากความแปรผนั ของอปุ สงค์และอปุ ทานของ
การดาเนินงานระหวา่ งหนว่ ยงานตา่ ง ๆ
การบริหารจัดการคลังสนิ ค้าอย่างมมี าตรฐาน
(Inventory and warehouse management)(ต่อ)
2. นโยบายการวางแผนการทางานขององค์กร
3. แนวทางในการกาหนดกลยุทธ์ในการสตอ็ กสินค้า
สามารถผลิตสินค้าเพียงพอและตอบสนองความ
ต้องการของลกค้าได้
4. ใช้พนื้ ท่ีให้เกดิ ประโยชน์สูงสุด
5. ต้นทุนต่า
สินค้าคงคลัง (Inventory)
• สินค้าคงคลงั จึงหมายถึงวสั ดหุ รือสินค้าต่างๆที่เก็บไว้เพ่ือใช้
ประโยชน์ในการดาเนินงาน อาจเป็ นการดาเนินงานผลิต
ดาเนินการขายหรือดาเนินงานอ่นื ๆ
• ส่วนการจดั การสินค้าคงคลงั (Inventory Management)
หมายความถึง การเก็บทรัพยากรไวใช้ในปัจจุบนั หรือในอนาคต
เพ่ือให้ การดาเนินการของกิจการดาเนินไปอย่างราบร่ื นผ่านการ
วางแผนกาหนดปริมาณสนิ ค้าคงคลงั ท่ีเหมาะสม
วัตถุประสงค์ของการบริหารสินค้าคงคลัง
(Purpose of Inventory Management)
การบริหารสนิ ค้าคงคลังมีวัตถุประสงค์หลักอยู่ 2 ประการ
ใหญ่ คือ
1. สามารถมีสนิ ค้าคงคลงั บริการลกู ค้า ในปริมาณที่เพียงพอ
และทนั ตอ่ ความต้องการของลกู ค้าเสมอ เพื่อสร้างยอดขาย
และรักษาระดบั ของสว่ นแบง่ ตลาดไว้
2. สามารถลดระดบั การลงทนุ ในสนิ ค้าคงคลงั ต่าท่ีสดุ เทา่ ท่ี
จะทาได้เพ่ือทาให้ต้นทนุ การผลติ ตา่ ลงด้วย
ระบบการควบคุมสนิ ค้าคงคลัง
(Inventory Control System)
ปัจจยั ในการกาหนดปริมาณของสนิ ค้าคงคลัง
• จดุ มงุ่ หมายหลกั ในการมีสนิ ค้าคงคลงั
• ยอดขายในอดีตของธรุ กิจ
• การซอื ้ ขายตามฤดกู าล (Seasonal Selling)
• คณุ สมบตั ขิ องสนิ ค้า
• การแบง่ ประเภทของสนิ ค้า
ระบบการควบคุมสนิ ค้าคงคลัง
(Inventory Control System) (ต่อ)
ปัจจัยในการกาหนดปริมาณของสินค้าคงคลัง
• ความนิยมในตวั สนิ ค้า
• ความไมแ่ น่นอนในการจดั สง่ สนิ ค้าของ Suppliers
• การนาเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาใช้ในการบริหารสนิ ค้าคงคลงั
• การเปลี่ยนแปลงนโยบายของภาครัฐ
• ต้นทนุ ของสินค้าคงคลงั (Inventory Cost)
ระบบการควบคุมสินค้าคงคลัง
(Inventory Control System) (ต่อ)
ระบบการควบคุมสินค้าคงคลังท่มี ีอยู่3 วธิ ีคือ
1. ระบบสินค้าคงคลังอย่างต่อเน่ือง (Continuous Inventory
System หรือ Perpetual System) เป็น ระบบสนิ ค้าคงคลงั ท่ีมี
