The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

3.แผนการนิเทศการศึกษา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by zakreeya.h, 2021-04-25 22:52:09

3.แผนการนิเทศการศึกษา

3.แผนการนิเทศการศึกษา

คำนำ

แผนการนิเทศการศึกษาของผู้ฝึกประสบการณ์นิเทศการศึกษา สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษา
สงขลา เขต 1 เล่มน้ี จัดทาข้นึ สาหรบั ใชเ้ ป็นเครือ่ งมือในการนิเทศแบบ PDCA เพ่ือพัฒนาการใช้ส่ือ DLTV ในการใช้
สื่อ DLTV ในการจดั การเรียนการสอนของครกู ลุม่ สาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่5 โรงเรยี น
บ้านกลาง สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 1 ให้เป็นไปตามมาตรฐานการจัดการศึกษาข้ัน
พ้นื ฐานตอบสนองนโยบายรัฐบาลในยคุ ไทยแลนด์ 4.0

เอกสารเลม่ นป้ี ระกอบด้วย บทนา วสิ ัยทัศน์ พนั ธกิจ ขอบข่ายการนิเทศ วิธดี าเนนิ การนิเทศ และเครื่องมือ
นเิ ทศ ทีผ่ นู้ เิ ทศจะไดน้ าไปใชป้ ระกอบการนเิ ทศการศึกษา

ผู้จัดทาหวังเป็นอยา่ งย่ิงว่า แผนการนิเทศการศึกษาเล่มนจ้ี ะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
ของสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 1 และหน่วยงานที่เก่ียวข้องในการประสานการ
ปฏิบตั งิ านใหส้ อดคล้องกบั ภารกิจ และขอบข่ายการนเิ ทศ เพื่อเสริมสร้างประสทิ ธิภาพการจดั การศกึ ษาต่อไป

ซคั รยี า หมาดบากา
ผู้ฝึกประสบการณน์ ิเทศการศกึ ษา
สานักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาสงขลา เขต 1

สำรบัญ

หน้ำ

คำนำ................................................................................................................................................... ก
สำรบัญ............................................................................................................................................... ข

สว่ นท่ี 1 บทนำ.................................................................................................................................. 1
ความเปน็ มาและความสาคัญของปัญหา.......................................................................................... 1
วตั ถปุ ระสงค์ของการนิเทศ.............................................................................................................. 4
ขอบเขตของการนเิ ทศ..................................................................................................................... 4

สว่ นท่ี 2 วิสยั ทัศน์ พนั ธกจิ และขอบข่ำยกำรนิเทศ....................................................................... 5
วสิ ยั ทัศน์สานกั งานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 1 6
แผนงานของสานกั งานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษาสงขลา เขต 1 6
ขอบเขตของการนเิ ทศ…………………………………………….......................……………………..……………… 8
9
สว่ นท่ี 3 วธิ ีดำเนินกำรนิเทศ........................................................................................................... 9
วธิ ีดาเนินการ............................................................................................................................. 11
ปฏิทินการนเิ ทศ ............................................................................................................................. 12
13
สว่ นท่ี 4 ส่ือ เครอื่ งมอื นิเทศ.........................................................................................................… 14
ภำคผนวก………………..………………….……………………………………………………….....………..………..……… 14
16
ภาคผนวก ก 20
- แผนการนเิ ทศการศกึ ษา..................................................................................................... 24
- เครื่องมือในการนเิ ทศ..........................................................................................................

ภาคผนวก ข ประมวลภาพ............................................................................................................

สว่ นที่ 1
บทนำ

ควำมเป็นมำและควำมสำคญั ของปัญหำ

การเปลีย่ นแปลงของเทคโนโลยกี ารสื่อสารเกิดข้ึนค่อนขา้ งรวดเร็วและสง่ ผลกระทบต่อการดารงชีวติ เป็น
อย่างมาก โดยเฉพาะคณุ ภาพของคนท่เี ป็นกาลังสาคัญในการพัฒนาสงั คมและประเทศ เทคโนโลยกี ารสื่อสารจึงเป็น
ปัจจยั สาคัญในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา โดยเฉพาะในเรอ่ื งการนามา ใชใ้ นการจดั การเรียนการสอนให้กับผเู้ รยี น
ให้เกิดการเรยี นรู้อยา่ งมีคณุ ภาพ

สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี ทรงมพี ระปณิธานอนั แนว่ แน่ ในการทจ่ี ะนาเทคโนโลยี
สารสนเทศมาใชใ้ นการยกระดบั คณุ ภาพชีวิตและเพ่ิมโอกาสทางการศึกษาของประชาชน ทรงเจริญรอยตามเบื้อง
พระยุคลบาทของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ ัวท่ีได้ทรงใชเ้ ทคโนโลยสี ารสน เทศหลายรปู แบบในโครงการพฒั นา
ประเทศ เพอ่ื นาความรม่ เย็นเป็นสุขให้เกิดแก่ประชาชนชาวไทย

งานวิจัยของสถาบันวจิ ยั เพื่อการพฒั นาประเทศไทย (ทีดีอาร์ไอ) ชี้ให้เหน็ วา่ สาเหตหุ ลักสว่ นหนง่ึ ของ
ปัญหา คุณภาพการศึกษาไทย คือ การทร่ี ะบบการศึกษาของไทยในปัจจบุ ันเป็นระบบทีไ่ ม่เอ้อื ต่อการสร้าง ความ
รบั ผิดชอบ (Accountability) หลักสตู รและตาราเรยี นของไทยไม่สอดคล้องกับ การพัฒนาทกั ษะแห่ง ศตวรรษที่
21 (21st Century Skills) ซึ่งมผี ลทาใหก้ ารเรียนการสอน ตลอดไปจนถึงการทดสอบยังคงเนน้ การจดจาเน้ือหา
มากกวา่ การเรยี นเพ่ือให้มคี วามรคู้ วามเข้าใจอย่างแทจ้ ริง อกี ทัง้ สภาพการจดั การศกึ ษาของ ประเทศไทยในปจั จุบัน
กาลงั ประสบปัญหาในด้านคุณภาพของนักเรียน ปรากฎอยูใ่ นหลายพื้นท่ี ซงึ่ มสี าเหตุจาก การขาดครูหรอื ครไู ม่ครบ
ช้นั ไม่ครบสาระการเรียนรู้ ครมู ีประสบการณ์หรือทักษะการจัดการเรียนรนู้ อ้ ย ขาดส่ือ อุปกรณ์ทที่ ันสมัยและการ
เข้าถงึ ไดล้ าบาก ครมู ีเวลาในการจดั การเรยี นการสอนน้อย กิจกรรมของโรงเรียนมมี าก ทรัพยากรท่ีมีกระจัด
กระจายไม่สามารถนามาใช้ประโยชนไ์ ดอ้ ยา่ งคุ้มค่า และการแก้ปญั หาต่างๆก็ทาได้ในวงจากดั

โครงการการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม เร่ิมในปี พ.ศ. 2538 เพื่อแก้ไขปัญหาการขาดแคลนครูในท้องที่
ชนบทหา่ งไกล และยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษาของโรงเรยี น โดยการถา่ ยทอดสดจากโรงเรียนวังไกลกังวล ใน
พระบรมราชูปถัมภ์ ในรายการสอนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 1 – 6 จานวน 6 ช่องสัญญาณ เป็นปฐมฤกษ์ในวันท่ี 5
ธันวาคม 2538 เพ่อื เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ในวโรกาส
ทรงครองสิริราชสมบัติครบ 50 ปี ในปีกาญจนาภิเษก พ.ศ. 2539 โดยพระองค์ได้พระราชทานทุนประเดิม 50
ล้านบาท ท่ีบรษิ ทั ทีโอที จากัด (มหาชน) หรอื องคก์ ารโทรศัพท์แห่งประเทศไทยในขณะนนั้ ทลู เกล้า ฯ ถวายเพ่อื ต้ัง
มูลนิธิการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม และทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ พระราชทานตราสัญลักษณ์เฉลิมฉลองสิริ
ราชสมบัติ 50 ปี ให้เป็นตราของมูลนิธิ ฯ เป็นการพระราชทานการศึกษาไปสปู่ วงชนอย่างท่ัวถึงและเท่าเทียม และ
ได้มีการก่อต้งั มลู นธิ ิการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทยี มข้ึนในปี พ.ศ. 2539 และเมื่อวนั ท่ี 1 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2545
ได้ออกอากาศการเรียนการสอนในระดับช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 – 6 โดยมีนายขวัญแก้ว วัชโรทัย รองเลขาธิการ
พระราชวงั ฝา่ ยกจิ กรรมพเิ ศษ ดารงตาแหน่งประธานมูลนธิ ิการศกึ ษาทางไกลผา่ นดาวเทียม เปน็ ท่านแรก

มูลนิธิการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ได้สนองแนวพระราชดาริด้านการศึกษาของพระบาทสมเด็จพระ
ปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร โดยการถ่ายทอดสดการเรียนการสอนและวิชาชีพผ่านทางโทรทัศน์
15 ช่องสัญญาณ ตลอด 24 ชั่วโมง จากสถานีวิทยุโทรทัศน์การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม อาเภอหัวหิน จังหวัด
ประจวบคีรีขันธ์ เพื่อแก้ปัญหาขาดแคลนครู ครูไม่ครบชั้น และครูสอนไม่ตรงวิชาเอก โดยเฉพาะในโรงเรียนขนาด
เล็กและตั้งอยู่ในชนบทห่างไกลที่มีเป็นจานวนมาก ให้สามารถเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพได้อย่างท่ัวถึงและเท่า
เทยี ม รวมท้ังเพ่ือการศึกษาของประชาชนท่ัวไป ตลอดจนการพัฒนาครูต้นทางและปลายทางทว่ั ประเทศให้มีความรู้
ความสามารถในการปฏิบัติงานสอนได้อย่างถูกต้องและมีคุณภาพ การดาเนินงานดังกล่าวทามาอย่างต่อเน่ืองกว่า
20 ปี

มาถึงในปัจจุบัน ด้วยพระอัจริยภาพและสายพระเนตรอันยาวไกลของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหา
วชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ที่ทรงเห็นว่าการพัฒนาการศึกษาคือการสร้างความม่ันคงของชาติและด้วยพระ
ร า ช ป ณิ ธ า น อั น แ น่ ว แ น่ ใ น ก า ร สื บ ส า น แ ล ะ พั ฒ น า ต่ อ ย อ ด ง า น ข อ ง พ ร ะ ร า ช บิ ด า ใ น ทุ ก ด้ า น
ซึ่งหนึ่งในโครงการพระราชดารขิ องล้นเกลา้ ฯ รัชกาลท่ี 9 ที่มีความสาคัญ คือ การจัดการศึกษาทางไกลภายใต้การ
ดาเนนิ งานของมลู นธิ ิการศึกษาทางไกลผา่ นดาวเทยี ม ในพระบรมราชูปถัมภ์

ปัจจุบันสานักงานมูลนิธิการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ในพระบรมราชูปถัมภ์ ตั้งอยู่เลขท่ี 214
ถนนนครสวรรค์ แขวงวัดโสมนัส เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพมหานคร 10100 โทรศัพท์ 0 2282
6734 โทรสาร 0 2282 6735 สายด่วน 1399 E-mail : [email protected] และสถานีวทิ ยุโทรทัศนก์ ารศกึ ษา
ทางไกลผ่านดาวเทียม ซ่ึงทาหน้าที่ถ่ายทอดออกอากาศการเรียนการสอนจากโรงเรียนวังไกลกังวล ต้ังอยู่ท่ีโรงเรียน
วังไกลกังวล อาเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 77110 โทรศัพท์ 032 515 457-8 โทรสาร 032 515
951 เวบ็ ไซต์ www.dltv.ac.th และ E-mail : [email protected], [email protected]

NEW DLTV

คณะกรรมการบริหารมูลนิธิการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ในพระบรมราชูปถัมภ์ชุดใหม่ โดยมี
พลเอก ดาวพ์ งษ์ รัตนสวุ รรณ ประธานกรรมการบริหาร ไดน้ ้อมนาพระราโชบายมาปฏิบัติ และประชมุ ปรึกษาหารือ
กับหน่วยงานต่าง ๆ ถึงความจาเป็นในการพัฒนาศักยภาพของทรัพยากรมนุษย์ท่ีตอ้ งรองรับกับสถานการณ์ของโลก
และเทคโนโลยีที่เปล่ียนแปลงไปอย่างรวดเร็ว จึงมีการปรับปรุงการดาเนินงานของมูลนิธิการศึกษาทางไกลผ่าน
ดาวเทียม ฯ ใหม่ เป็น New DLTV มีการเปลี่ยนแปลงพร้อมกันหลายอย่าง ทั้งด้าน Hardware Software และ
Peopleware การดาเนินงาน New DLTV ในส่วนของตน้ ทาง มีสถานีวทิ ยุโทรทศั น์การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม
และโรงเรียนวังไกลกังวล เป็นหนว่ ยงานหลกั ทาหน้าที่ในการถ่ายทอดการเรียนการสอน และผลิตรายการ โดยมีการ
เปล่ียนแปลงที่สาคัญดังนี้

1. กำรปรับผังรำยกำรใหมท่ ี่มุ่งเน้นกลมุ่ เป้ำหมำยไปยังนักเรียนในโรงเรียนที่ขำดแคลนครู และ
ประชำชนทุกกลุ่มทุกช่วงวัย เป็นกำรจัดกำรศึกษำทำงไกล ที่ครอบคลุมกำรเรียนรู้ตลอดชีวิต อันสอดคล้องกับ
สภำวะกำรณ์กำรศึกษำของโลกในยุคปัจจุบัน โดยการออกอากาศ 15 ช่องสัญญาณ โดยปรับผังรายการเป็น 2

ช่วง ชว่ งแรกคือ เวลำ 08.30 – 14.30 น. เปน็ การถา่ ยทอดการเรยี นการสอนตามหลักสูตรการศึกษาข้นั พื้นฐาน
ในปีการศึกษา 2561 นี้มีการถ่ายทอดการเรียนการสอนช้ันอนุบาล 1 ถึง อนุบาล 3 (ช่อง DLTV 10 – 12) และ
ป.1 ถงึ ม.3 (ช่อง DLTV 1 – 9) ส่วนการจดั การเรยี นการสอนระดับ ม.ปลาย (ม.4 – ม.6) ในปกี ารศกึ ษา 2561
น้ี จะนาเทปการเรียนการสอนวิชาที่เป็นที่ต้องการของผู้เรียนมาออกอากาศในช่วงบ่ายในช่อง DLTV 10 – 12
นอกจากนี้ ยังออกอากาศรายการระดับอาชีวศึกษา ระดับอุดมศึกษา และรายการพัฒนาวิชาชีพครู ช่วงท่ี 2
คือ เวลำ 14.30 น. เป็นต้นไป จะเป็นรายการเรียนรู้ตลอดชีวิต สาหรับคนทุกกลุ่ม ทุกเพศ ทุกวัย ตลอดจน
รายการแนะนาการประกอบอาชีพสาหรบั ผทู้ ี่สนใจทวั่ ไป รวม ๑๕ ชอ่ ง ตลอด ๒๔ ชัว่ โมง

