The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เรื่อง พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ห้องหนังสือ(ครูโบ้), 2021-01-13 21:49:42

หน่วยการเรียนรู้ที่ 3

เรื่อง พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี

วชิ าประวตั ิศาสตร์ 3หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่
ชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ 2
พัฒนาการของอาณาจกั รธนบรุ ี

โรงเรยี นบา้ นโนนสมบูรณ์
สงั กดั สานกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาอดุ ธานี เขต 2

๓หนว่ ยการเรียนรู้ที่

พฒั นาการของอาณาจักรธนบรุ ี

จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้
๑. วเิ คราะห์พัฒนาการของอาณาจกั รธนบรุ ใี นดา้ นตา่ งๆได้
๒. ระบภุ ูมปิ ัญญาและวฒั นธรรมไทยสมัยธนบรุ ี และอทิ ธิพลของภมู ิปัญญาดังกลา่ วต่อการพฒั นาชาติไทยในยคุ ต่อมาได้

การสถาปนาอาณาจกั รธนบุรี
แผนที่แสดงอาณาเขตกรุงธนบรุ ีในสมยั สมเด็จพระเจ้าตากสนิ มหาราช

คลองบางกอกนอ้ ย คลองบางลาพู

คลองบางกอกน้อย ชุมชนลาว
ชุมชนมลายู
วัดสลกั
วดั อมรนิ ทราราม วดั ระฆงั ชุมชนจนี เรอื นพระยาจักรี
ชุมชนเวยี ดนาม
คลองมอญ วัดโพธิ์
ทีอ่ ย่อู าศัยของขุนนาง

คลองนครบาล

วดั ท้ายตลาด

วดั แจง้ พระราชวงั พระเจา้ กรงุ ธนบรุ ี

เหตุผลของการเลอื กต้งั กรงุ ธนบรุ เี ปน็ ราชธานี
๑ กาลังไพรพ่ ลของพระยาตาก (สนิ ) ไมม่ ากพอจะรกั ษากรุงศรีอยุธยา
๒ กรงุ ธนบุรตี ้ังอย่ไู มห่ า่ งไกลจากกรุงศรอี ยธุ ยา
๓ กรุงศรอี ยุธยาทรุดโทรมจนยากจะฟ้ืนฟขู ึ้นใหม่

ปจั จัยท่มี ีผลตอ่ ความเจรญิ รงุ่ เรืองของอาณาจักรธนบุรี

ความเขม้ แขง็ ทางด้านการทหาร นโยบายฟน้ื ฟูเศรษฐกิจ นโยบายฟน้ื ฟูพระพุทธศาสนา

• อนั เปน็ ผลมาจากการรวมชุมนุมต่างๆ • เช่น การแก้ปัญหาขาดแคลนขา้ วสาร • โดยสมเดจ็ พระเจา้ ตากสินมหาราช
เขา้ มาอยู่ในอาณาจกั ร นอกจากนยี้ งั มี การสง่ เสริมการทานา เพาะปลกู ทรงฟนื้ ฟคู ณะสงฆ์ทเ่ี ส่อื มโทรมลงไปมาก
แม่ทัพท่ีมีความสามารถหลายคน เช่น ทาใหเ้ ศรษฐกจิ ของธนบรุ ที ีต่ กต่าใน เมอ่ื คราวสงครามเสียกรุงศรีอยธุ ยาให้
สมเด็จเจ้าพระยามหากษตั รยิ ศ์ กึ ระยะแรก การสถาปนาสามารถฟืน้ ตวั กลบั มาเจรญิ รุ่งเรอื งดังเดมิ
เจ้าพระยาสรุ สีห์ เป็นตน้ ไดอ้ ย่างรวดเรว็

พัฒนาการทางประวตั ิศาสตร์ของอาณาจักรธนบรุ ี

พฒั นาการดา้ นการเมืองการปกครอง

• ภายหลงั พระยาตาก (สนิ ) กอบก้เู อกราช ไดส้ ถาปนากรุงธนบุรีเป็นราชธานี พรอ้ มกับกระทาพิธบี รมราชาภิเษกขน้ึ เปน็
พระมหากษัตริย์ หวั เมอื งตา่ งๆ ทรี่ อดพน้ จากการรุกรานของพมา่ กพ็ ยายามตง้ั ตัวเปน็ ใหญ่ จนกระทง่ั มีชุมนุมต่างๆ ทต่ี ัง้ ตวั เป็นใหญ่
ซึ่งตอ่ มาสมเดจ็ พระเจ้าตากสินมหาราชทรงปราบปรามชุมนมุ ต่างๆ ลงไดใ้ นทีส่ ดุ มที ง้ั หมด ๖ ชุมนุม ไดแ้ ก่