วิธีการลงบญั ชีทกุ ครัง้ ที่มีการรับและจ่ายของ เชน่ ใช้รหสั
แทง่ (Bar Code)
ระบบการควบคุมสินค้าคงคลงั
(Inventory Control System) (ต่อ)
ระบบการควบคุมสินค้าคงคลังท่มี ีอยู่3 วธิ ีคือ
2. ระบบสินค้าคงคลังเม่ือสนิ้ งวด (Periodic Inventory
System)
เป็นระบบสนิ ค้าคงคลงั ที่มีวิธีการลงบญั ชีเฉพาะในชว่ งเวลาท่ี
กาหนดไว้เทา่ นนั้ เชน่ ตรวจนบั และลงบญั ชีทกุ ปลายสปั ดาห์หรือ
ปลายเดือน
ระบบการควบคุมสนิ ค้าคงคลงั
(Inventory Control System) (ต่อ)
ข้อดขี องระบบสนิ ค้าคงคลัง ข้อดขี องระบบสินค้าคงคลัง
แบบต่อเน่ือง เม่ือสนิ้ งวด
- มีสนิ ค้าคงคลังเผือขาดมอื น้อยกว่า - ใช้เวลาน้อยกว่าและเสียค่าใช้จ่ายใน
- ใช้จานวนการส่ังซือ้ คงท่ีซ่งึ จะทาให้ได้ การควบคุมน้อยกว่าระบบต่อเน่ือง
ส่วนลดปริมาณได้ง่าย - ช่วยลดค่าใช้จ่ายเก่ียวกับเอกสาร ลด
- สามารถตรวจสนิ ค้าคงคลังแต่ละ ค่าใช้จ่ายในการส่ังซือ้ และสะดวกต่อ
ตัวอย่างอสิ ระ การ
ตรวจนับ
- ค่าใช้จ่ายในการเกบ็ ข้อมูลสนิ ค้าคง
คลังต่ากว่า
ระบบการควบคุมสินค้าคงคลงั
(Inventory Control System) (ต่อ)
3. ระบบการจาแนกสนิ ค้าคงคลังเป็ นหมวดเอบีซี (ABC)
ระบบนีเ้ป็นวธิ ีการจาแนกสินค้าคงคลงั ออกเป็นประเภทโดย
พิจารณาปริมาณและมลู คา่ ของสินค้าคงคลงั แตล่ ะรายการ
เป็ นเกณฑ์
ระบบจาแนกสนิ ค้าคงคลังเป็ นหมวด ABC
รายการท่มี ีมูลค่าสูง
คือ สนิ ค้าคงคลังร้อยละ 5‐15 มีมูลค่ารวมถงึ 70‐80% ของ
มูลค่าทัง้ หมด
รายการท่มี ีมูลค่าปานกลาง
คือ สนิ ค้าคงคลังร้อยละ 30 มีมูลค่ารวมประมาณ 15% ของ
มูลค่าทังหมด
รายการท่มี ีมูลค่าต่า
คือสนิ ค้าคงคลัง ร้อยละ 50‐60 มีมลค่ารวมประมาณ
5-10% ของมูลค่าทัง้ หมด
การจาแนกสนิ ค้าคงคลังเป็ นหมวดเอบซี ี (ABC)
• Class A ท่มี า: Copyright 2006 John Wiley & Sons, Inc.
– 5 – 15 % of units
– 70 – 80 % of value
• Class B
– 30 % of units
– 15 % of value
• Class C
– 50 – 60 % of units
– 5 – 10 % of value
ABC Classification: Example
PART UNIT COST ANNUAL USAGE
1 $ 60 90
2 350 40
3 130
4 30 60
5 80 100
6 30 180
7 20 170
8 10 50
9 320 60
10 510 120
20
ท่มี า: Copyright 2006 John Wiley & Sons, Inc.
510*60 ABC Classification: Example (Cont.)