โดยท้ังสองชว่ งเวลามีรายละเอียดดังนี้

ชอ่ ง DLTV 1 รายการสอนชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 1 / สถาบันพระมหากษตั ริย์
ช่อง DLTV 2 รายการสอนชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี 2 / ความร้รู อบตวั
ชอ่ ง DLTV 3 รายการสอนชั้นประถมศึกษาปที ่ี 3 / วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
ชอ่ ง DLTV 4 รายการสอนชั้นประถมศึกษาปที ่ี 4 / ธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ ม
ช่อง DLTV 5 รายการสอนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 5 / ศลิ ปวฒั นธรรมไทย
ชอ่ ง DLTV 6 รายการสอนช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 6 / หนา้ ท่ีพลเมือง
ช่อง DLTV 7 รายการสอนชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1 / ภาษาองั กฤษ
ช่อง DLTV 8 รายการสอนช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี 2 / ภาษาต่างประเทศ
ช่อง DLTV 9 รายการสอนชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 3 / การเกษตร
ช่อง DLTV 10 รายการสอนชน้ั อนุบาลปที ่ี 1 / รายการสาหรับเด็ก-การเลยี้ งดูลกู
ช่อง DLTV 11 รายการสอนชนั้ อนบุ าลปีที่ 2 / สุขภาพ
ชอ่ ง DLTV 12 รายการสอนชั้นอนุบาลปีท่ี 3 / ผสู้ งู วัย
ชอ่ ง DLTV 13 รายการของการอาชีพวังไกลกงั วล และ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคล
ช่อง DLTV 14 รายการของมหาวิทยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธริ าช
ชอ่ ง DLTV 15 รายการพัฒนาวชิ าชพี ครู

จากข้อมูลดังกล่าว สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 1 มีจานวนโรงเรียนขนาดเล็ก
จานวน 87 โรง ที่ใช้ระบบ DLTV (http://www.dlthailand.com/thima-khxng-khorngkar) และได้มีการขยายผล
เพ่ือส่งเสริมให้ครูนาส่ือ DLTV ไปใช้ประกอบการจัดการเรียนการสอน ผู้ศึกษาจึงเห็นความสาคัญในการนิเทศกากับ
ติดตามการพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนจากส่ือดังกล่าวให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ และเพ่ือให้ครูได้ใช้เป็น
แนวทางในการปฏิบัติงานดังกล่าวให้สาเร็จลุล่วงตามวัตถุประสงค์ของโรงเรียนซึ่งสอดคล้องกับ เพ็ญวิภา พรหม
สุวรรณ์ (2558 : 9) และคณะท่ีกล่าวถึงอนาคตภาพของการนิเทศการศึกษาสาหรับสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ใน
ทศวรรษหนา้ (พ.ศ.2556-2565) ไวว้ า่ ผมู้ สี ่วนรว่ มในการจัดการศึกษาระดับการศึกษาขัน้ พ้ืนฐานทุกระดบั ทั้งใน
สังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน สานักงานปลัดกระทรวง ศึกษาธิการ และองค์การปกครองส่วน
ท้องถ่ินควรมีการสนับสนุนสื่อ และเทคโนโลยีเพ่ือการจัดการเรียน การสอน และการนิเทศการศึกษาให้เหมาะสม

ควรใช้การนิเทศและการวิจัยเป็นฐานในการพัฒนาการ จัดการเรียนการสอนในทุกระดับ ส่งเสริมให้ครูมีการใช้
ภาษาองั กฤษและการใช้ส่ือออนไลน์เพื่อการเรยี น การสอนให้เกิดประสทิ ธภิ าพสูงสดุ ส่งเสริมใหม้ กี ารสร้างเครือข่าย
เพื่อพัฒนาการเรียนการสอน และส่ง เสริมให้มีระบบนิเทศภายในท่ีเข้มแข็ง ควรมีหน่วยงานกลางสา หรับพัฒนา
และประสานงานดา้ นการนิเทศ การศึกษาขัน้ พ้ืนฐานทุกสังกดั เขา้ ดว้ ยกัน ในสว่ นของสถาบันผลิตครูควรมีการนิเทศ
นักศึกษาอย่างเป็น ระบบและจริงจังท้ังระดับสถานศึกษาและระดับมหาวิทยาลัย เพ่ือให้นักศึกษาครูมีคุณภาพซึ่งผู้
ฝึกประสบการณ์การนิเทศการศึกษา เห็นความสาคัญและความจาเป็นในการนิเทศและติดตามการใช้ส่ือการเรียน
การสอน DLTV เพื่อให้เป็นแนวปฏิบัติในทิศทางเดียวกันและนาผลการนิเทศพัฒนาคุณภาพผู้เรียนและพัฒนา
คุณภาพการศกึ ษาต่อไป

วัตถุประสงค์ของกำรนิเทศ

1. เพือ่ นเิ ทศ ตดิ ตาม ครูผู้สอนโดยใช้สือ่ DLTV การจัดการเรียนการสอนของครูกลุ่มสาระการงานอาชพี

และเทคโนโลยี ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี5 โรงเรียนบา้ นกลาง สานักงานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศกึ ษา
สงขลา เขต 1

2. เพ่ือส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนครผู ู้สอนโดยใชส้ ือ่ DLTV การจัดการเรียนการสอนของครูกลุ่ม

สาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่5 โรงเรียนบา้ นกลาง สานักงานเขตพื้นท่ี
การศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 1

ขอบเขตของกำรนิเทศ

การจัดการเรียนการสอนโดยใช้สอ่ื DLTV การจัดการเรียนการสอนของครูกลุ่มสาระการงานอาชพี และ
เทคโนโลยี ชนั้ ประถมศึกษาปีที5่ โรงเรียนบ้านกลาง สานักงานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาสงขลา เขต 1

1. เปำ้ หมำยกำรนเิ ทศ

1.1 เป้ำหมำยเชงิ ปริมำณ กลุ่มเป้ำหมำย

ครผู ู้สอนโดยใชส้ ่อื DLTV การจัดการเรยี นการสอนของครูกลุม่ สาระการงานอาชพี และเทคโนโลยี ชั้น
ประถมศกึ ษาปที 5่ี โรงเรียนบ้านกลาง สานักงานเขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาสงขลา เขต 1 ไดร้ บั การนิเทศ
1 คน

1.2 เป้ำหมำยเชงิ คณุ ภำพ

ครูผู้สอนโดยใช้ส่ือ DLTV การจัดการเรียนการสอนของครูกลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี ช้ัน
ประถมศึกษาปีที่5 โรงเรียนบ้านกลาง สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 1 ซ่ึงเป็นโรงเรียนใน
สังกดั เขตพ้นื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาสงขลา เขต 1 สามารถจัดการเรียนการสอนโดยใชส้ ือ่ DLTV อยา่ งมีคณุ ภาพ

2. ขอบขำ่ ยดำ้ นเนื้อหำกำรนิเทศ
2.1 การจดั การเรียนการสอนดว้ ยการใชส้ ่ือ DLTV
2.2 ปญั หา/อปุ สรรคในการจัดการเรยี นการสอน
2.3 ความตอ้ งการช่วยเหลือ

3. ระยะเวลำดำเนินกำรนเิ ทศ
20 - 31 มกราคม 2563

ส่วนที่ 2

วสิ ัยทศั น์ พนั ธกจิ และขอบขำ่ ยกำรนิเทศ

สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 1 ได้ศึกษากรอบยุทธศาสตร์ชาติ แผนการศึกษา
แห่งชาติ และแผนพัฒนาการศึกษา ระดับกระทรวง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน จังหวัด และ
นโยบายสาคัญทุกระดับ รวมทั้ง ได้วิเคราะห์บริบทด้านจัดการศึกษาของพ้ืนท่ี โดยการมีส่วนร่วมของผู้เกี่ยวข้อง ได้
กาหนดทิศทางการจัดการศึกษา ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2563 (สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
สงขลา เขต 1.2563) ดงั น้ี

