The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ratchawan.sud, 2022-03-08 11:00:11

แผนการสอน พลศึกษา ม

แผน

กระทรวงศกึ ษาธกิ ารไดป้ ระกาศใชห้ ลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน
พุทธศกั ราช 2551 เปน็ หลกั สูตรแกนกลางของประเทศ โดยกาหนดมาตรฐานการ
เรียนรู้และตวั ช้วี ัดของ 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ เปา้ หมายและกรอบทศิ ทางในการ
พฒั นาหลกั สตู รสถานศึกษาเพอื่ พัฒนาศกั ยภาพของเยาวชนไทยใหม้ มี าตรฐานความรู้
ความสามารถสงู ขึน้ และเพอ่ื ใหก้ ารปฏิรูปการศึกษาเปน็ ไปในทิศทางที่พึงประสงคแ์ ละ
มีประสิทธภิ าพสงู สุด ครูผู้สอนเปน็ ผู้ทีม่ ีบทบาทสาคัญท่ีจะต้องเปลยี่ นแปลงแนวคดิ
วิธีการ รูปแบบการสอน กระบวนการสอน และการวัดประเมินผล

เอกสารเลม่ นี้เปน็ โครงสร้างรายวิชาและการจัดหน่วยการเรียนรูก้ ลุม่ สาระการ
เรียนรู้สขุ ศึกษาและพลศึกษา ชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 1 ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขนั้
พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 โดยใชว้ ธิ ีการจดั การเรียนรูแ้ บบ Active Learning ในแต่
ละหน่วยการเรียนร้จู ะนาเสนอรายละเอียดของกจิ กรรมการเรยี นการสอน ส่ือ แหลง่ การ
เรียนรู้ เคร่อื งมือและวธิ ีการวัดและประเมินผล ทีน่ าไปปฏิบตั ใิ นชนั้ เรยี นเพือ่ ให้ผเู้ รยี น
บรรลุผลสมั ฤทธ์ติ ามมาตรฐานการเรยี นรทู้ ่ีกาหนด เป็นเอกสารประกอบการวางแผน
จดั การเรียนรเู้ พอื่ พฒั นาผู้เรยี นใหม้ ีคุณภาพ และคุณลักษณะตามมาตรฐานตวั ชว้ี ดั ของ
หลกั สตู รแกนกลาง ท่มี ผี ลมาจากระบวนการพฒั นาหลกั สูตรการเรียนการสอนที่มี
ประสทิ ธภิ าพของครผู ู้สอน

นางสาวรัชวรรณ สดุ ประเสรฐิ

ผ้จู ัดทา

หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน หนา้
ความนา
วิสยั ทศั น์ 1
หลักการ 3
จดุ หมาย 3
สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน 3
คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ 4
มาตรฐานการเรยี นรู้ 4
ตัวชว้ี ดั 5
สาระการเรยี นรู้ 5
6
กล่มุ สาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
ทาไมตอ้ งเรียนสขุ ศึกษาและพลศึกษา 7
เรียนอะไรในสุขศึกษาและพลศึกษา 7
คุณภาพผเู้ รยี น 8
คาอธบิ ายรายวชิ า 10
โครงสรา้ งรายวชิ า 11
แผนการจดั การเรียนรู้ 13

ภาคผนวก 17

กระทรวงศึกษาธกิ ารได้ประกาศใช้หลักสตู รการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2544 ให้เป็นหลักสตู ร
แกนกลางของประเทศ โดยกาหนดจุดหมาย และมาตรฐานการเรยี นรู้เป็นเป้าหมายและกรอบทิศทางในการพฒั นา
คุณภาพผ้เู รยี นใหเ้ ปน็ คนดี มีปญั ญา มคี ุณภาพชีวิตทีด่ แี ละมขี ดี ความสามารถในการแขง่ ขันในเวทรี ะดบั โลก
(กระทรวงศกึ ษาธกิ าร, 2544) พร้อมกันน้ไี ดป้ รับกระบวนการพัฒนาหลกั สูตรให้มีความสอดคล้องกับเจตนารมณ์
แห่งพระราชบญั ญตั ิการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 และท่แี ก้ไขเพ่ิมเตมิ (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 2545 ท่ีมุง่ เน้นการ
กระจายอานาจทางการศกึ ษาใหท้ ้องถ่ินและสถานศึกษาได้มบี ทบาทและมีสว่ นร่วมในการพฒั นาหลักสตู ร เพื่อให้
สอดคลอ้ งกับสภาพ และความต้องการของท้องถนิ่ (สานกั นายกรัฐมนตรี, 2542)

จากการวจิ ัย และติดตามประเมินผลการใช้หลักสูตรในช่วงระยะ 6 ปีทผ่ี ่านมา (สานกั วชิ าการและ -
มาตรฐานการศึกษา, 2546 ก., 2546 ข., 2548 ก., 2548 ข.; สานกั งานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา, 2547; สานัก
ผู้ตรวจราชการและติดตามประเมินผล, 2548; สุวิมลว่องวาณิช และนงลักษณ์ วิรัชชัย, 2547; Nutravong,
2002; Kittisunthorn, 2003) พบวา่ หลักสูตรการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2544 มีจดุ ดีหลายประการ เชน่
ชว่ ยสง่ เสริมการกระจายอานาจทางการศึกษาทาให้ทอ้ งถ่ินและสถานศึกษามีสว่ นรว่ มและมีบทบาทสาคญั ในการ
พัฒนาหลกั สูตรใหส้ อดคลอ้ งกับความตอ้ งการของท้องถน่ิ และมีแนวคิดและหลักการในการส่งเสริมการพัฒนา
ผูเ้ รยี นแบบองค์รวมอยา่ งชดั เจน อยา่ งไรก็ตาม ผลการศึกษาดงั กล่าวยงั ได้สะท้อนให้เห็นถงึ ประเด็นท่เี ป็นปัญหา
และความไมช่ ัดเจนของหลกั สูตรหลายประการทั้งในสว่ นของเอกสารหลกั สตู ร กระบวนการนาหลักสตู รสู่การ
ปฏบิ ตั ิ และผลผลติ ท่เี กดิ จากการใชห้ ลักสตู ร ไดแ้ ก่ ปญั หาความสับสนของผู้ปฏิบตั ใิ นระดับสถานศึกษาในการ
พัฒนาหลกั สตู รสถานศกึ ษา สถานศกึ ษาสว่ นใหญก่ าหนดสาระและผลการเรียนรู้ทีค่ าดหวังไว้มาก ทาให้เกดิ ปญั หา
หลกั สูตรแน่น การวัดและประเมนิ ผลไม่สะท้อนมาตรฐาน ส่งผลต่อปญั หาการจดั ทาเอกสารหลักฐานทาง
การศกึ ษาและการเทียบโอนผลการเรยี น รวมทัง้ ปญั หาคุณภาพของผ้เู รยี นในด้านความรู้ ทักษะ ความสามารถและ
คุณลกั ษณะที่พึงประสงค์อันยังไม่เปน็ ทน่ี า่ พอใจ

นอกจากนน้ั แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ ฉบับท่ี 10 ( พ.ศ. 2550-2554) ได้ช้ีให้เห็นถงึ ความ
จาเปน็ ในการปรับเปล่ยี นจดุ เน้นในการพัฒนาคณุ ภาพคนในสงั คมไทยให้ มีคุณธรรม และมคี วามรอบรู้อยา่ งเท่าทัน
ให้มคี วามพรอ้ มทง้ั ด้านร่างกาย สตปิ ญั ญา อารมณ์ และศีลธรรม สามารถกา้ วทนั การเปล่ียนแปลงเพื่อนาไปสู่
สังคมฐานความรู้ได้อย่างมัน่ คง แนวการพัฒนาคนดงั กล่าวมงุ่ เตรียมเด็กและเยาวชนใหม้ พี ืน้ ฐานจติ ใจท่ดี งี าม มีจิต
สาธารณะ พร้อมทงั้ มสี มรรถนะ ทกั ษะและความรู้พืน้ ฐานทจ่ี าเปน็ ในการดารงชีวิต อันจะส่งผลต่อการพัฒนา
ประเทศแบบย่งั ยนื (สภาพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ, 2549) ซึง่ แนวทางดงั กล่าวสอดคลอ้ งกบั นโยบาย
ของกระทรวงศกึ ษาธกิ ารในการพฒั นาเยาวชนของชาติเขา้ ส่โู ลกยคุ ศตวรรษที่ 21 โดยมงุ่ ส่งเสรมิ ผ้เู รียนมคี ณุ ธรรม
รักความเปน็ ไทย ใหม้ ีทักษะการคดิ วเิ คราะห์ สร้างสรรค์ มีทักษะดา้ นเทคโนโลยี สามารถทางานร่วมกบั ผอู้ น่ื และ
สามารถอยูร่ ว่ มกบั ผูอ้ ่นื ในสังคมโลกได้อย่างสนั ติ (กระทรวงศึกษาธิการ, 2551)