60*100/1000
PART PVTOAALTRUATEL % UOVFANTLIUOTETCALOST %QOUFANTAOTITNTAYNL UAL%UCUSMAMGEULATIVE
9 $30,6100 35$.960 A6.0 90 6.0
8 16,0200 18.3750
2 1454,,,84034000000 1566...6343800 5.0 40 11.0
1 3,9500 B4.0 15.0
4 130 24.0
3 9.0 60 30.0
6 6.0
5 4.630 10.0 100 40.0
10
7 3,6600 4.220 18.0 C180 58.0
3,0700 3.510 13.0 170 71.0
12,,47980000 30,60220*..5318001220000/85,400 12.0 83.0
$851,4000 17.0 50 100.0
60
120
CLASS ITEMS % OF TOTAL % OF TOTAL
VALUE QUANTITY
ท่มี า: Copyright 2006 A 9, 8, 2 71.0 15.0
John Wiley & Sons, 25.0
Inc. B 1, 4, 3 16.5 60.0
C 6, 5, 10, 7 12.5
จุดส่ังซอื้ ใหม่(Reorder Point: ROP)
- เป็นระดบั หรือจดุ ของสนิ ค้า/วสั ดคุ งเหลอื ท่ีต้องทาการสงั่ ซอื ้
สนิ ค้าใหม่ เพ่ือตอบคาถาม “เม่อื ใดสมควรส่ังซือ้ สินค้า/วัตถดุ บิ ”
ปริมาณสินค้าคงเหลอื (หน่วย)
ROP= อตั ราความต้องการตอ่ วนั (d) x ชว่ งระยะเวลารอคอยของการสงั่ ซอื ้ (L)
Q d = ปริมาณความต้องการใช้สินค้าตอ่ ปี (หนว่ ย)(D)
จานวนวนั ทางานทงั้ หมดต่อปี (วนั )(W)
ROP
ระยะเวลา(วนั )
ช่วงระยะเวลารอคอย(L)
จุดส่ังซอื้ ใหม่ (Reorder Point: ROP) (ต่อ)
• บริษัทแหง่ หนงึ่ ต้องการใช้วตั ถดุ ิบเมด็ พลาสติกจานวน 8000 ตนั
ตอ่ ปี ซงึ่ บริษัททางานทงั้ ปี 250 วนั และระยะเวลาเฉลี่ยในการ
สง่ั ซอื ้ แตล่ ะครัง้ นาน 3 วนั
อตั ราการใช้สนิ ค้าตอ่ วนั (d) = D/W = 8000/250
= 32 ตนั /วนั
ดงั นนั้ จดุ สงั่ ซอื ้ ใหม(่ ROP) = d x L = 32 x 3
= 96 ตนั /ครัง้
หากเมด็ พลาสตกิ ในคลงั ลดตา่ ลงเหลือ 96 ตนั จะต้องดาเนินการ
สงั่ ซอื ้ เพ่มิ ทนั ที
ปริมาณการส่ังซอื้ ท่ปี ระหยดั
(Economic Order Quantity : EOQ)
• เหมาะสาหรับการใช้งานกบั
วสั ดคุ งคลงั ท่ีสง่ั ซอื ้ เป็นครัง้ ๆ
โดยไมไ่ ด้ดาเนินงานหรือ
จดั สง่ อยา่ งตอ่ เน่ือง และต้อง
เก็บรักษาสินค้าคงเหลือ
บางสว่ น ซง่ึ จะพิจารณาการ
เปรียบเทียบต้นทนุ การสงั่ ซอื ้
และต้นทนุ การเก็บรักษา
ปริมาณการส่ังซอื้ ท่ปี ระหยัด
(Economic Order Quantity : EOQ) (ต่อ)
Q = ปริมาณการส่ังซือ้ ท่ปี ระหยัด(หน่วย/ครัง้ )
D = ปริมาณความต้องการสนิ ค้าในแต่ละปี (หน่วย/ปี ) Q 2DS