วิสัยทศั น์ (Vision)
“สงั คมแหง่ การเรยี นรู้ คู่คุณธรรม นอ้ มนาศาสตร์พระราชา สกู่ ารพฒั นาคุณภาพตามมาตรฐานระดบั สากล

บนพืน้ ฐานความเป็นไทยอย่างยัง่ ยืน”

พันธกจิ (Mission)
1. ส่งเสริมสนับสนุนสถานศึกษานอ้ มนาศาสตร์พระราชาและพระบรมราโชบายดา้ นการศกึ ษามาใช้ในการ

จัดการศึกษา

2. ส่งเสริมและสนับสนุนใหป้ ระชากรวยั เรยี นทุกคนได้รับการศึกษาอยา่ งท่วั ถงึ และมคี ุณภาพ

3. ส่งเสริมและสนบั สนนุ การการจดั การศึกษาขนั้ พื้นฐานสู่มาตรฐานระดับสากล

4. ส่งเสรมิ ให้ผเู้ รยี นมคี ุณธรรม จรยิ ธรรม มคี ณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ตามหลักสตู รและคา่ นิยมหลกั ของ
คนไทย12 ประการ

5. สง่ เสรมิ สนับสนุน และพัฒนาระบบบริหารจดั การทเี่ น้นการมีสว่ นร่วมเพ่ือเสริมสรา้ งความรับผดิ ชอบต่อ
คุณภาพการศึกษาและบูรณาการการจดั การศึกษา

เปำ้ ประสงค์ (Goals)
1. สถานศกึ ษาในสังกัดน้อมนาศาสตร์พระราชา และพระบรมราโชบายดา้ นการศึกษามาใชใ้ นกา
จัดการศึกษา

2. ประชากรวยั เรียนทุกคนได้รับการศกึ ษาอยา่ งทวั่ ถึงและมีคณุ ภาพ

3. สถานศึกษาในสงั กดั จัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐานได้มาตรฐานระดบั สากล

4. ผูเ้ รยี นระดบั ก่อนประถมศึกษาและระดบั การศึกษาขั้นพื้นฐานทกุ คนมีพัฒนาการเหมาะสมตาม
วยั มคี ุณภาพและทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21

5. ผู้เรียนทกุ คนมคี ุณธรรม จริยธรรมมคี ุณลักษณะอนั พึงประสงคต์ ามหลักสตู รและคา่ นิยมหลัก
ของคนไทย 12 ประการ

6. สานักงานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษาและสถานศกึ ษา มรี ะบบบริหารจดั การท่ีเน้นการมีสว่ นร่วมเพื่อ
เสรมิ สร้างความรับผดิ ชอบต่อคณุ ภาพการศกึ ษาและบรู ณาการการจดั การศึกษา

จำกวสิ ัยทศั น์ พันธกิจ เป้ำประสงค์ สำนักงำนเขตพื้นท่ีกำรศกึ ษำประถมศึกษำสงขลำ เขต 1
ไดก้ ำหนดยุทธศำสตร์ ปีงบประมำณ พ.ศ.2563 ดังน้ี

ยุทธศำสตร์ที่ 1 พฒั นาการจัดการศึกษาเพ่อื ความมน่ั คง
ยทุ ธศำสตร์ท่ี 2 พฒั นาคุณภาพผเู้ รยี นทกุ ระดบั และส่งเสรมิ การจดั การศกึ ษาเพือ่ สร้างขดี ความสามารถ
ในการแข่งขัน
ยทุ ธศำสตร์ที่ 3 พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา ใหม้ ีสมรรถนะตามมาตรฐานวิชาชีพ
ยทุ ธศำสตร์ที่ 4 เสรมิ สร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเทา่ เทียม การเข้าถึงบริการทางการศกึ ษา
ยทุ ธศำสตร์ท่ี 5 ส่งเสรมิ สนบั สนุน การจัดการศึกษา เพ่อื เสรมิ สรา้ งคุณภาพชีวติ ท่ีเป็นมิตรกบั ส่งิ แวดลอ้ ม
ยทุ ธศำสตร์ท่ี 6 พฒั นาระบบบริหารจดั การ และส่งเสรมิ ให้ทกุ ภาคสว่ นมีส่วนร่วมในการจดั การศกึ ษา

ค่ำนิยมองค์กร
รกั องค์การ ประสานความร่วมมือ ยึดถือคุณธรรม ก้าวนาส่สู ากล

แผนงำนของสำนักงำนเขตพ้ืนท่กี ำรศึกษำ

แผนงานของสานกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 1 ไดก้ าหนดในโครงการตาม
แผนปฏิบตั ิการ สพป.สงขลา เขต 1 ประจาปีงบประมาณ 2563 ซ่งึ จะนาเสนอเฉพาะที่เก่ียวขอ้ งกับการนิเทศ
การศึกษา ดงั แสดงในตาราง

จดุ เนน้ /แนวทำง/ตัวชี้วดั /ผ้รู บั ผิดชอบ ตำมแผนปฏิบัติกำรประจำปงี บประมำณ พ.ศ. 2563
สำนกั งำนเขตพ้ืนทก่ี ำรศึกษำประถมศกึ ษำสงขลำ เขต 1

จุดเนน้ แนวทำง โครงกำร/กจิ กรรม กลมุ่ รบั ผิดชอบ
1.โรงเรียนสะอาด นเิ ทศตดิ ตามฯ
1. โรงเรยี นปลอดขยะ นเิ ทศ ตดิ ตาม
2.ครมู ืออาชีพ 2. กิจกรรม 5 ส. ตรวจสอบการ
3.กิจกรรมสี ดาเนินงานตามจดุ เน้น
3.นักเรียนดี 4.กจิ กรรมตามหลักสตู รและ ตัวชว้ี ัด มาตรการตาม
กจิ กรรมเสริมหลกั สตู ร แผนปฏิบตั ิการ
5.การแสวงหาความรว่ มมอื กับ ประจาปี งบประมาณ
ชุมชน 2563

1.การพัฒนาครู นิเทศ ตดิ ตาม นเิ ทศตดิ ตามฯ
2.PLC ตรวจสอบการ
3.การนิเทศภายใน ดาเนินงานตามจดุ เนน้
4.การยกย่องเชดิ ชูเกียรติ ตวั ชี้วัด มาตรการตาม
แผนปฏิบัติการ
ประจาปี งบประมาณ
2563

1.โรงเรยี นคณุ ธรรม นิเทศ ตดิ ตาม นิเทศตดิ ตามฯ
2.กจิ กรรมลกู เสือ-เนตรนารี ตรวจสอบการ
3.กจิ กรรมค่ายคุณธรรม จรยิ ธรรม ดาเนนิ งานตามจดุ เน้น
4. กิจกรรมคา่ ยรกั ษพ์ งไพร ตวั ช้ีวัด มาตรการตาม
5.กระบวนการจัดการเรยี นรู้ตาม แผนปฏิบัติการ
หลักสูตร ประจาปี งบประมาณ
6.บวร หรือ บรม 2563
7.คา่ นิยมหลักของคนไทย 12
ประการ