จากข้อคน้ พบในการศกึ ษาวิจัยและติดตามผลการใช้หลกั สูตรการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2544
ที่ผา่ นมา ประกอบกับข้อมูลจากแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติฉบับที่ 10 เกี่ยวกับแนวทางการพัฒนา
คนในสงั คมไทย และจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการในการพฒั นาเยาวชนส่ศู ตวรรษที่ 21 จึงเกดิ การทบทวน
หลกั สูตรการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2544 เพื่อนาไปสกู่ ารพฒั นาหลกั สูตร

แกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ที่มีความเหมาะสม ชดั เจน ทง้ั เปา้ หมายของหลักสูตรในการ
พัฒนาคุณภาพผเู้ รียน และกระบวนการนาหลักสูตรไปสูก่ ารปฏิบตั ิในระดบั เขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาและสถานศึกษา
โดยไดม้ กี ารกาหนดวิสัยทศั น์ จดุ หมาย สมรรถนะสาคัญของผเู้ รียน คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ มาตรฐานการ
เรียนรู้และตวั ชี้วดั ท่ีชดั เจน เพ่ือใชเ้ ปน็ ทศิ ทางในการจดั ทาหลักสตู ร การเรยี นการสอนในแตล่ ะระดับ นอกจากน้ัน
ไดก้ าหนดโครงสร้างเวลาเรียนขัน้ ต่าของแต่ละกลมุ่ สาระการเรียนรู้ในแตล่ ะชน้ั ปีไวใ้ นหลักสตู รแกนกลาง และเปดิ
โอกาสใหส้ ถานศึกษาเพ่ิมเติมเวลาเรยี นได้ตามความพร้อมและจุดเนน้ อีกทง้ั ได้ปรบั กระบวนการวดั และประเมินผล
ผู้เรยี น เกณฑก์ ารจบการศกึ ษาแต่ละระดบั และเอกสารแสดงหลักฐานทางการศึกษาให้มีความสอดคล้องกับ
มาตรฐานการเรียนรู้ และมีความชดั เจนตอ่ การนาไปปฏบิ ตั ิ

เอกสารหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 นี้ จดั ทาขน้ึ สาหรับท้องถน่ิ และ
สถานศึกษาไดน้ าไปใช้เปน็ กรอบและทศิ ทางในการจัดทาหลกั สตู รสถานศกึ ษา และจดั การเรียนการสอนเพ่อื พฒั นา
เด็กและเยาวชนไทยทุกคนในระดับการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐานให้มคี ณุ ภาพด้านความรู้ และทักษะทจ่ี าเป็นสาหรบั การ
ดารงชีวิตในสงั คมท่ีมีการเปล่ียนแปลง และแสวงหาความรู้เพื่อพฒั นาตนเองอยา่ งต่อเน่อื งตลอดชวี ติ

มาตรฐานการเรยี นรูแ้ ละตวั ชี้วัดท่กี าหนดไวใ้ นเอกสารน้ี ช่วยทาให้หน่วยงานท่ีเก่ียวข้องในทุกระดบั เหน็
ผลคาดหวงั ท่ีต้องการในการพัฒนาการเรียนร้ขู องผเู้ รียนทชี่ ัดเจนตลอดแนว ซึ่งจะสามารถช่วยใหห้ นว่ ยงานที่
เกีย่ วขอ้ งในระดับท้องถน่ิ และสถานศึกษารว่ มกนั พฒั นาหลักสตู รได้อย่างมน่ั ใจ ทาให้การจัดทาหลักสูตรในระดบั
สถานศกึ ษามีคุณภาพและมีความเปน็ เอกภาพย่ิงขึ้น อีกท้งั ยงั ช่วยให้เกิดความชดั เจนเรอ่ื งการวัดและประเมนิ ผล
การเรียนรู้ และช่วยแกป้ ัญหาการเทียบโอนระหว่างสถานศึกษา ดังนั้นในการพัฒนาหลักสูตรในทุกระดับ
ต้ังแต่ระดับชาติจนกระท่ังถึงสถานศึกษา จะต้องสะท้อนคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัดที่
กาหนดไว้ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน รวมทั้งเป็นกรอบทิศทางในการจัดการศึกษาทุก
รูปแบบ และครอบคลุมผู้เรียนทุกกลุ่มเป้าหมายในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน

การจัดหลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐานจะประสบความสาเร็จตามเป้าหมายที่คาดหวังได้ทกุ ฝา่ ยที่
เกย่ี วข้องทง้ั ระดับชาติ ชุมชน ครอบครัว และบุคคลต้องรว่ มรับผดิ ชอบ โดยร่วมกันทางานอยา่ งเป็นระบบ และ
ตอ่ เนือ่ ง ในการวางแผน ดาเนนิ การ สง่ เสรมิ สนับสนุน ตรวจสอบ ตลอดจนปรับปรุงแกไ้ ข เพ่ือพฒั นาเยาวชนของ
ชาติไปสคู่ ุณภาพตามมาตรฐานการเรยี นรทู้ ี่กาหนดไว้

หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรยี นทกุ คน ซง่ึ เป็นกาลงั ของชาติให้เปน็ มนษุ ยท์ ่มี ี
ความสมดุลทงั้ ดา้ นร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจติ สานกึ ในความเป็นพลเมืองไทยและเปน็ พลโลก ยึดมน่ั ในการ
ปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษตั ริย์ทรงเป็นประมุข มคี วามรู้และทักษะพ้ืนฐาน รวมท้ัง เจต
คติ ท่จี าเป็นต่อการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชวี ิต โดยมุง่ เนน้ ผู้เรยี นเป็นสาคัญบนพนื้ ฐาน
ความเชอ่ื วา่ ทกุ คนสามารถเรียนรแู้ ละพฒั นาตนเองไดเ้ ต็มตามศกั ยภาพ

หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน มีหลกั การท่สี าคัญ ดังนี้
1. เปน็ หลักสูตรการศกึ ษาเพ่ือความเปน็ เอกภาพของชาติ มีจดุ หมายและมาตรฐานการเป็นเป้าหมายสาหรับ
พฒั นาเดก็ และเยาวชนใหม้ ีความรู้ ทกั ษะ เจตคติ และคุณธรรมบนพืน้ ฐานของความเป็นไทยควบคกู่ บั
ความเปน็ สากล
2. เป็นหลักสูตรการศึกษาเพอ่ื ปวงชน ท่ปี ระชาชนทกุ คนมีโอกาสได้รับการศกึ ษาอยา่ งเสมอภาคและมี
คุณภาพ
3. เป็นหลักสูตรการศึกษาท่ีสนองการกระจายอานาจ ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาให้
สอดคล้องกบั สภาพและความต้องการของท้องถิ่น
4. เปน็ หลักสูตรการศึกษาที่มโี ครงสร้างยืดหยุ่นท้งั ด้านสาระการเรยี นรู้ เวลาและการจดั การเรียนรู้
5. เป็นหลักสูตรการศึกษาที่เนน้ ผู้เรยี นเป็นสาคัญ
6. เป็นหลกั สตู รการศึกษาสาหรับการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย ครอบคลุมทุก
กลมุ่ เปา้ หมายสามารถเทยี บโอนผลการเรียนรู้ และประสบการณ์

หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พน้ื ฐานมุ่งพัฒนาผู้เรยี นให้เป็นคนดี มีปญั ญา มคี วามสขุ มีศกั ยภาพใน
การศึกษาต่อและประกอบอาชีพ จึงกาหนดเป็นจุดหมายเพ่ือให้เกิดกับผเู้ รยี น เมื่อจบการศึกษาข้ันพื้นฐาน
ดังน้ี

1. มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ เห็นคณุ ค่าของตนเอง มีวินัยและปฏิบัติตนตาม
หลกั ธรรมของพระพทุ ธศาสนา หรอื ศาสนาที่ตนนับถอื ยึดหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

2. มคี วามรู้ ความสามารถในการสือ่ สาร การคดิ การแก้ปัญหา การใชเ้ ทคโนโลยี และมีทักษะชวี ติ
3. มสี ขุ ภาพกายและสุขภาพจติ ท่ีดี มีสุขนิสัย และรักการออกกาลังกาย
4. มีความรักชาติ มจี ิตสานึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมนั่ ในวถิ ชี วี ิตและการปกครองตาม

ระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษตั ริย์ทรงเปน็ ประมขุ
5. มีจิตสานึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุรักษ์และพัฒนาส่ิงแวดล้อม
6. มจี ติ สาธารณะท่ีมุง่ ทาประโยชน์และสรา้ งส่งิ ท่ีดงี ามในสงั คม และอย่รู ว่ มกันในสงั คมอย่างมีความสุข

ในการพฒั นาผูเ้ รยี นตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พื้นฐาน มงุ่ เน้นพฒั นาผู้เรียนให้มีคุณภาพ
ตามมาตรฐานท่ีกาหนด ซึ่งจะชว่ ยให้ผูเ้ รยี นเกดิ สมรรถนะสาคัญและคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ดงั นี้

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน มุง่ ใหผ้ ูเ้ รียนเกดิ สมรรถนะสาคญั 5 ประการ ดงั นี้
1. ความสามารถในการส่ือสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้

ภาษาถ่ายทอดความคิดความรู้ความเข้าใจความรู้สึกและทัศนะของตนเองเพ่ือแลกเปล่ียนข้อมูลข่าวสาร
และประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ตอ่ การพฒั นาตนเองและสังคมรวมท้ังการเจรจาต่อรองเพ่ือขจัดและลด
ปัญหาความขดั แย้งต่าง ๆ การเลือกรบั หรอื ไม่รับขอ้ มูลขา่ วสารดว้ ยหลกั เหตุผลและความถกู ต้อง ตลอดจนการ
เลอื กใช้วธิ ีการสื่อสาร ที่มีประสิทธิภาพโดยคานึงถงึ ผลกระทบทม่ี ตี ่อตนเองและสังคม

2. ความสามารถในการคิด เปน็ ความสามารถในการคิดวเิ คราะห์ การคดิ สงั เคราะห์ การคดิ อย่าง
สร้างสรรค์ การคดิ อย่างมวี ิจารณญาณ และการคดิ เปน็ ระบบ เพ่ือนาไปสกู่ ารสร้างองค์ความรหู้ รอื สารสนเทศ
เพอื่ การตัดสินใจเกี่ยวกบั ตนเองและสังคมได้อยา่ งเหมาะสม

3. ความสามารถในการแก้ปญั หา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอปุ สรรคต่าง ๆ ท่ีเผชิญได้
อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพนื้ ฐานของหลกั เหตผุ ล คุณธรรมและข้อมลู สารสนเทศ เข้าใจความสมั พนั ธ์และการ
เปลี่ยนแปลงของเหตกุ ารณต์ ่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรมู้ าใชใ้ นการป้องกนั และแก้ไขปัญหา
และมีการตดั สินใจท่ีมีประสทิ ธภิ าพโดยคานึงถงึ ผลกระทบทเ่ี กดิ ขึน้ ต่อตนเอง สังคมและส่ิงแวดลอ้ ม

4. ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวิต เปน็ ความสามารถในการนากระบวนการต่าง ๆ ไปใชใ้ น
การดาเนินชีวิตประจาวนั การเรียนรู้ดว้ ยตนเอง การเรยี นรู้อยา่ งต่อเน่ือง การทางาน และการอยรู่ ่วมกนั ในสงั คม
ด้วยการสรา้ งเสรมิ ความสมั พันธ์อันดรี ะหวา่ งบุคคล การจดั การปญั หาและความขดั แยง้ ต่าง ๆ อย่างเหมาะสม
การปรับตัวใหท้ ันกับการเปลย่ี นแปลงของสงั คมและสภาพแวดลอ้ ม และการรู้จกั หลีกเล่ยี งพฤติกรรมไมพ่ ึง
ประสงค์ทส่ี ง่ ผลกระทบตอ่ ตนเองและผ้อู ่ืน

5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เปน็ ความสามารถในการเลือก และใช้ เทคโนโลยีด้านตา่ ง ๆ และ
มีทกั ษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพอ่ื การพัฒนาตนเองและสงั คม ในด้านการเรียนรู้ การสื่อสาร
การทางาน การแก้ปัญหาอย่างสรา้ งสรรค์ ถูกต้อง เหมาะสม และมีคุณธรรม

หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน มุ่งพฒั นาผู้เรียนให้มีคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ เพ่ือให้สามารถ
อย่รู ว่ มกบั ผอู้ ื่นในสงั คมได้อยา่ งมคี วามสขุ ในฐานะเปน็ พลเมืองไทยและพลโลก ดงั นี้

1. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์
2. ซือ่ สัตยส์ ุจริต
3. มีวินยั
4. ใฝเ่ รียนรู้
5. อย่อู ย่างพอเพยี ง
6. มุ่งมัน่ ในการทางาน
7. รักความเปน็ ไทย
8. มจี ติ สาธารณะ

นอกจากน้ี สถานศึกษาสามารถกาหนดคุณลักษณะอันพึงประสงค์เพิ่มเติมใหส้ อดคลอ้ งตามบรบิ ทและ
จดุ เนน้ ของตนเอง

การพฒั นาผู้เรยี นใหเ้ กิดความสมดุล ต้องคานึงถงึ หลกั พัฒนาการทางสมองและพหุปัญญา หลกั สูตร
แกนกลางการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน จงึ กาหนดให้ผู้เรียนเรยี นรู้ 8 กลุม่ สาระการเรยี นรู้ ดงั นี้

1. ภาษาไทย
2. คณติ ศาสตร์
3. วทิ ยาศาสตร์
4. สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม
5. สขุ ศึกษาและพลศึกษา
6. ศลิ ปะ
7. การงานอาชีพและเทคโนโลยี
8. ภาษาตา่ งประเทศ
ในแตล่ ะกลมุ่ สาระการเรียนรไู้ ดก้ าหนดมาตรฐานการเรียนรู้เปน็ เป้าหมายสาคัญของการพัฒนาคณุ ภาพ
ผู้เรยี น มาตรฐานการเรยี นร้รู ะบุสิง่ ทีผ่ ู้เรียนพึงรู้ ปฏิบัติได้ มคี ณุ ธรรมจรยิ ธรรม และค่านิยมท่พี ึงประสงคเ์ ม่ือจบ
การศึกษาข้ันพื้นฐาน นอกจากน้ันมาตรฐานการเรียนรู้ยังเป็นกลไกสาคัญในการขับเคล่ือนพัฒนาการศึกษา
ท้ังระบบ เพราะมาตรฐานการเรียนรู้จะสะท้อนให้ทราบว่าต้องการอะไร จะสอนอย่างไร และประเมินอย่างไร
รวมทง้ั เปน็ เคร่ืองมือในการตรวจสอบเพ่อื การประกนั คุณภาพการศกึ ษาโดยใช้ระบบการประเมินคุณภาพภายใน
และการประเมนิ คุณภาพภายนอก ซึ่งรวมถึงการทดสอบระดบั เขตพ้ืนที่การศึกษา และการทดสอบระดับชาติ ระบบ
การตรวจสอบเพ่ือประกนั คุณภาพดังกลา่ วเป็นสิ่งสาคัญทช่ี ่วยสะท้อนภาพการจดั การศึกษาวา่ สามารถพัฒนาผู้เรยี น
ให้มีคณุ ภาพตามท่ีมาตรฐานการเรียนรกู้ าหนดเพียงใด

ตวั ชีว้ ดั ระบสุ ง่ิ ทน่ี ักเรียนพึงร้แู ละปฏิบตั ไิ ด้ รวมท้ังคณุ ลกั ษณะของผู้เรยี นในแตล่ ะระดับชั้นซ่งึ สะท้อนถึง
มาตรฐานการเรียนรู้ มคี วามเฉพาะเจาะจงและมคี วามเป็นรูปธรรม นาไปใช้ในการกาหนดเนื้อหา จดั ทาหนว่ ย
การเรยี นรู้ จัดการเรยี นการสอน และเปน็ เกณฑส์ าคัญสาหรับการวดั ประเมนิ ผลเพ่ือตรวจสอบคณุ ภาพผเู้ รยี น