ชมุ นุมเจ้าพระฝาง

ชมุ นมุ พระยาตาก (สิน)

ชุมนมุ เจา้ นครศรีธรรมราช

ชมุ นุมพระยาพิษณุโลก

ชมุ นมุ เจ้าพมิ าย

ชมุ นมุ สุกี้พระนายกอง

รูปแบบการปกครองสมัยธนบุรี

การบรหิ ารราชการแผ่นดนิ สว่ นกลาง

ยงั คงยึดแบบอยา่ งสมยั อยธุ ยาตอนปลาย

สมุหพระกลาโหม ดแู ลงานฝ่ายทหารท่วั ไป

สมุหนายก ดูแลงานฝ่ายทหารท่ัวไปดูแลหัวเมืองฝ่ายเหนือท้งั ฝา่ ยทหารและพลเรอื น ดแู ลจตสุ ดมภ์
โดยเสนาบดกี รมคลังรบั ผดิ ชอบกรมคลังและหวั เมืองชายทะเลตะวนั ออก และหวั เมือง
ฝา่ ยใต้ ท้งั ฝา่ ยทหารและพลเรอื น

การบรหิ ารราชการแผน่ ดินสว่ นหัวเมอื ง

ยงั คงยดึ แบบอย่างสมยั อยธุ ยาตอนปลาย

หัวเมอื งชัน้ ใน หวั เมอื งชั้นนอก หวั เมืองชัน้ ใน
• มผี ูร้ ัง้ เมอื งและคณะกรมการเมืองรับนโยบาย และคาส่งั จากเสนาบดจี ากส่วนกลาง
ราชธานี • จัดเป็นเมอื งจตั วา

หัวเมืองประเทศราช หัวเมืองช้ันนอก (เมืองพระยามหานคร)
• มเี จา้ เมืองปกครองพรอ้ มทงั้ คณะกรมการเมือง
• มจี ตสุ ดมภเ์ หมอื นราชธานี มเี มืองใหญน่ อ้ ยขนึ้ ตรงอีกตอ่ หนึ่ง
• หวั เมอื งเหล่านแ้ี บง่ เป็นหวั เมอื งเอก โท ตรี

หวั เมืองประเทศราช
• ตอ้ งส่งเคร่อื งราชบรรณาการต้นไมเ้ งนิ ต้นไมท้ องมาถวายพระมหากษตั รยิ ์ ทกี่ รงุ ธนบุรี
• เมืองสาคัญ เชน่ กมั พชู า หลวงพระบาง เวยี งจันทน์ จาปาศกั ดิ์

พัฒนาการดา้ นเศรษฐกิจ การทาสงครามปราบชุมนมุ การใช้จ่ายทรพั ย์สิน
สาเหตสุ าคญั ของปัญหาเศรษฐกจิ และรบกบั พม่า ในด้านตา่ งๆ จานวนมาก

การกวาดต้อนและเสบยี งอาหารของพมา่ การปราบปรามโจรผ้รู ้าย
การส่งเสริมให้พ่อคา้
นโยบายแกไ้ ขปัญหาเศรษฐกิจ การใหข้ ้าราชการทานาปีละ ๒ ครง้ั เขา้ มาค้าขายมากขึ้น
การจบั หนูมาส่งกรมพระนครบาล
การซอื้ ขา้ วมาแจกใหแ้ ก่ราษฎร

การประมูลผูกขาด
เก็บคา่ ภาคหลวง

พฒั นาการดา้ นสงั คม

องค์ประกอบของโครงสรา้ งทางสงั คมสมยั ธนบรุ ี

พระมหากษัตรยิ ์ พระบรมวงศานวุ งศ์

ทรงเป็นพระประมขุ ของราชอาณาจักร มพี ระราชอานาจ พระญาติใหญ่นอ้ ยของพระมหากษัตรยิ ์ เรยี กวา่ เจา้ นาย
สงู สดุ มสี ถานะเปน็ สมมตเิ ทพและธรรมราชาเช่นเดียวกับ มศี ักดินาแตกต่างกันออกไป
สมยั อยุธยา
ขุนนาง
พระภกิ ษสุ งฆ์
บุคคลท่รี ับราชการแผ่นดนิ มที ัง้ ศักดินา ยศ ราชทินนาม
เป็นบคุ คลทส่ี บื ทอดพระพุทธศาสนา ไดร้ ับ การยกย่อง และตาแหน่ง
และศรทั ธาจากบุคคลทกุ ชนช้ัน
ไพร่