จดุ เน้น แนวทำง โครงกำร/กิจกรรม กลุ่มรับผดิ ชอบ
4.นักเรียนเก่ง
1. การจัดการเรยี นรู้ที่มคี ุณภาพ นิเทศ ตดิ ตาม นิเทศติดตามฯ
2. การพัฒนาครภู าษาอังกฤษ ตรวจสอบการดาเนนิ
3. การจัดกจิ กรรมส่งเสริมรักการ งานตามจุดเน้น ตวั ช้วี ดั
อ่าน มาตรการตาม
4. การจัดกิจกรรมค่าย แผนปฏิบตั ิการประจา
ภาษาอังกฤษ ปี งบประมาณ 2563
5. การจดั กจิ กรรมเสริมทักษะ
วิชาการและทักษะอาชีพ
6. คา่ ยทักษะชวี ิต กิจกรรมด้าน
กฬี า ศิลปะ ดนตรี
7. การศึกษาผู้เรยี นเป็นรายบุคคล
8. การนเิ ทศภายใน

5.นักเรยี นมีความสขุ 1.กิจกรรมสง่ เสริมประชาธปิ ไตย
2.โรงเรียนสจุ ริต
3.เศรษฐกจิ พอเพยี ง นิเทศ ตดิ ตาม นเิ ทศติดตามฯ
ตรวจสอบการดาเนนิ
1. การจัดการเรยี นรู้ตามแนวคิด งานตามจุดเน้น ตัวช้ีวัด
การจัดประสบการณร์ ะดับ มาตรการตาม
การศึกษาปฐมวัย (พัฒนาการ แผนปฏบิ ัติการประจา
เรียนรู้ด้านการทางาน สังคม ปี งบประมาณ 2563
อารมณ์ จติ ใจ สติปญั ญา และ
ร่างกาย)

จากทิศทางการจัดการศึกษา สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 1 และแผนงานของ
สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 1 เกี่ยวข้องกับการนิเทศการศึกษา ผู้ศึกษามีความสนใจใน
การพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในการใช้สื่อ DLTV ของครู กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี โดยการ
นิเทศ ตดิ ตาม เพ่ือนาผลทีไ่ ด้จากการนิเทศ ไปพฒั นาผ้เู รียนใหม้ ปี ระสิทธิภาพต่อไป

ขอบเขตของกำรนิเทศ

ครผู ู้สอนโดยใชส้ ่ือ DLTV การจัดการเรียนการสอนของครูกลุ่มสาระการงานอาชพี และเทคโนโลยี ชนั้
ประถมศึกษาปีท5่ี โรงเรียนบ้านกลาง สานักงานเขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาสงขลา เขต 1

1. เป้ำหมำยกำรนิเทศ

1.1 เปำ้ หมำยเชงิ ปรมิ ำณ

ครผู ู้สอนโดยใช้สอ่ื DLTV การจดั การเรียนการสอนของครูกลมุ่ สาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี ชน้ั
ประถมศึกษาปีที่5 โรงเรียนบ้านกลาง สานักงานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 1 ไดร้ ับการนเิ ทศ 1
คน

1.2 เปำ้ หมำยเชงิ คณุ ภำพ

ครผู ู้สอนโดยใชส้ อ่ื DLTV การจัดการเรียนการสอนของครูกลมุ่ สาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี ช้นั
ประถมศกึ ษาปีท5ี่ โรงเรียนบ้านกลาง สานกั งานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 1 ซ่ึงเป็นโรงเรียนใน
สงั กดั เขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 1 สามารถจดั การเรียนการสอนโดยใช้สือ่ DLTV อย่างมีคณุ ภาพ

2. ขอบขำ่ ยด้ำนเนื้อหำกำรนิเทศ

2.1 การจัดการเรียนการสอนดว้ ยการใช้ส่ือ DLTV

2.2 ปญั หา/อปุ สรรคในการจัดการเรยี นการสอน

2.3 ความตอ้ งการชว่ ยเหลอื

3. ระยะเวลำดำเนินกำรนิเทศ

20 - 31 มกราคม 2563

สว่ นท่ี 3
วิธดี ำเนินกำรนเิ ทศ

ในการปฏิบัติการนิเทศการศึกษา ตามแผนการนิเทศการศึกษา ผู้ฝึกประสบการณ์ศึกษานิเทศก์
มกี ระบวนการนเิ ทศการศึกษา ประกอบด้วยขั้นตอนสาคญั ดังนี้

สานกั พัฒนาครูและบุคลากรการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน (2561.78-79) กลา่ วถึง กระบวนการนเิ ทศแบบ
PDCA ว่า เปน็ การนาเอาวงจรเดมมิ่ง (Damming Circle) หรอื โดยท่วั ไปนยิ มเรียกกนั ว่า กระบวนการ PDCA มาใช้
เปน็ กระบวนการนิเทศการศึกษา มีขนั้ ตอนสาคญั 4 ขนั้ ตอน คอื

1. การวางแผน (P-Plan)
2. การปฏิบตั ติ ามแผน (D-Do)
3. การตรวจสอบ/ประเมินผล (C-Check)
4. การปรับปรุงแกไ้ ข (A-Act)

การปรบั ปรุงแกไ้ ข การวางแผน การปฏิบัตติ ามแผน
(Act) (Plan) (Do)

การตรวจสอบ/ประเมินผล

(Check)

แผนภูมิแสดงกระบวนกำรนเิ ทศแบบ PDCA
จากแผนภูมิกระบวนการ PDCA แตล่ ะขนั้ ตอนมีกจิ กรรมสาคญั ดังนี้

1. การวางแผน (P-Plan)
1.1 การจดั ระบบขอ้ มลู สารสนเทศ
1.2 การกาหนดจุดพัฒนาการนิเทศ
1.3 การจดั ทาแผนนิเทศ
1.4 การจดั ทาโครงการนิเทศ

2. การปฏบิ ัตกิ ารตามแผน (D-Do)
2.1 การปฏิบัตติ ามขนั้ ตอนตามแผน/โครงการ
2.2 การกากับตดิ ตาม
2.3 การควบคมุ คุณภาพ
2.4 การรายงานความก้าวหน้า
2.5 การประเมินความสาเร็จเป็นระยะๆ

3. การตรวจสอบและประเมินผล (C-Check)
3.1 กาหนดกรอบการประเมิน
3.2 จัดหา/สร้างเคร่อื งมือประเมิน
3.3 เกบ็ รวบรวมข้อมูล
3.4 วเิ คราะหข์ อ้ มลู
3.5 สรปุ ผลการประเมนิ

4. การนาผลการประเมินมาปรับปรุงงาน (A-Act)
4.1 จดั ทารายงานผลการนเิ ทศ
4.2 นาเสนอผลการนิเทศและเผยแพร่
4.3 พัฒนาต่อเนื่อง

ปฏิทินปฏิบัตกิ ำรนิเทศ

การนิเทศแบบ PDCA เพ่ือพัฒนาการใช้สื่อ DLTV ในการจัดการเรียนรู้ของครูกลุ่มสาระการงานอาชีพและ
เทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่5 โรงเรียนบ้านกลาง สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 1
กาหนดปฏทิ ินปฏิบตั ิการนเิ ทศ ดงั นี้

ท่ี ขัน้ ตอน/กจิ กรรม เอกสำร/ ระยะเวลำ ผู้รบั ผิดชอบ
เครือ่ งมอื

1 กำรวำงแผนนิเทศ (Plan)

1. ศกึ ษาข้อมูลพนื้ ฐาน การจัดการเรยี นรู้ และ - เอกสาร/ 19 - 20
มกราคม 2563
การใช้สอ่ื ในการจัดการเรยี นรู้ของครกู ลุ่มสาระการ คูม่ อื ส่ือนิเทศ นายซัครียา หมาด
บากา (ผู้ฝกึ
งานอาชีพและเทคโนโลยี - แผนนิเทศ
ประสบการณ์
1.1 พบปะพูดคุยทาความร้จู ัก สรา้ งความ - ปฏทิ ินการ
นเิ ทศการศกึ ษา)
ไวว้ างใจโดยการสอบถามข้อมูลพื้นฐานและการ นเิ ทศ