1. ตวั ชีว้ ดั ช้นั ปี เป็นเป้าหมายในการพฒั นาผู้เรียนแต่ละชั้นปีในระดับการศกึ ษาภาคบงั คับ
(ประถมศึกษาปที ี่ 1 – มัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 )

2. ตวั ชว้ี ดั ช่วงชั้น เป็นเป้าหมายในการพัฒนาผู้เรียนในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
(มธั ยมศึกษาปที ่ี 4- 6)

สาระการเรยี นรู้ ประกอบดว้ ย องคค์ วามรู้ ทกั ษะหรือกระบวนการเรยี นรู้ และคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์
ซึ่งกาหนดใหผ้ ูเ้ รียนทุกคนในระดบั การศกึ ษาขั้นพนื้ ฐานจาเป็นตอ้ งเรียนรู้ โดยแบ่งเปน็ 8 กลุ่มสาระการเรยี นรู้
ดงั นี้

ทำไมตอ้ งเรียนสุขศกึ ษำและพลศกึ ษำ
สขุ ภาพ หรอื สุขภาวะ หมายถงึ ภาวะของมนษุ ย์ทีส่ มบูรณท์ ้ังทางกาย ทางจิต ทางสังคม และทาง

ปญั ญาหรอื จติ วิญญาณ สุขภาพหรือสุขภาวะจงึ เปน็ เร่ืองสาคัญ เพราะเก่ียวโยงกบั ทุกมติ ขิ องชีวิต ซง่ึ ทกุ คนควร
จะไดเ้ รียนร้เู รื่องสุขภาพ เพื่อจะได้มีความรู้ ความเข้าใจทถ่ี ูกต้อง มีเจตคติ คณุ ธรรมและค่านยิ มที่เหมาะสม
รวมท้ังมที ักษะปฏิบัติด้านสขุ ภาพจนเปน็ กิจนสิ ยั อันจะสง่ ผลให้สังคมโดยรวมมคี ณุ ภาพ

เรยี นรู้อะไรในสุขศึกษำและพลศึกษำ
สุขศกึ ษาและพลศึกษาเป็นการศกึ ษาด้านสขุ ภาพที่มเี ป้าหมาย เพือ่ การดารงสุขภาพ การสร้างเสรมิ

สขุ ภาพและการพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ของบุคคล ครอบครัว และชุมชนให้ยง่ั ยนื
สุขศกึ ษำ ม่งุ เน้นให้ผเู้ รียนพัฒนาพฤติกรรมด้านความรู้ เจตคติ คุณธรรม ค่านยิ ม และการปฏบิ ตั ิ

เก่ียวกบั สขุ ภาพควบค่ไู ปด้วยกนั
พลศกึ ษำ มงุ่ เนน้ ใหผ้ ู้เรียนใชก้ จิ กรรมการเคล่ือนไหว การออกกาลงั กาย การเลน่ เกมและกีฬา เป็น

เคร่อื งมือในการพฒั นาโดยรวมทงั้ ดา้ นรา่ งกาย จติ ใจ อารมณ์ สังคม สติปญั ญา รวมท้งั สมรรถภาพเพ่ือ
สุขภาพและกีฬา

สาระท่ีเป็นกรอบเน้ือหาหรือขอบข่ายองค์ความรู้ของกลมุ่ สาระการเรียนรูส้ ขุ ศกึ ษาและพลศึกษาประกอบด้วย
➢ กำรเจรญิ เติบโตและพัฒนำกำรของมนุษย์
ผเู้ รยี นจะได้เรยี นรเู้ รื่องธรรมชาติของการเจรญิ เตบิ โตและพัฒนาการของมนุษย์ ปัจจยั ทีม่ ีผลตอ่ การ
เจริญเติบโต ความสมั พนั ธ์เชื่อมโยงในการทางานของระบบตา่ ง ๆ ของร่างกาย รวมถึงวธิ ปี ฏบิ ัติตน
เพ่ือให้เจริญเติบโตและมพี ฒั นาการท่ีสมวยั
➢ ชวี ิตและครอบครัว
ผเู้ รียนจะได้เรยี นรูเ้ รอื่ งคุณค่าของตนเองและครอบครวั การปรบั ตัวตอ่ การเปลย่ี นแปลงทางร่างกาย
จติ ใจ อารมณ์ความรู้สกึ ทางเพศ การสรา้ งและรกั ษาสมั พันธภาพกับผอู้ น่ื สขุ ปฏิบตั ิทางเพศ และ
ทกั ษะในการดาเนนิ ชวี ติ
➢ กำรเคล่อื นไหว กำรออกกำลังกำย กำรเล่นเกม กีฬำไทย และกีฬำสำกล
ผเู้ รยี นได้เรียนรู้เรอื่ งการเคลื่อนไหวในรปู แบบตา่ ง ๆ การเข้ารว่ มกิจกรรมทางกายและกีฬา ทง้ั
ประเภทบคุ คล และประเภททมี อยา่ งหลากหลายท้งั ไทยและสากล การปฏบิ ัตติ ามกฎ กตกิ า ระเบียบ
ข้อตกลงในการเขา้ ร่วมกิจกรรมทางกายและกฬี า และความมนี ้าใจนักกีฬา
➢ กำรสรำ้ งเสรมิ สขุ ภำพ สมรรถภำพ และกำรป้องกันโรค
ผู้เรียนจะได้เรยี นรเู้ กย่ี วกับหลกั และวธิ ีการเลือกบริโภคอาหาร ผลิตภณั ฑ์และบรกิ ารสขุ ภาพ
การสรา้ งเสริมสมรรถภาพเพื่อสขุ ภาพ และการป้องกันโรคทัง้ โรคตดิ ต่อและโรคไมต่ ดิ ต่อ
➢ ควำมปลอดภยั ในชีวติ
ผเู้ รียนจะไดเ้ รียนรู้เร่ืองการป้องกนั ตนเองจากพฤตกิ รรมเส่ียงต่าง ๆ ทงั้ ความเส่ียงต่อสุขภาพ อบุ ตั เิ หตุ
ความรนุ แรง อนั ตรายจากการใช้ยาและสารเสพติด รวมถึงแนวทางในการสรา้ งเสรมิ ความปลอดภัยใน
ชีวิต

จบชัน้ ประถมศึกษาปีที่ ๓
• มีความรู้และเข้าใจในเรื่องการเจริญเตบิ โตและพฒั นาการของมนุษย์ปัจจัยท่ีมีผลต่อการ
เจริญเตบิ โตและพฒั นาการ วิธกี ารสรา้ งสัมพนั ธภาพในครอบครัวและกลุม่ เพื่อน
• มีสขุ นสิ ัยทีด่ ใี นเรื่องการกิน การพกั ผ่อนนอนหลบั การรักษาความสะอาดอวยั วะทุกส่วนของ
ร่างกาย การเล่นและการออกกาลังกาย
• ปอ้ งกนั ตนเองจากพฤติกรรมทอี่ าจนาไปส่กู ารใชส้ ารเสพติด การล่วงละเมิดทางเพศและรู้จัก
ปฏเิ สธในเรอื่ งทีไ่ มเ่ หมาะสม
• ควบคมุ การเคล่ือนไหวของตนเองไดต้ ามพัฒนาการในแต่ละช่วงอายุ มที ักษะการเคล่ือนไหวขนั้
พ้ืนฐานและมีส่วนรว่ มในกจิ กรรมทางกาย กจิ กรรมสรา้ งเสริมสมรรถภาพทางกายเพื่อ
สขุ ภาพ และเกม ได้อยา่ งสนกุ สนาน และปลอดภัย
• มที กั ษะในการเลือกบรโิ ภคอาหาร ของเล่น ของใช้ ที่มผี ลดีต่อสขุ ภาพ หลีกเลย่ี งและปอ้ งกัน
ตนเองจากอุบตั เิ หตุได้
• ปฏบิ ัตติ นได้อย่างถูกต้องเหมาะสมเม่ือมีปัญหาทางอารมณ์ และปญั หาสขุ ภาพ
• ปฏิบตั ิตนตามกฎ ระเบยี บข้อตกลง คาแนะนา และขัน้ ตอนต่าง ๆ และให้ความรว่ มมือกบั
ผู้อ่ืนดว้ ยความเต็มใจจนงานประสบความสาเร็จ
• ปฏิบัตติ ามสิทธิของตนเองและเคารพสทิ ธขิ องผอู้ ื่นในการเล่นเป็นกลมุ่

จบชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี ๖
• เขา้ ใจความสัมพันธเ์ ชอ่ื มโยงในการทางานของระบบต่าง ๆ ของรา่ งกายและรจู้ กั ดูแลอวยั วะที่
สาคัญของระบบนัน้ ๆ
• เข้าใจธรรมชาตกิ ารเปลี่ยนแปลงทางรา่ งกาย จิตใจ อารมณแ์ ละสังคม แรงขับทางเพศของชาย
หญงิ เมอ่ื ย่างเขา้ สู่วัยแรกรุ่นและวยั รุ่น สามารถปรบั ตวั และจัดการได้อยา่ งเหมาะสม
• เขา้ ใจและเห็นคณุ ค่าของการมีชวี ติ และครอบครวั ท่ีอบอ่นุ และเป็นสขุ
• ภมู ิใจและเหน็ คุณคา่ ในเพศของตน ปฏิบตั สิ ขุ อนามัยทางเพศได้ถูกตอ้ งเหมาะสม
• ปอ้ งกนั และหลีกเล่ียงปจั จัยเส่ียง พฤติกรรมเสย่ี งต่อสุขภาพและการเกดิ โรค อบุ ัติเหตุ
ความรุนแรง สารเสพตดิ และการล่วงละเมดิ ทางเพศ
• มที กั ษะการเคล่ือนไหวพ้ืนฐานและการควบคุมตนเองในการเคล่ือนไหวแบบผสมผสาน
• รหู้ ลักการเคล่ือนไหวและสามารถเลอื กเขา้ รว่ มกจิ กรรมทางกาย เกม การละเลน่ พ้ืนเมอื ง
กฬี าไทย กีฬาสากลได้อยา่ งปลอดภยั และสนุกสนาน มนี ้าใจนักกีฬา โดยปฏิบตั ิตาม
กฎ กติกา สทิ ธิ และหน้าที่ของตนเอง จนงานสาเรจ็ ลุล่วง
• วางแผนและปฏิบัตกิ จิ กรรมทางกาย กิจกรรมสรา้ งเสริมสมรรถภาพทางกายเพ่ือสุขภาพได้ตาม
ความเหมาะสมและความต้องการเปน็ ประจา
• จดั การกับอารมณ์ ความเครียด และปญั หาสขุ ภาพได้อยา่ งเหมาะสม
• มีทักษะในการแสวงหาความรู้ ขอ้ มูลขา่ วสารเพ่อื ใช้สรา้ งเสริมสุขภาพ

จบชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ ๓
• เข้าใจและเหน็ ความสาคัญของปัจจัยทีส่ ่งผลกระทบตอ่ การเจริญเตบิ โตและพฒั นาการที่มีต่อสขุ ภาพ
และชีวิตในช่วงวยั ตา่ ง ๆ
• เข้าใจ ยอมรบั และสามารถปรับตัวต่อการเปลย่ี นแปลงทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ ความร้สู ึก
ทางเพศ ความเสมอภาคทางเพศ สรา้ งและรักษาสัมพันธภาพกับผอู้ ื่น และตดั สินใจแกป้ ัญหาชวี ิต
ดว้ ยวิธกี ารทเี่ หมาะสม
• เลอื กกนิ อาหารที่เหมาะสม ได้สัดสว่ น สง่ ผลดตี ่อการเจริญเตบิ โตและพัฒนาการตามวยั
• มีทักษะในการประเมนิ อทิ ธพิ ลของเพศ เพื่อน ครอบครวั ชมุ ชนและวฒั นธรรมท่ีมีตอ่ เจตคติ
คา่ นยิ มเก่ียวกับสุขภาพและชีวติ และสามารถจดั การได้อย่างเหมาะสม
• ป้องกนั และหลีกเลย่ี งปัจจัยเสี่ยง พฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพและการเกิดโรค อุบัติเหตุ การใช้ยา
สารเสพตดิ และความรนุ แรง รู้จกั สรา้ งเสรมิ ความปลอดภัยใหแ้ ก่ตนเอง ครอบครวั และชมุ ชน
• เข้าร่วมกิจกรรมทางกาย กจิ กรรมกีฬา กิจกรรมนันทนาการ กิจกรรมสรา้ งเสรมิ สมรรถภาพทาง
กายเพ่ือสขุ ภาพ โดยนาหลักการของทักษะกลไกมาใช้ได้อย่างปลอดภยั สนกุ สนาน และปฏิบัติ
เป็นประจาสม่าเสมอตามความถนัดและความสนใจ
• แสดงความตระหนกั ในความสัมพันธร์ ะหวา่ งพฤติกรรมสขุ ภาพ การปอ้ งกันโรค การดารง
สขุ ภาพ การจดั การกับอารมณแ์ ละความเครยี ด การออกกาลงั กายและการเล่นกีฬากับการมีวถิ ี
ชวี ติ ท่ีมีสุขภาพดี
• สานกึ ในคณุ ค่า ศักยภาพและความเปน็ ตัวของตัวเอง
• ปฏิบตั ิตามกฎ กติกา หน้าที่ความรับผดิ ชอบ เคารพสิทธิของตนเองและผอู้ ื่น ใหค้ วามรว่ มมือ
ในการแข่งขันกฬี าและการทางานเปน็ ทมี อยา่ งเปน็ ระบบ ด้วยความมุ่งม่นั และมนี า้ ใจนักกีฬา
จนประสบความสาเรจ็ ตามเป้าหมายด้วยความชน่ื ชม และสนกุ สนาน

จบชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี ๖
• สามารถดแู ลสขุ ภาพ สรา้ งเสริมสขุ ภาพ ป้องกันโรค หลกี เลี่ยงปัจจยั เสี่ยงและพฤติกรรมเสย่ี ง
ต่อสขุ ภาพ อบุ ตั เิ หตุ การใช้ยา สารเสพตดิ และความรุนแรงได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพด้วยการ
วางแผนอยา่ งเปน็ ระบบ
• แสดงออกถึงความรัก ความเออื้ อาทร ความเข้าใจในอทิ ธิพลของครอบครวั เพื่อน สังคม
และวัฒนธรรมทมี่ ตี ่อพฤติกรรมทางเพศ การดาเนินชีวิตและวิถชี วี ติ ท่ีมสี ุขภาพดี
• ออกกาลังกาย เล่นกีฬา เข้ารว่ มกจิ กรรมนนั ทนาการ กจิ กรรมสรา้ งเสรมิ สมรรถภาพเพื่อ
สขุ ภาพโดยนาหลกั การของทักษะกลไกมาใช้ไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง สมา่ เสมอด้วยความชืน่ ชมและ
สนกุ สนาน
• แสดงความรับผดิ ชอบใหค้ วามร่วมมือและปฏิบัตติ ามกฎ กติกา สิทธิ หลักความปลอดภัยใน
การเข้าร่วมกิจกรรมทางกาย และเล่นกีฬาจนประสบความสาเร็จตามเป้าหมายของตนเองและทีม
• แสดงออกถึงการมีมารยาทในการดู การเล่น และการแขง่ ขัน ด้วยความมนี า้ ใจนักกีฬาและ
นาไปปฏิบัติในทุกโอกาสจนเป็นบคุ ลิกภาพที่ดี
• วเิ คราะหแ์ ละประเมนิ สุขภาพสว่ นบคุ คลเพอ่ื กาหนดกลวธิ ีลดความเสย่ี ง สรา้ งเสริมสุขภาพ
ดารงสขุ ภาพ การป้องกนั โรค และการจดั การกับอารมณ์และความเครียดได้ถกู ต้องและเหมาะสม
• ใชก้ ระบวนการทางประชาสังคม สร้างเสรมิ ให้ชมุ ชนเขม้ แข็งปลอดภยั และมีวิถชี ีวิตท่ีดี

คาอธิบายรายวิชา

รหัสวิชา พ 21101 สขุ ศกึ ษา กล่มุ สาระการเรยี นรู้สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา
ระดบั ช้นั มัธยมศึกษาตอนตน้ ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 1 เวลา 20 ชวั่ โมง จานวน 0.5 หนว่ ยกติ