S = ต้นทุนการส่งั ซอื้ แต่ละครัง้ (บาท/ครัง้ ) H
H = ต้นทนุ การเกบ็ รักษาต่อหน่วย(บาท/หน่วย/ปี )
• ต้นทนุ การสง่ั ซือ้ แตล่ ะปี D.S
• ต้นทนุ การเกบ็ รักษาในแตล่ ะปี Q
Q.H
2
• ต้นทนุ รวมในแตล่ ะปี (TAC) D.C D.S Q.H
Q 2
ปริมาณการส่ังซือ้ ท่ปี ระหยัด
(Economic Order Quantity : EOQ) (ต่อ)
• โรงงานผลิตปากกาผลิตได้วนั ละ 500 ด้าน โรงงานจะต้องใช้
สปริงการประกอบ 1 ด้าม ใช้สปริง 1 ชิน้ โดยมีราคา 1 บาทตอ่
ชิน้ มีต้นทุนการสั่งซือ้ 90 บาทต่อครัง้ ต้นทุนการเก็บรักษา
เทา่ กบั 15% ของราคา ถ้าบริษัทขายสปริงเสนอเง่ือนไขลด 5%
สาหรับซอื ้ อย่างน้อย 20000 ชิน้ ให้หา
1. ปริมาณการสงั่ ซอื ้ ที่ประหยดั และต้นทนุ รวม
2. หาต้นทนุ แตล่ ะทางเลือก
ปริมาณการส่ังซือ้ ท่ปี ระหยัด
(Economic Order Quantity : EOQ) (ต่อ)
D = 500 ชิน้ /วนั หรือ 500x250วนั = 125000 ชิน้ /ปี
S = 90 บาท/ครัง้
H = (0.15)(1) = 0.15 บาท/ชิน้ / ปี
Q 2(90)(125000 ) 12247 ชิ้น/คร้ัง
(0.15)
125000(1) [(125000) (90) ] [(0.15)12247]
ต้นทนุ รวม 126837.12 บาท/ปี 12247 2
ปริมาณการส่ังซือ้ ท่ปี ระหยัด
(Economic Order Quantity : EOQ) (ต่อ)
• สว่ นลด 5% สาหรับการสงั่ ซือ้ อยา่ งน้อย 20000 ชิน้ /ครัง้
ราคาขายสปริง = 1-0.05 = 0.95 บาท/ชิน้
ต้นทนุ รวม
(125000 )(0.95) (90)125000 (0.15)(0.95)20000
120737 .50 บาท/ปี 20000 2
จากทัง้ สองทางเลือก แสดงให้เราเหน็ ว่า ถ้ารับส่วนลดอีก 5% และ
ส่ังสปริง 20000 ชนิ้ /ครัง้ จะมีต้นทุนน้อยท่ีสุด ดังนัน้ ควรเลอื กท่ี 2
ปริมาณการส่ังซือ้ ท่ปี ระหยดั
(Economic Order Quantity : EOQ) (ต่อ)
แบบวเิ คราะห์ท่จี ดุ คุ้มทุน
เป็นการวิเคราะห์เพ่ือหาปริมาณที่ผลติ ที่ทาให้มีคา่ เทา่ กบั ต้นทนุ
การผลติ และการดาเนินงาน ซงึ่ ประเภทต้นทนุ ได้แก่
• ต้นทนุ คงท่ี(Fixed cost)คือ ต้นทนุ ที่มีคา่ คงที่ในขณะท่ี
ปริมาณการผลติ คงท่ี เช่น คา่ เคร่ืองจกั ร คา่ เสือ่ มราคา และคา่
เช่าเป็ นต้ น
• ต้นทนุ ผันแปร(Variable cost)คือ ต้นทนุ ท่ีเปลย่ี นแปลงไป
ตามปริมาณสนิ ค้าที่ผลติ เช่น วตั ถดุ บิ และคา่ แรงงานทางตรง
เป็ นต้ น
ปริมาณการส่ังซอื้ ท่ปี ระหยดั
(Economic Order Quantity : EOQ) (ต่อ)