จัดการเรยี นรู้

1.2 สอบถามการใชส้ ือ่ ในการจัดการเรียนรู้

2 ปฏบิ ตั กิ ำรนเิ ทศ (Doing)

2. สถานศกึ ษาสามารถนาสื่อการสอน DLTVมาใช้ แบบบันทกึ 22 - 28 นายซัครียา หมาด
มกราคม 2563 บากา (ผู้ฝกึ
ในการจัดการเรยี นรู้การจดั การเรยี นรู้ของครกู ล่มุ การสัมภาษณ์
ประสบการณ์
สาระการงานอาชพี และเทคโนโลยี
นิเทศการศึกษา)
2.1 ดำเนนิ กำรนเิ ทศโดยการสัมภาษณ์

ครผู ้สู อน ประเดน็

- การจัดการเรียนรู้ดว้ ยการใช้สอื่ DLTV

- ปัญหา/อุปสรรคในการจัดการเรยี นการเรยี นรู้

- ความต้องการช่วยเหลือ

2.2 เสนอแนะครูผสู้ อนในความจาเป็นของสอื่

การสอน

2.3 แนะนาสื่อ DLTVเพื่อใชใ้ นการจดั การ

เรยี นรู้

ปฏิทินปฏิบัตกิ ำรนิเทศ

การนิเทศแบบ PDCA เพื่อพัฒนาการใช้ส่ือ DLTV ในการจัดการเรียนรู้ของครูโรงเรียนบ้านกลาง สังกัด
สานกั งานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาสงขลา เขต 1 กาหนดปฏิทนิ ปฏิบัติการนิเทศ ดังนี้

ที่ ข้ันตอน/กจิ กรรม เอกสำร/ ระยะเวลำ ผูร้ บั ผิดชอบ
เครื่องมือ

3 กำรติดตำมตรวจสอบและประเมิน แบบประเมิน 23 - 28 นายซคั รียา หมาด
มกราคม 2563 บากา (ผูฝ้ ึก
ผลกำรนิเทศ (Check) การปฏฺบัติงาน
ประสบการณ์
3. นเิ ทศ ตดิ ตามการใชส้ ื่อ DLTVในการจดั การ แบบสอบถาม
นิเทศการศึกษา)
เรยี นรู้ของครูกลมุ่ สาระการงานอาชีพและ ความพึงพอใจ

เทคโนโลยี

3.1 ครทู าแบบสอบถามความพึงพอใจตอ่ การ

รบั การนเิ ทศ

3.2 ส่งเสรมิ ช่ืนชม ให้กาลัง ครูผสู้ อน

4 กำรนำผลกำรประเมนิ ไปใชป้ ระโยชน์(Act) รายงานการ 31 มกราคม นายซคั รียา หมาด
2563 บากา (ผฝู้ ึก
4. นาผลการประเมินไปใชใ้ นการจัดการเรยี นการ นเิ ทศการศกึ ษา
ประสบการณ์
สอน กลมุ่ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
นเิ ทศการศกึ ษา)
4.1 จัดทารายงานการนเิ ทศ

4.2 ใชเ้ ปน็ ขอ้ มลู สารสนเทศแก่โรงเรียน,เขต

พน้ื ทก่ี ารศึกษา

สว่ นท่ี 4
สื่อ เครอ่ื งมอื นิเทศ

การนเิ ทศแบบ PDCA เพอื่ พัฒนาการใชส้ ื่อ DLTV ในการจดั การเรยี นการสอนของครูกลมุ่ สาระ
การเรียนร้กู ารงานอาชีพและเทคโนโลยี โรงเรยี นบ้านกลาง สานักงานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต ๑
คร้ังน้ี มีประเดน็ ในการติดตามการนิเทศการศกึ ษา ดงั น้ี

ดำ้ นกำรจดั กำรเรียนกำรสอน

1. การจัดเตรยี มส่อื วัสดุ และอุปกรณ์ที่จาเปน็ ต่อการนาไปใชใ้ นกระบวนการเรยี นการสอน และการพฒั นา
คณุ ภาพการศึกษาทางไกลผ่านเทคโนโลยสี ารสนเทศ (DLTV)

2. การพฒั นาตนเองให้มคี วามรเู้ กย่ี วกบั แนวทางการดาเนินงานการพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาทางไกลผา่ น
เทคโนโลยสี ารสนเทศ (DLTV)

3. การออกแบบการจัดการเรียนรโู้ ดยใช้การพฒั นาคุณภาพการศึกษาทางไกลผา่ นเทคโนโลยสี ารสนเทศ
(DLTV) ตามความเหมาะสม

4. การจดั กิจกรรมการเรียนรูแ้ ละใหน้ ักเรยี นเข้าถึงการจัดการศกึ ษาทางไกลผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศ
(DLTV) ตามความเหมาะสม

5. การวดั และประเมินผลตามสภาพจริง ด้วยวธิ กี าร เครอื่ งมอื ทห่ี ลากหลายครอบคลมุ องคป์ ระกอบ และ
ตวั ช้ีวัด หลงั การจัดกิจกรรมการเรียนรูใ้ นแต่ละคร้ัง แตล่ ะหน่วยการเรยี นรู้ เพอื่ ให้ทราบถึงผลการเรยี นรูข้ องนักเรียน

เครอื่ งมือกำรนเิ ทศ

1. แบบบนั ทกึ การสัมภาษณ์

2. แบบสอบถามความพึงพอใจการนเิ ทศการใชส้ ่อื DLTV ในการจัดการเรยี นการสอนของครูกลุ่มสาระการ
เรยี นรกู้ ารงานอาชีพและเทคโนโลยี โรงเรียนบ้านกลาง สานกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต ๑

ภำคผนวก

ภำคผนวก ก

- แผนการนเิ ทศการศึกษา
- เคร่ืองมือในการนเิ ทศ

- แบบนิเทศ ติดตาม การดาเนนิ งานการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ(DLTV)
ของครูผูส้ อน
- แบบสอบถามความพงึ พอใจ

แผนกำรนิเท
โรงเรียนบา้ นกลาง อาเภอเมอื งสงขลา สานักงาน

วัน/เดอื น/ปี จุดประสงคก์ ำรนเิ ทศ เรื่อง/สำระกำร กจิ กรรม
นเิ ทศ

22ม.ค.63 1 . เ พ่ื อ ศึ ก ษ า ข้ อ มู ล สภาพปจั จุบนั ใน ดำเนนิ กำรนเิ ทศ โดยใช

พืน้ ฐาน การจดั การเรียน การจดั การเรยี นรู้ กระบวนกำร PDCA

การสอน และการใช้ส่ือ กำรวำงแผนกำรนิเทศ

ในการจัดการเรียนการ (Plan : P)

สอนของครูกลุ่มสาระ 1. พบปะพดู คุยทาความ

ก า ร ง า น อ า ชี พ แ ล ะ สร้างความไวว้ างใจโดยก

เ ท ค โ น โ ล ยี ช้ั น สอบถามข้อมูลพ้ืนฐานแล

ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า ปี ท่ี 5 จดั การเรยี นรู้

โ ร ง เ รี ย น บ้ า น ก ล า ง 2. สอบถามการใชส้ ่ือใน

ส า นั ก ง า น เ ข ต พื้ น ที่ จดั การเรยี นรู้

การศึกษาประถมศึกษา

สงขลา เขต 1

ทศกำรศกึ ษำ
นเขตพ้ืนท่กี ารศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 1

ส่อื /เครอื่ งมือนิเทศ แนวทำงกำร ผรู้ บั กำรนเิ ทศ ผู้นิเทศ
ตดิ ตำมประเมนิ ผล
นายซัครยี า
ช้ - แบบนเิ ทศ ติดตาม 1. วิเคราะห์ข้อมลู นายนกุ านต์ หมาดบากา
(ผู้ฝกึ
มรู้จกั การดาเนนิ งานการใช้ พ้นื ฐาน เอสเอ ประสบการณ์
การ นิเทศการศึกษา)
ละการ เทคโนโลยี 2. ศึกษาปัญหา/