ราษฎรท่ตี อ้ งถกู เกณฑแ์ รงงานให้กบั ราชการทงั้ ในยามปกติ
และยามสงคราม ตอ้ งสังกัดมลู นาย

ทาส

ชนช้นั ตา่ ทส่ี ุดในสงั คม ไม่มีกรรมสิทธ์ใิ นแรงงานและชีวิต
ตนเอง ตอ้ งตกเป็นของนายจนกวา่ จะได้ไถ่ตัว

พัฒนาการดา้ นความสมั พนั ธ์ระหวา่ งประเทศ

ความสมั พันธก์ บั ล้านนา

• เป็นการเผชิญหนา้ ทางทหารและการขยายอานาจ
• พ.ศ. ๒๓๑๓-๒๓๑๔ สมเด็จพระเจา้ ตากสนิ มหาราช ทรงสง่ กองทพั ไปตีเมอื งเชียงใหม่ แต่ไม่สาเรจ็
• พ.ศ. ๒๓๑๗ สมเด็จพระเจ้าตากสนิ มหาราช ทรงสง่ กองทัพไปตีเชยี งใหม่ครัง้ ที่ ๒ ได้สาเรจ็ และทรงให้เจา้ นายล้านนาเปน็

ผ้ปู กครองล้านนากันเอง
• พ.ศ. ๒๓๑๙ พมา่ ยกทพั มาตีเชียงใหม่ เจ้าพระยาสรุ สหี ไ์ ด้คุมทพั หัวเมอื งเหนือ ยกไปตเี ชยี งใหมค่ นื ได้สาเรจ็

ความสัมพนั ธ์กับพม่า

• สว่ นใหญจ่ ะเป็นการเผชญิ หน้าทางทหาร
• สมยั ธนบุรี พม่าพยายามโจมตไี ทยต่อโดยมกี ารทาสงครามต่อกันถงึ ๑๐ ครั้ง ครั้งสาคญั เชน่

ศึกคา่ ยโพธส์ิ ามต้น พ.ศ. ๒๓๑๐
ศึกเชยี งใหม่ (ครั้งที่ ๒) พ.ศ. ๒๓๑๗
ศึกบางแกว้ เมอื งราชบรุ ี พ.ศ. ๒๓๑๗
ศกึ อะแซหว่นุ ก้ี พ.ศ. ๒๓๑๘ - ๒๓๑๙

ความสัมพนั ธก์ ับลา้ นช้าง

• เป็นการใหค้ วามช่วยเหลอื เกอ้ื กูลและการขยายอานาจ
• พ.ศ. ๒๓๑๙ เจ้าเมืองนางรองเปน็ กบฏหันไปสวามิภักดต์ิ ่อจาปาศักด์ิ สมเด็จพระเจ้าตากสนิ มหาราชจึงโปรดใหย้ กทัพไปปราบ

เจ้าเมืองนางรอง และตจี าปาศักดิ์ ทาใหล้ าวตอนใตข้ ้ึนกบั ไทย
• พ.ศ. ๒๓๒๑ เจา้ นครเวียงจนั ทน์ส่งกองทพั มาจบั พระวอ เสนาบดเี มอื งเวียงจนั ทน์ทข่ี อสวามิภกั ดิ์ต่อไทย โดยหนมี าอยู่ท่ีดอน

มดแดง จนพระวอเสียชีวิต สมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศกึ ได้เป็นแมท่ ัพไปตีเวียงจันทนไ์ ด้สาเรจ็ พรอ้ มท้ังได้อญั เชิญองค์
พระแก้วมรกตกับพระบางมายงั กรงุ ธนบุรี

ความสัมพนั ธ์กบั เขมร

• เปน็ การให้ความช่วยเหลอื และการขยายอานาจ
• พ.ศ. ๒๓๑๒ เขมรไมย่ อมสวามภิ กั ดิต์ ่อไทย ไทยจงึ ยกทพั ไปตีไดเ้ มอื งเสียมราฐและพระตะบอง
• พ.ศ.๒๓๑๓ เขมรยกทัพโจมตเี มืองตราด จันทบุรี แต่ถกู ไทยตแี ตกพ่ายไป ตอ่ มาไทยยกทพั ไปตีเขมรอกี จนได้ตีอีกหลายเมอื ง

และแตง่ ตงั้ ให้สมเดจ็ พระรามราชาครองเขมรและขึ้นตรงตอ่ ธนบรุ ี
• พ.ศ. ๒๓๒๓ เกดิ กบฏขน้ึ ในเขมร สมเดจ็ พระเจา้ ตากสินมหาราชจงึ โปรดให้เจ้าพระยามหากษตั รยิ ศ์ กึ เป็นแมท่ ัพไปตีเขมร