อธิบาย เพ่มิ พนู ประโยชน์ของทกั ษะการเคลื่อนไหว ความสามารถของตนเองตามหลักการเคลอื่ นไหวท่ี
ใชท้ ักษะกลไก และทักษะพนื้ ฐานทน่ี าไปสู่ทักษะการเลน่ กีฬา อธบิ ายองค์ประกอบของสมรรถภาพทางกาย
อธบิ าย วเิ คราะห์ ทักษะการสร้างความคุ้นเคย การโต้ การส่งลกู ในกีฬาเทเบลิ เทนนิส สร้างเสรมิ ปรับปรุง
สมรรถภาพทางกายตามผลการทดสอบ รวมท้งั อธิบายประวตั ิ กติกาของเทเบิลเทนนิส

โดยใชก้ ระบวนการทางกาย กระบวนการฝกึ ปฏิบัตทิ ักษะ กระบวนการคดิ วิเคราะห์ กระบวนการกล่มุ ให้
เกดิ ความรู้ ความเขา้ ใจ ในทกั ษะกีฬาเทเบลิ เทนนสิ เบอื้ งตน้ เปรยี บเทยี บความเหมือนหรือความแตกต่างระหว่าง
วธิ กี ารออกกาลังกายของตนเองและผู้อ่ืน ปฏิบตั ิตามกฎกติกา และข้อตกลง โดยผ่านกระบวนการคดิ วเิ คราะห์
ปฏบิ ัตทิ กั ษะและเข้าใจถึงวิธกี ารปฏบิ ตั ทิ กั ษะดว้ ยกิจกรรมนันทนาการและการฝึกปฏิบตั ิทักษะด้วยตนเอง เพอ่ื ให้
ตระหนักถึงคณุ คา่ ของวชิ าพลศกึ ษา รวมถงึ การเข้ารว่ มหรอื จัดกิจกรรมทางการกีฬาและการออกกาลังกายอย่าง
สนุกสนาน และเพื่อใหเ้ กิดความรู้ ความเข้าใจ มีความสามารถในการใช้ทักษะชวี ติ มีคุณธรรม จริยธรรม
มวี นิ ัย ใฝเ่ รียนรู้ สามารถนาไปปฏิบตั ิในการดาเนนิ ชวี ิต

ตัวชว้ี ดั
พ 3.1 ม.1/1, ม.1/2, ม.1/3
พ 3.2 ม.1/1, ม.1/2, ม.1/3, ม.1/5, ม.1/6

รวมท้ังหมด 8 ตัวช้ีวดั

รายวิชา พลศกึ ษา (พ 21101) กลุม่ สาระการเรยี นร้สู ขุ ศกึ ษาและพลศึกษา
ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 20 ช่ัวโมง จานวน 0.5 หนว่ ยกติ

หน่วย ช่อื หน่วยการเรยี นรู้ มาตรฐานการ สาระสาคัญ/ ความคดิ รวบยอด เวลา นา้ หนกั
ที่ เรยี นรู้/ตัวชีว้ ัด (ช่ัวโมง) คะแนน
1 การสร้าง
ความคุ้นเคย พ 3.1 ม.1/1 -ความรพู้ ้ืนฐานเก่ยี วกับการจับไม้ 3 20
พ 3.1 ม.1/2 -ความรู้เร่อื งการสรา้ งความคุ้นเคย
2 สมรรถภาพดี พ 3.1 ม.1/3 ระหว่างไมเ้ ทเบลิ เทนนิสกบั ลูกเทเบิล 2 10
สุขีถว้ นหน้า พ 3.2 ม.1/3 เทนนสิ 5 10
พ 3.2 ม.1/5 -ปฏิบัติทกั ษะการจับไม้
3 การโตล้ กู เทเบลิ พ 3.2 ม.1/6 -ปฏิบัตทิ ักษะการเดาะทั้งหน้ามอื หลัง 1
เทนนสิ 3 10
มือ และแบบสลับมือ
4 ทักษะการสง่ ลูก 2 10
เทเบลิ เทนนสิ พ 3.1 ม.1/1 -องคป์ ระกอบของสมรรถภาพทางกาย
(การเสร์ิฟ) พ 3.1 ม.1/2 -การวิ่งระยะไกล

5 ประวตั ิ และกฎกติกา -การลุกน่ัง

พ 3.1 ม.1/1 -ความรพู้ นื้ ฐานเก่ียวกับการรับ-สง่ ลกู
พ 3.1 ม.1/2 เทเบิลเทนนิส
พ 3.1 ม.1/3 -ปฏิบตั ิทักษะการโต้ ทั้งหน้ามือและ
พ 3.2 ม.1/3 หลังมอื
พ 3.2 ม.1/5
พ 3.2 ม.1/6

สอบกลางภาค

พ 3.1 ม.1/1 -ความรพู้ ้ืนฐานเกีย่ วกับการส่งลูกเท
พ 3.1 ม.1/2 เบิลเทนนิส
พ 3.1 ม.1/3 -ปฏิบัติทักษะการสง่ ลูกเทเบิลเทนนิส
พ 3.2 ม.1/3
พ 3.2 ม.1/5
พ 3.2 ม.1/6

พ 3.1 ม.1/1 ประวตั ิ ประโยชน์ กฎกติกา และ
พ 3.1 ม.1/2 ความปลอดภยั ของกีฬาเทเบิลเทนนสิ
พ 3.1 ม.1/3
พ 3.2 ม.1/5

หน่วย ชอื่ หน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการ สาระสาคัญ/ ความคดิ รวบยอด เวลา นา้ หนกั
ท่ี เรียนรู/้ ตวั ช้วี ดั (ชั่วโมง) คะแนน
ความรูพ้ น้ื ฐานเก่ียวกบั กฎกติกา การ
6 การแข่งขนั เทเบิล พ 3.1 ม.1/1 แขง่ ขันเทเบิลเทนนสิ ประเภทเดยี่ ว 3 10
เทนนิสประเภทเดี่ยว พ 3.1 ม.1/2
พ 3.1 ม.1/3
พ 3.2 ม.1/5
พ 3.2 ม.1/6

รวมระหวา่ งภาค 19 80
สอบปลายภาค 1 20
20 100
รวม

สาระการเรียนรู้ สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 1
รายวชิ า เทเบลิ เทนนิส รหสั วชิ า พ21101 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 1 การสรา้ งความค้นุ เคย
เรื่อง ความรพู้ ้นื ฐานเกยี่ วกับการจับไม้ การสร้างความคุ้นเคย
ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศึกษา 2565 จานวน 1 ช่ัวโมง
ผู้สอน นางสาวรชั วรรณ สดุ ประเสรฐิ

สาระสาคญั
การเล่นกีฬาเทเบิลเทนนิสผู้เล่นควร มคี วามรู้ ความเข้าใจและฝึกปฏบิ ตั ิในทักษะพนื้ ฐานของกฬี าเทเบลิ เทนนสิ
เพ่อื เป็นพนื้ ฐานสาคญั ท่ีนาไปสู่ทักษะการเล่นในข้นั ตอนท่ซี ับซอ้ นและสงู ขนึ้ ต่อไป โดยผูเ้ รม่ิ ฝกึ หัดควรเร่ิมฝึก
จากทกั ษะการสรา้ งความค้นุ เคยในกีฬาเทเบิลเทนนสิ รวมท้ังทักษะการจับไมเ้ ทเบลิ เทนนสิ ให้ถกู ต้องเปน็
เบือ้ งต้นก่อน เพอ่ื เปน็ จดุ เริ่มตน้ ในการเรียนเทเบิลเทนนิส ในขัน้ ตอนทีย่ ากขนึ้ ใหม้ ปี ระสิทธิภาพ