จานวนเงนิ รายรับ BEP F
จุดคุ้มทนุ รายจ่าย P V
ต้นทุนผนั แปร F = ต้นทุนคงท่ี
ต้นทนุ คงท่ี P = ราคาต่อหน่วย
V = ต้นทนุ ผนั แปรต่อหน่วย
ปริมาณการส่ังซือ้ ท่ปี ระหยัด
(Economic Order Quantity : EOQ) (ต่อ)
• ผ้จู ดั การโรงงานแห่งหนงึ่ ต้องการทราบวา่ เขาจะต้องผลติ สนิ ค้ากี่หน่วยจงึ
จะค้มุ ทนุ โดยที่สายการผลติ มีต้นทนุ คงที่ 10,000 บาท ต้นทนุ ผนั แปร 50
บาทตอ่ หนว่ ย และสนิ ค้ามรี าคาขาย 75 บาทตอ่ หน่วย
BEP F 10000 400Unit
P V 75 50
เป็ นเงนิ = (400)(75) = 30,000 บาท
ดงั นัน้ เขาจะต้องผลิตอย่างน้อย 400 หน่วย หรือคดิ เป็ นมูลค่า
สินค้า 30,000 บาท
กลยุทธ์ในการวิเคราะห์สินค้าคงคลัง
(Strategic Inventory Analysis)
ท่ีมา: www.gra.net.au
ประโยชน์ของสินค้าคงคลงั
(Benefit of Inventory)
• ตอบสนองความต้องการของลกู ค้าที่ประมาณการไว้ในแตล่ ะ
ช่วงเวลา ทงั้ ในและนอกฤดกู าล โดยธรุ กิจต้องเก็บสนิ ค้าคงคลงั ไว้
ในคลงั สินค้า
• รักษาการผลติ ให้มีอตั ราคงท่ีสม่าเสมอ
• ป้ องกนั การเปลี่ยนแปลงราคา
• ทาให้ธรุ กิจได้สว่ นลดปริมาณจากการจดั ซอื ้ ครัง้ ละมากๆ
• ป้ องกนั ของขาดมือด้วยสนิ ค้าเผื่อขาดมือ (Safety Stock) เมื่อ
เวลารอคอยลา่ ช้า
ต้นทุนของสนิ ค้าคงคลัง (Inventory Cost)
1. ค่าใช้จ่ายในการส่ังซอื้ (Ordering Cost)
2. ค่าใช้จ่ายในการเก็บรักษา (Carrying Cost)
3. ค่าใช้จ่ายเน่ืองจากสินค้าขาดแคลน
(Shortage Cost หรือ Stock Cost
4. ค่าใช้จ่ายในการตงั้ เคร่ืองจกั รใหม่ (Setup
Cost)
บทสรุป – การจดั การคลงั สนิ ค้า และสนิ ค้า คงคลงั )
การจดั การคลังสินค้า เป็นกิจกรรมหลกั ในโลจิสติกส์ท่ีมีต้นทนุ
สงู สดุ ในปัจจบุ นั โดยเป็ นการดาเนินงานท่ี สนบั สนนุ การผลิตและ
การตลาด เป็ นที่รองรับสินค้าคงคลงั ในซพั พลายเชน ในภาคธุรกิจ
และอตุ สาหกรรมท่ีต้องแข่งขนั อยา่ งรุนแรง
ทงั้ นีก้ ารจัดการคลังสนิ ค้าท่ดี ี จะชว่ ย เป็นแนวทางลดความ
ผิดพลาดในการดาเนินงานคลังสินค้า สามารถหาทางป้ องกัน
ปัญหาที่อาจเกิดขึน้ และเป็ นแนวทางในการดาเนินงานคลงั สินค้า
ให้สามารถเพิ่มประสทิ ธิภาพและประสทิ ธิผล
Chapter 8
การบริการลูกค้าสาหรับโลจสิ ตกิ ส์
(Customer Service for Logistics)