แต่ทางกรงุ ธนบรุ ีเกิดจลาจล จึงต้องยกทัพกลับ

ความสมั พันธ์กับหวั เมืองมลายู

• สมเด็จพระเจา้ ตากสนิ มหาราชทรงไม่มีเวลาพอที่จะไปปราบหัวเมืองมลายูใหม้ าอ่อนน้อมได้ มีเพยี งคดิ อบุ ายใหเ้ จ้าพระยา
นครศรธี รรมราชไปขอยมื เงนิ เมอื งไทรบุรีและเมอื งปตั ตานี สาหรับซื้อเครื่องอาวุธยทุ โธปกรณ์ เมืองละ ๑,๐๐๐ ชงั่ เพอ่ื หย่ัง
ท่าทขี องเมืองมลายทู ง้ั ๒ เมอื ง แต่ทัง้ เมืองไทรบุรีและเมอื งปตั ตานีก็ไม่ยอมใหย้ ืม สมเด็จพระเจา้ ตากสินมหาราชก็มไิ ด้ทรง
ยกทัพ ไปตีหัวเมืองมลายูแต่อย่างใด

ความสมั พนั ธ์กบั จีน

• ความสมั พันธ์เป็นการคา้ ในระบบบรรณาการ
• ภายหลังสมเด็จพระเจา้ ตากสนิ มหาราชข้นึ ครองราชสมบัติแลว้ ทรงสง่ ทูตไปจนี หลายครงั้ ใน พ.ศ. ๒๓๑๔ และ พ.ศ. ๒๓๑๘

แตจ่ ีนไมไ่ ด้ให้การรบั รองฐานะของพระองค์ เพราะเห็นว่าการข้ึนครองราชสมบัติไมถ่ กู ต้องและไมช่ อบธรรม แตก่ ็ยอมขาย
กามะถันและกระทะเหลก็ ให้ไทยนามาทาดินปืนและหล่อปืนใหญ่ กระท่งั ใน พ.ศ. ๒๓๒๔ จนี จึงยอมรับรองฐานะ

ความสมั พนั ธ์กับองั กฤษ

• ไทยในสมัยธนบุรี มคี วามสมั พันธก์ ับองั กฤษ โดยพอ่ คา้ อังกฤษช่อื รอ้ ยเอกฟรานซิส ไลต์ หรือไทยเรยี กวา่ กปิตันเหลก็ ได้จดั หา
อาวุธมาให้ไทยใช้ต่อสกู้ บั พม่า ภายหลัง ฟรานซิส ไลต์ ไดร้ บั พระราชทานยศเป็นพระยาราชกปติ นั

การเสือ่ มอานาจของอาณาจกั รธนบรุ ี

• เกดิ จากเหตกุ ารณจ์ ลาจลในกรงุ ธนบรุ ี หรือทเ่ี รยี กว่า กบฏพระยาสรรค์ ใน พ.ศ. ๒๓๒๕ โดยมีชาวกรงุ เก่ากลมุ่ หนง่ึ คิดกบฏโดย
ทาการปลน้ จวนผู้รกั ษากรุงเก่า ผรู้ กั ษากรุงเกา่ สู้ไม่ได้จงึ หนมี ายงั กรุงธนบุรี

• สมเด็จพระเจา้ ตากสินมหาราช มีรบั สั่งให้พระยาสรรคไ์ ปสบื สวนหาตวั ผรู้ า้ ย แต่พระยาสรรค์กลบั ไปเขา้ กบั พวกกบฏและคมุ
กาลังมาตีกรงุ ธนบรุ ี จนสามารถปล้นพระราชวงั ได้

• การจลาจลในธนบรุ ีคร้งั น้นั ทาใหส้ มเด็จเจ้าพระยามหากษัตรยิ ์ศึกตอ้ งยกทัพจากเขมรมาแก้ไขสถานการณ์ในกรุงธนบรุ ี
• สมเด็จพระเจา้ ตากสินมหาราชไดถ้ กู สาเร็จโทษและสวรรคตเมือ่ พ.ศ.๒๓๒๕ รวมพระชนมายุได้ ๔๘ พรรษา

ภมู ิปญั ญาและวัฒนธรรมไทยสมยั ธนบุรี

ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยในการพจิ ารณาทาเลที่ตงั้ ของราชธานี