มาตรฐานการเรยี นรู้ / ตัวช้วี ัด
พ 3.1 เข้าใจ มที กั ษะในการเคลอ่ื นไหว กจิ กรรมทางกาย การเลน่ เกม และกีฬา
ม.1/1 เพมิ่ พูนความสามารถของตนตามหลักการเคลอื่ นไหวท่ีใชท้ ักษะกลไกและทักษะ
พื้นฐานทีนาไปสกู่ ารพฒั นาทักษะการเลน่ กีฬา
ม.1/2 เลน่ กฬี าไทยและกีฬาสากลประเภทบุคคลและทมี โดยใช้ทักษะพน้ื ฐานตามชนดิ กีฬา
ม.1/3 ร่วมกจิ กรรมนนั ทนาการอย่างน้อย 1 กจิ กรรมและนาหลกั ความรทู้ ่ีได้ไปเช่อื มโยง
สมั พนั ธก์ ับวชิ าอ่ืน
พ 3.2 รักการออกกาลังกาย การเลน่ เกม และการเลน่ กฬี า ปฏบิ ตั เิ ป็นประจาอย่างสม่าเสมอ
มวี ินยั เคารพสิทธิ กฎ กตกิ า มีน้าใจนักกฬี า มจี ิตวญิ ญาณในการแข่งขัน และชนื่ ชมใน
สนุ ทรยี ภาพ ของการกฬี า
ม.1/3 ปฏิบตั ิตามกฎ กติกา และขอ้ ตกลงตามชนิดกฬี าทเ่ี ลือกเลน่
ม.1/5 รว่ มมอื ในการเลน่ กีฬา และการทางานเป็นทีมอย่างสนกุ สนาน
ม.1/6 วิเคราะห์เปรยี บเทียบและยอมรับความแตกตา่ งระหวา่ งวธิ กี ารเล่นกฬี าของตนเองกบั ผู้อ่นื

จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
1. นกั เรยี นสามารถอธบิ ายถงึ การจับไม้เทเบิลเทนนสิ ไดถ้ ูกตอ้ ง (K)
2. นกั เรียนสามารถปฏิบัติทักษะการจับไม้ การประคอง และการเดาะลูกเทเบิลเทนนสิ ได้ถกู ต้อง (P)
3. นักเรียนสามารถเข้ารว่ มกิจกรรมเก่ยี วกับการสร้างความค้นุ เคยของกีฬาเทเบลิ เทนนิสกับผ้อู นื่ ได้

ดว้ ยความสนใจใฝร่ ู้ (A)

สมรรถนะสาคัญของผเู้ รยี น
- ความสามารถในการส่ือสาร
- ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต

- ความสามารถในการแกป้ ญั หา  แทน ครู
คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์
แทน นักเรยี น
- ซ่อื สัตย์ สุจริต
- ใฝ่เรยี นรู้
- ม่งุ มนั่ ในการทางาน

กระบวนการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้
1. ขัน้ นา ( 5 นาที )
1.1 สารวจนกั เรียน ให้นักเรยี นเขา้ แถวตอน 5 แถว



เพ่อื ใหค้ รสู ารวจการแตง่ กาย การลา การขาด ของนักเรยี น

1.2 ขออาสาสมคั รนักเรียน 1 คน ออกมานาเพ่ือนอบอุน่ รา่ งกาย (Warm Up) โดยใชร้ ปู แบบท่าทางตา่ ง ๆ
ท่ีเราทามาในทุก ๆ ครง้ั โดยจะเริม่ จากศรี ษะลงมาถึงข้อเทา้ เพ่อื ใหร้ ่างกาย กล้ามเน้ือและข้อตอ่ เตรยี มพร้อม
ต่อการเลน่ กจิ กรรมหรือออกกาลังกาย

2. ข้นั อธบิ าย/สาธิต

2.1 ครอู ธิบายวธิ กี ารจับไมเ้ ทเบิลเทนนสิ

การจับไม้แบบจับมอื (Chake hands Grip)

เป็นการจับไมท้ ี่เปน็ ทนี่ ิยมกนั อย่างแพร่หลาย มีวธิ ีปฏิบตั ิดังน้ี

1. จบั ที่ดา้ มจบั เสมือนกาลงั จะจบั มือกับด้ามจบั ไม้เทเบลิ เทนนิส

2. จบั ให้นิ้วช้แี ละน้วิ หัวแมม่ ือวางชดิ ขอบไมด้ ้านล่างท่อี ยตู่ ิดกบั ดา้ มจับกน้าไม้ทีน่ ิว้ ช้วี างทาบอยู่

โดยด้านหลงั มือที่นิ้วช้ที าบอยู่จะเรียกว่า แบคแฮนด์ ส่วนด้านหนา้ ท่นี ว้ิ หัวแมม่ ือวางทาบนน้ั
เรยี กว่า โฟรแ์ ฮนด์ ส่วนนิว้ ที่เหลอื สามนิว้ นั้นใหก้ ารอบด้ามจับของไมเ้ ทเบิลเทนนสิ

การจับไม้แบบปากกา (Penhold Grip)
1. จับไม้เทเบิลเทนนสิ โดยให้นวิ้ ช้แี ละนิว้ หวั แม่มอื โอบรอบดา้ มไม้เทเบิลเทนนสิ โดยมลี กั ษณะ
คลา้ ยๆการจับปากกา
2. น้วิ หัวแม่มอื และนิ้วชีน้ ้ันจะชิดกันท่ดี า้ มจบั และนิ้วทง้ั สองอยู่ด้านบนจะเรียกโฟร์แฮนด์
3. นวิ้ ที่เหลอื ทง้ั สามน้ิว จะวางอย่ดู า้ นหลังของไม้ ซึง่ เป็นดา้ นท่ีไม่ใชส้ าหรบั ตลี กู

3. ข้นั ปฏบิ ตั ิ
3.1 ให้นกั เรียนสรา้ งความคุ้นเคยกบั ไม้เทเบิลเทนนสิ โดยการยืนอยู่กบั ที่ของตนเอง พร้อมกับจบั ไม้
เทเบลิ เทนนสิ ในแบบ Chake hands Grip และฝึกตแี บบโฟร์แฮนด์/แบ็คแฮนด์ อยกู่ ับที่
3.2 ครูสงั เกตนกั เรยี นที่ปฏิบัตทิ กั ษะไม่ถูกตอ้ ง และเขา้ ไปแก้ไขใหถ้ ูกตอ้ ง
3.3 การสร้างความคุ้นเคยต่อมา คือ การใหน้ ักเรยี นนาลูกเทเบลิ เทนนิสวางบนไม้ เปน็ เวลา 1 นาที โดย
ไมใ่ หล้ กู ตกลงพน้ื ซ่งึ จะฝึกอยู่กบั ท่ขี องตนเอง
4. ขน้ั นาไปใช้
4.1 ครูจะมีกจิ กรรมใหน้ ักเรยี นเลน่ โดย ครูจะวางกรวย แถวละ 2 กรวย และให้นกั เรียนไดส้ รา้ ง
ความคุ้นเคยแบบเคล่ือนท่ี ซึง่ ใหน้ กั เรียนเลีย้ งลกู เทเบลิ เทนนิส บนหน้าไม้และให้นักเรียนเดินวนกรวยและมาส่ง
ตอ่ ให้เพือ่ นคนตอ่ ไป
โดยมีเงือ่ นไขว่า หา้ มให้ลกู ตกลงพน้ื หากตกลงพ้นื ต้องต้องกลับมาเรมิ่ ทจี่ ุดเริ่มต้นใหม่ !!! และหากแถวไหนมี
นักเรยี นทาครบทกุ คนแลเสร็จก่อน ให้นั่งลง ถือว่าแถวตอนแถวน้ันชนะ

4.2 การสร้างความคุ้นเคยรูปแบบถัดมา เป็นการฝกึ เคาะลูกเทเบิลเทนนิสบนหน้าไม้และหลังไม้
รวมทง้ั เคล่อื นท่รี อบกรวยอกี ด้วย ซง่ึ เงือ่ นไขรปู แบบนี้คือ ในการเคาะบนสลบั กันหน้าไม้และหลังไม้ เดินรอบ
กรวยกลบั มาส่งต่อเพ่ือนโดยการห้ามใชม้ อื ในการหยิบสง่ ลูก นกั เรียนต้องทาการเคาะลูกสง่ ตอ่ เพื่อนให้ได้
หากมีการสง่ ลูกผดิ เง่ือนไข หรือมีการทาลกู ตกพื้น ใหน้ ักเรียนคนนน้ั เดนิ วนรอบกรวยอีก1 รอบ ทาจนกวา่ จะ
ครบทุกคนเชน่ เดมิ ..