สารสนเทศ(DLTV) ความตอ้ งการของ

ของครูผ้สู อน โรงเรยี น

นการ

แผนกำรนเิ ท
โรงเรยี นบ้านกลาง อาเภอเมืองสงขลา สานักงาน

วัน/เดือน/ปี จุดประสงคก์ ำรนเิ ทศ เรอื่ ง/สำระกำร กจิ กรรม
นิเทศ
กำรปฏบิ ตั ติ ำมแผน (Do
22ม.ค.63 2. เพื่อให้สถานศึกษา การใช้สอ่ื DLTV 1. ดำเนินกำรนิเทศโดย
สามารถนาสือ่ DLTV มา ในการจดั สมั ภาษณ์ครผู ู้สอน ประเ
ใช้ในการจัดการเรียน การเรยี น - การจัดการเรียนรดู้ ้วย
การสอนของครูกลุ่ม การสอน สอ่ื DLTV
สาระการงานอาชีพและ สาระการงาน - ปัญหา/อุปสรรคในกา
เ ท ค โ น โ ล ยี ช้ั น อาชีพและ จัดการเรียนการเรยี นรู้
ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า ปี ท่ี 5 เทคโนโลยี - ความต้องการช่วยเหล
โ ร ง เ รี ย น บ้ า น ก ล า ง 2. เสนอแนะครูผสู้ อนใน
ส า นั ก ง า น เ ข ต พื้ น ท่ี จาเป็นของส่ือการสอน
การศึกษาประถมศึกษา 3. แนะนาสอื่ DLTV เพื่อ
สงขลา เขต 1 การจัดการเรียนรู้

ทศกำรศกึ ษำ
นเขตพื้นท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาสงขลา เขต 1

o : D) สือ่ /เครอื่ งมือนิเทศ แนวทำงกำร ผรู้ บั กำรนเิ ทศ ผนู้ เิ ทศ
ยการ ตดิ ตำมประเมนิ ผล
เดน็ - แบบนเิ ทศ ตดิ ตาม นายนกุ านต์ นายซัครียา
ยการใช้ การดาเนินงานการใช้ วเิ คราะห์ผลจาก เอสเอ หมาดบากา
เทคโนโลยี การสมั ภาษณ์ (ผู้ฝกึ
าร สารสนเทศ(DLTV) ครูผู้สอน ประสบการณ์
ของครผู ้สู อน นเิ ทศการศึกษา)
ลือ - แบบสอบถามความ
นความ พึงพอใจ

อใช้ใน

แผนกำรนิเท
โรงเรยี นบ้านกลาง อาเภอเมืองสงขลา สานักงาน

วัน/เดือน/ปี จดุ ประสงคก์ ำรนเิ ทศ เรื่อง/สำระกำร กจิ กรรม
นิเทศ
กำรติดตำมตรวจสอบแล
28ม.ค.63 3. เพื่อนิเทศ ติดตาม นเิ ทศ ตดิ ตาม ประเมินผลกำรนเิ ทศ
การใช้สื่อ DLTV ในการ การใชส้ ่ือ DLTV (Check : C)
จัดการเรียนการสอน ในการจัดการ 1. ครทู าแบบสอบถามค
ของครูกลุ่มสาระการ เรียนรู้ กลุ่มการ พอใจต่อการรบั การนิเทศ
ง า น อ า ชี พ แ ล ะ เรียนรู้การงาน 2. ส่งเสริม ชน่ื ชม ใหก้ า
เ ท ค โ น โ ล ยี ช้ั น อาชพี และ ครผู ้สู อน
ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 5 เทคโนโลยี
โ ร ง เ รี ย น บ้ า น ก ล า ง
ส า นั ก ง า น เ ข ต พ้ื น ท่ี
การศึกษาประถมศึกษา
สงขลา เขต 1

ทศกำรศกึ ษำ
นเขตพืน้ ที่การศกึ ษาประถมศึกษาสงขลา เขต 1

ส่อื /เครอ่ื งมือนิเทศ แนวทำงกำร ผู้รบั กำรนิเทศ ผ้นู ิเทศ

ติดตำมประเมนิ ผล นายนกุ านต์ นายซคั รียา
เอสเอ หมาดบากา
ละ - แบบนิเทศ ติดตาม วเิ คราะห์ผลจาก (ผู้ฝกึ
ประสบการณ์
ความพงึ การดาเนนิ งานการใช้ แบบสอบถามความ นเิ ทศการศึกษา)

าลัง เทคโนโลยี พึงพอใจต่อการรบั

สารสนเทศ(DLTV) การนเิ ทศ

ของครูผ้สู อน

- แบบสอบถามความ

พึงพอใจ

วัน/เดอื น/ปี จดุ ประสงคก์ ำรนิเทศ เรอื่ ง/สำระกำร กิจกรรม
นิเทศ

20 – 31 4 . เ พื่ อ น า ผ ล ก า ร ผลการประเมินไป กำรนำผลกำรประเมินไป
ม.ค. 63 ประเมินไปใช้ใน การ ใชใ้ นการจดั การ ประโยชน์ (Act : A)
จัดการเรียนการสอน เรียนการสอน 1. จดั ทารายงานการนเิ ท
ของครูกลุ่มสาระการ กลุ่มการเรยี นรู้ 2. ใช้เปน็ ข้อมูลสารสนเท
ง า น อ า ชี พ แ ล ะ การงานอาชพี โรงเรยี น,เขตพื้นที่การศกึ
เ ท ค โ น โ ล ยี ช้ั น และเทคโนโลยี
ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า ปี ที่ 5
โ ร ง เ รี ย น บ้ า น ก ล า ง
ส า นั ก ง า น เ ข ต พ้ื น ท่ี
การศึกษาประถมศึกษา
สงขลา เขต 1

สื่อ/เครอื่ งมือนิเทศ แนวทำงกำร ผู้รับกำรนเิ ทศ ผนู้ ิเทศ
ติดตำมประเมนิ ผล

ปใช้ - แบบสอบถามความ วิเคราะห์ผลจาก นายนกุ านต์ นายซัครยี า
หมาดบากา
พึงพอใจ การสมั ภาษณ์ เอสเอ (ผู้ฝกึ

ทศ ครูผู้สอนและสรปุ ประสบการณ์

ทศแก่ เป็นรายงานการ นเิ ทศการศึกษา)

กษา นเิ ทศการศกึ ษา

แบบนิเทศ ติดตำม กำรดำเนินงำน
กำรใชเ้ ทคโนโลยีสำรสนเทศ(DLTV) ของครูผ้สู อน
วตั ถุประสงค์ เพื่อนิเทศ ติดตาม การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ(DLTV) ของครผู ู้สอน
คำชี้แจง
แบบนิเทศตดิ ตามฉบับน้ี เป็นการนิเทศติดตามพฤติกรรมการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ(DLTV) ของ
ครผู ู้สอนเพื่อศึกษาสภาพปัญหาและหาแนวทางในการพฒั นา มี 2 ตอน ดงั นี้
ตอนท่ี 1 กำรใชเ้ ทคโนโลยีสำรสนเทศ(DLTV) ของครผู ู้สอน
ตอนที่ 2 ปัญหำ อุปสรรคและขอ้ เสนอแนะ