• เมอื งธนบุรีตง้ั อยู่รมิ ปากแมน่ า้ เจ้าพระยา และมีป้อมปราการมาตัง้ แต่สมยั อยธุ ยา จึงชว่ ยป้องกันการโจมตขี องขา้ ศึกและตดิ ตอ่
ค้าขายทางทะเลได้สะดวก ภมู ิปญั ญาดงั กลา่ วมอี ิทธิพลต่อปจั จุบัน เชน่ การเลอื กทาเลสรา้ งท่าเรือแหลมฉบัง ฐานทพั เรือสตั หบี
เป็นตน้

ภมู ปิ ัญญาและวฒั นธรรมไทยในการปรบั ตัวเพื่อแก้ไขปญั หาในการดารงชวี ติ

• สมัยธนบรุ ใี นระยะแรกๆ ประสบกับภาวะสงครามและการขาดแคลนข้าว สมเดจ็ พระเจา้ ตากสินมหาราชจึงทรงแก้ไขปญั หา
การดารงชวี ติ หลายประการ เช่น ซ้ือขา้ วสารจากพอ่ คา้ สาเภาจนี มาแจกจ่ายให้แก่ราษฎร ทรงใหข้ ้าราชการและราษฎรจับหนู
ทกี่ ดั กินขา้ วมาสง่ กรมนครบาล ภูมิปัญญาดงั กล่าวมอี ทิ ธพิ ลต่อปัจจบุ ัน เช่น การทานาในทด่ี อนเพอื่ ขยายพ้ืนท่ีปลูกข้าว เปน็ ต้น
การทานาปลี ะ ๒-๓ ครงั้ เพือ่ เพ่ิมผลผลติ

ภมู ปิ ัญญาและวฒั นธรรมไทยในการปลกู ฝงั ศีลธรรมให้กบั สงั คม

• การวาดภาพเกย่ี วกับไตรภูมิหรอื โลกท้งั สาม ได้แก่ สวรรคภ์ มู ิ มนษุ ยภมู ิ และนรกภมู ิ เรียกวา่ สมดุ ภาพไตรภมู ิ เพอ่ื ปลูกฝงั ให้
คนไทย เช่อื ในเร่อื งบาปบุญคุณโทษ ภมู ิปัญญาดังกล่าวมอี ทิ ธิพลต่อสงั คมไทยในปจั จุบัน เชน่ มกี ารวาดภาพไตรภมู ิไวต้ ามผนัง
โบสถ์และวหิ ารตามวดั ต่างๆ เพื่อเตือนใจคนใหท้ าแตค่ วามดี ละเว้นความชวั่ เปน็ ต้น

สมดุ ภาพไตรภมู ิทเี่ ขียนข้ึนในสมัยสมเดจ็ พระเจา้ ตากสนิ มหาราช

ภมู ปิ ญั ญาและวัฒนธรรมไทยในการปรับตัวประสานสัมพนั ธ์กับชาวต่างชาติ

• สังคมไทยสมยั ธนบรุ ีไดม้ ีชาวต่างชาตอิ าศัยอยรู่ ่วมกับคนไทย เช่น ชาวจีน ชาวมอญ ซึง่ ตา่ งปรับตัวหลอมรวมกนั ไดด้ ้วยดี
ระหวา่ งคนไทยกับชนชาติต่างๆ ภมู ปิ ญั ญาดังกล่าวมอี ทิ ธิพลต่อปจั จบุ ัน โดยการโอบออ้ มอารขี องคนไทยตอ่ คนต่างชาติพนั ธุ์
ไดเ้ ปน็ วฒั นธรรมอนั ดีงาม ทส่ี บื ทอดมาจนถึงปัจจุบนั

ภูมปิ ัญญาและวฒั นธรรมไทยในดา้ นศิลปกรรม

• ผลงานศลิ ปกรรมท่สี าคญั มนี อ้ ย เชน่ การสร้างพระราชวงั กรงุ ธนบุรี วงั เจ้านาย วงั เดิม การบูรณปฏิสังขรณ์และสร้างวัดวา
อารามตา่ งๆ เชน่ วัดบางหวา้ ใหญ่ (วัดระฆังโฆษิตาราม) วัดแจง้ (วดั อรุณราชวราราม) วดั บางยีเ่ รือนอก (วัดอนิ ทาราม) รวมถงึ
ภาพเขยี นในหนงั สอื สมุดไทยเรอ่ื งไตรภมู ิ ภมู ปิ ัญญาดงั กลา่ วมีอทิ ธิพลต่อปจั จบุ นั โดยเป็นแหล่งเรียนรูท้ างด้านประวตั ิศาสตร์
และศิลปะของไทย ส่งผลดีต่อการท่องเทย่ี วไทยในปัจจุบัน


Click to View FlipBook Version