5. ขั้นสรุป
5.1 นกั เรยี นรวมแถว ครแู ละนกั เรยี นร่วมกันซักถาม ตอบปัญหา หรือแสดงความคดิ เห็น เกี่ยวกับ
เร่ืองการสร้างความคุ้นเคยกับลกุ เทเบิลเทนนิส และวิธกี ารจับไม้ท่ีถกู ต้อง
5.2 ครูอธิบายเพิ่มเตมิ และเน้นยา้ เรื่องสุขปฏบิ ัติ (เชน่ การล้างมือ เป็นต้น)
5.3 ครูชแ้ี จงเกณฑก์ ารใหค้ ะแนน และวิธีการทดสอบเดาะลูกเทเบลิ เทนนิส
5.4 ให้นกั เรยี นเกบ็ อปุ กรณ์ ลา้ งมอื ล้างหน้า เตรยี มความพร้อมเรยี นในชชว่ั โมงถัดไป
สื่อ/แหลง่ เรยี นรู้
สือ่
- นกหวีด
- ไมเ้ ทเบลิ เทนนิส
- ลกู เทเบลิ เทนนสิ
แหล่งเรียนรู้
-
การวัดและประเมินผล
การวัดประเมนิ ตามจดุ ประสงค/์ ตัวชวี้ ัด

จุดประสงค์ วธิ ีการวัดและ เครอื่ งมอื วดั เกณฑ์การให้คะแนน เกณฑ์การผ่าน

ประเมินผล

นกั เรียนสามารถอธบิ ายถงึ แบบทดสอบ แบบทดสอบ ตอบถูก ข้อละ 1 คะแนน คะแนนเตม็ 10

การจับไมเ้ ทเบิลเทนนสิ ได้ แบบประเมิน เกินกวา่ 5
ทกั ษะ คแนนถอื วา่ ผ่าน
ถกู ต้อง (K)
ต่ากวา่ 10 คะแนน = ปรบั ปรงุ 10 คะแนนขึน้
นักเรยี นสามารถปฏิบัติ การทดสอบ
10-13 คะแนน = พอใช้ ไป
ทักษะการจบั ไม้ การ ทกั ษะ 14-17 คะแนน = ดี
18-20 คะแนน = ดีมาก
ประคอง และการเดาะลูก

เทเบิลเทนนสิ ได้ถูกต้อง

(P)

นกั เรยี นสามารถเขา้ รว่ ม การสังเกต แบบประเมนิ 3 คะแนน = ดเี ย่ยี ม ไดร้ ะดบั ผ่านข้นึ
คุณลักษณะ 2 คะแนน = ดี ไป
กิจกรรมเก่ยี วกับการสรา้ ง พฤติกรรม อนั พึงประสงค์ 1 คะแนน = ผ่าน

ความค้นุ เคยของกีฬา 0 คะแนน = ไม่ผา่ น

เทเบลิ เทนนสิ กับผู้อื่นได้

ดว้ ยความสนใจใฝร่ ู้ (A)

ภาคผนวก

แบบทดสอบ หน่วยการเรยี นรู้ที่ 1 การสรา้ งความคุ้นเคย

สาระการเรยี นรสู้ ขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา รายวชิ า พลศึกษา (เทเบลิ เทนนสิ ) รหสั วิชา พ 21101

ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 1 จานวน 10 ขอ้ คะแนนเต็ม 10 คะแนน เวลา 30 นาที

คาชี้แจง ให้นักเรยี นเลือกคาตอบท่ถี ูกตอ้ งท่สี ดุ เพียงข้อเดียว

1. การฝกึ ซ้อมควรเริม่ ตน้ จากข้อใด 6. การเริม่ ตน้ การเลน่ กฬี าเทเบิลเทนนิส ควรทา

ก. การโตล้ กู สง่ิ ใดเปน็ ลาดับแรก

ข. การจบั ไม้ ก. สรา้ งความคุ้นเคยกบั ชดุ ท่ใี ส่

ค. การเดาะลูก ข. สรา้ งความคนุ้ เคยกบั ลกู เทเบิลเทนนิส

ง. การวอรม์ อัพร่างกาย ค. สร้างความค้นุ เคยกับสนามเทนนิส

2. การจับไม้ ที่ใชใ้ นการเดาะลูกท้ังหน้ามือและ ง. สร้างความคุ้นเคยกบั คู่แข่งขนั

หลงั มอื บนอากาศ ควรจับแบบใด 7. ทิศทางการเดาะลูกเทเบลิ เทนนิส ควรไปใน

ก. แบบจับมอื ทศิ ทางใด

ข. แบบปากกา ก. แนวตรง

ค. ถูกทง้ั ขอ้ ก. และ ข. ข. แนวดิง่

ง. จบั ตามทีถ่ นัด ค. แนวเฉยี ง

3. กฬี าเทเบิลเทนนสิ มีชือ่ เรียกอีกอยา่ งหน่ึงวา่ ง. ส้นั สลบั ยาว

อะไร 8. การจบั ไมใ้ นการเดาะลกู ควรใหไ้ ม้อยู่ในระดับใด

ก. เทนนิส ก. เอว

ข. ปิงปอง ข. หนา้ อก

ค. แบตมินตัน ค. คาง

ง. เทนนิสเทเบลิ ง. ไหล่

4. การจบั ไม้ในกฬี าเทเบิลเทนนสิ ทีเ่ ป็นทน่ี ยิ ม 9. การตลี กู แบบโฟร์แฮนด์ การจบั ไม้ต้องมลี ักษณะใด

มีก่ลี กั ษณะ ก. หลังมอื รับลูก

ก. 1 ลักษณะ ข. หงายมอื รบั ลูก

ข. 2 ลกั ษณะ ค. ถกู ทัง้ ขอ้ ก. และ ข.

ค. 3 ลักษณะ ง. ไมม่ ีข้อใดถกู

ง. 4 ลกั ษณะ 10. การฝึกทักษะเทเบลิ เทนนิส ขอ้ ใดสง่ ผลดตี ่อผู้เล่น

5. วิธีการจับไม้ท่ีถูกตอ้ ง จะทาใหส้ ง่ ผลอยา่ งไรตอ่ ผเู้ ล่น มากทส่ี ดุ

ก. ง่ายตอ่ การควบคุมลูก ก. ฝกึ ทกั ษะเฉพาะหนา้ มือ

ข. ทาใหเ้ กิดความปลอดภยั ข. ฝกึ ทักษะเฉพาะหลังมือ

ค. ทาให้ผเู้ ลน่ เกดิ ความมน่ั ใจในการเล่น ค. ฝกึ ทักษะให้ชานาญทงั้ สองดา้ น

ง. ถูกทกุ ข้อ ง. ฝึกเฉพาะด้านท่ีตนเองถนัด

1. ให้นกั เรียนจบั ไม้เทเบลิ เทนนิส พร้อมกับยืนทา่ เตรียมพร้อมในการเดาะลกู
2. ใหน้ กั เรียนใชไ้ มโ้ ยนลกู เทเบิลเทนนสิ ข้ึนและ การเดาะลูกเทเบลิ เทนนสิ โดยตอ้ งเดาะให้ตอ่ เนื่องและมีความ
สงู เหนือระดบั ศรี ษะของตนเอง จะนับเปน็ 1 คร้ัง
3. เมอื่ นักเรยี นทดสอบเดาะหน้ามือเสร็จสน้ิ แลว้ ให้นกั เรยี นทาการเดาะหลงั มือต่อเนื่อง
4. หากลกู ตกกอ่ นการผ่านเกณฑท์ ่ีกาหนด (อยา่ งน้อย 10 ครง้ั ) ใหน้ ักเรียนทาการขออนญุ าตทาการสอบใหม่
5.นกั เรียนจะทาการสอบเปน็ คู่ โดยมคี ู่คอยนับจานวนลกู ที่เดาะในการสอบแตล่ ะคร้ัง

หน้ามือ ลูกละ 0.5 คะแนน หลงั มือ ลกู ละ 0.5 คะแนน

เดาะทง้ั หมด 20 ลกู เดาะทงั้ หมด 20 ลูก

คะแนนเต็ม 10 คะแนน คะแนนเต็ม 10 คะแนน

รวมท้ังส้ิน 20 คะแนน

ตา่ กวา่ 10 คะแนน = ปรับปรงุ
10 - 13 คะแนน = พอใช้
14 – 17 คะแนน = ดี
18 – 20 คะแนน = ดมี าก

เลขท่ี ช่อื -สกุล ทกั ษะการประเมนิ รวม
เดาะหนา้ มือ เดาะหลังมือ 20 คะแนน
10 คะแนน 10 คะแนน


Click to View FlipBook Version