เกณฑก์ ำรเกณฑ์กำรกำรใช้เทคโนโลยสี ำรสนเทศ(DLTV) ของครผู สู้ อน ตำมเกณฑป์ ระเมนิ มำตรฐำน
ได้คะแนน 0 - 4 คะแนน หมายถึง อยู่ในระดบั ปรบั ปรุง
ได้คะแนน 5 - 6 คะแนน หมายถงึ อยใู่ นระดบั พอใช้
ไดค้ ะแนน 7 - 8 คะแนน หมายถงึ อยใู่ นระดับดี
ไดค้ ะแนน 9 - 10 คะแนน หมายถึง อยู่ในระดบั ดีมาก

ตอนที่ 1 กำรใช้เทคโนโลยสี ำรสนเทศ(DLTV) ของครผู ูส้ อน

ข้อท่ี รำยกำรนิเทศติดตำม กำรนิเทศติดตำม
ปฏบิ ัติ ไมป่ ฏบิ ัติ
1 ครมู กี ารจัดเตรียมคอมพวิ เตอร์เครือขา่ ยอินเทอรเ์ นต็ สื่อ
วัสดุ อุปกรณ์ ประกอบการสอนทส่ี อดคล้องกบั หนว่ ยการ
เรยี นรจู้ าก (DLTV)

2 ครูมกี ารจัดเตรยี มคอมพวิ เตอร์เครอื ข่ายอนิ เทอร์เนต็ ส่อื
วัสดุ อุปกรณ์ ประกอบการสอนทีส่ อดคล้องกบั หน่วยการ
เรยี นรู้จาก (DLTV) ไดเ้ หมาะสมกับวยั ของนกั เรียน

3 ครมู ีการสบื ค้นหรือเข้าร่วมแลกเปลีย่ นเรยี นร้หู รือจัดทา
แผนพฒั นาตนเองเกี่ยวกับการพัฒนาตนเองเกยี่ วกับการ
พัฒนาคุณภาพการศกึ ษาผ่าน (DLTV) , PLC

4 ครมู ีการสบื คน้ หรือเข้าร่วมแลกเปลีย่ นเรยี นรู้หรอื จดั ทา
แผนพัฒนาตนเองเกย่ี วกับการพัฒนาตนเองเกย่ี วกับการ
พัฒนาคุณภาพการศึกษาผา่ น (DLTV) และไดส้ อนตามแผน

5 ครูได้มีการออกแบบการจดั การเรียนรโู้ ดยใชก้ ารพัฒนา
คุณภาพการศึกษาทางไกลผ่านเทคโนโลยี(DLTV)

6 ครูไดม้ ีการออกแบบการจัดการเรียนร้โู ดยการวิเคราะห์
หลักสูตร การจดั ทาแผนการจัดการเรยี นร้แู ละใช้สื่อ
ประกอบการสอนจาก (DLTV)

7 มีกิจกรรมใหน้ กั เรียนมสี ว่ นรว่ มในการใชส้ อ่ื ประกอบการ
สอนจาก DLTV โดยการศกึ ษา คน้ ควา้ เพ่ิมเตมิ ของนักเรยี น
เองและเกดิ ชนิ้ งานในการเรยี นร้จู าก (DLTV)

8 มกี ารนาข้อสอบจาก DLTV Assesment มาใชใ้ นการวดั
ประเมนิ ผลและจดั ทาเป้นข้อมลู สารสนเทศไดต้ รงตาม
หลักสตู รการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน

9 นาผลการวดั และประเมนิ มาวิเคราะห์ผเู้ รยี นเปน็ รายบุคคล
และจัดทาแผนซอ่ มเสรมิ ใหน้ ักเรียนโดยการใชส้ ื่อDLTV

10 มกี ารใชส้ ื่อ Social Media ในการเขา้ ร่วมเครือข่ายชุมชน
การเรียนรู้ เพื่อแลกเปลีย่ นเรียนรผู้ า่ น DLTV Youtube
Channel Clound Computing หรือส่ืออ่นื ๆ
รวม

สรปุ ผลกำรนเิ ทศติดตำมพฤติกรรมกำรใช้เทคโนโลยีสำรสนเทศ(DLTV)

ระดับ

 ดีมาก  ดี  พอใช้  ปรับปรุง

ตอนท่ี 2 ปญั หำ อุปสรรคและขอ้ เสนอแนะ
คำชีแ้ จง ให้ผู้รับการนเิ ทศเขียนขอ้ ค้นพบ ปัญหา อุปสรรค และขอ้ เสนอแนะลงในช่องวา่ ง

1) ขอ้ ค้นพบทเี่ ป็นจดุ เด่น/วธิ กี ำรปฏิบัตทิ ่ีดี
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

2) ปัญหำและอปุ สรรคทีพ่ บ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
3) ข้อเสนอแนะ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

ลงชือ่ …………………………………………..
(……………………………………………)
……../………………./…………

แบบสอบถำมควำมพึงพอใจ

การนิเทศการจดั การเรยี นรู้โดยใชส้ ่อื DLTV ในการจดั การเรียนการสอนของครกู ลมุ่ สาระการงาน
อาชีพและเทคโนโลยี ช้นั ประถมศึกษาปีที่5 โรงเรียนบ้านกลาง สานกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศกึ ษา
สงขลา เขต 1
......................................................................................................................................................

คำชแี้ จง โปรดทาเครื่องหมาย  ในช่องระดับความพึงพอใจ ท่ีเป็นจรงิ ของท่านมากที่สุด แบบสอบถามนี้
เปน็ แบบมาตราส่วนประมาณคา่ (Rating scale) 5 ระดบั ตามเกณฑ์ต่อไปนี้

5 หมายถงึ มคี วามพึงพอใจระดับมากทส่ี ุด
4 หมายถึง มคี วามพึงพอใจระดับมาก
3 หมายถึง มีความพึงพอใจระดบั ปานกลาง
2 หมายถงึ มีความพึงพอใจระดับน้อย
1 หมายถึง มคี วามพึงพอใจระดบั นอ้ ยที่สุด

ที่ รำยกำร ระดบั ควำมพึงพอใจ
5 432 1
ด้ำนปจั จัยกำรนเิ ทศ
1 ผนู้ ิเทศมีความรู้ ความสามารถ และทักษะการนิเทศ
2 ผนู้ ิเทศมมี นุษยสมั พนั ธ์และเป็นกลั ยาณมิตร
3 สอ่ื /เคร่ืองมือ/นวัตกรรมท่นี ามาใชใ้ นการนิเทศ
ดำ้ นกระบวนกำรนิเทศ
4 เน้ือหาสาระการนเิ ทศมีความทันสมยั ทันตอ่ เหตกุ ารณ์
5 รูปแบบวิธกี ารนิเทศสอดคล้องกบั ปญั หา และความต้องการในการ

นเิ ทศ
6 ผนู้ ิเทศเปิดโอกาสในการแลกเปล่ียนความคิดเหน็ และประสบการณ์
7 ผนู้ ิเทศชว่ ยเสรมิ สร้างความกระตอื รือรน้ และความมน่ั ใจในการ

ปฏบิ ตั ิงาน
8 การสะท้อนผลการนิเทศชัดเจน เปน็ รูปธรรม
9 การใหข้ ้อมูลยอ้ นกลับ ทนั ต่อการนาไปใช้และความเป็นไปได้
ดำ้ นผลกำรนิเทศ
10 ผู้นเิ ทศใหข้ ้อมลู แกผ่ ้สู อนในการปรบั ปรงุ การเรียนการสอน
11 ผสู้ อนได้พฒั นาความรู้ ความสามารถในด้านการสอน
12 ผลการนเิ ทศชว่ ยส่งเสริมประสทิ ธภิ าพดา้ นวชิ าการของสถานศกึ ษา

ภำคผนวก ข
ประมวลภาพการนเิ ทศ

ทกั ทาย สอบถาม พดู คยุ กอ่ นการนเิ ทศ

สมั ภาษณ์การจดั การเรยี นการสอน


Click to View FlipBook Version