การแสดงพื้ นเมือง
ฟ้อนผาง
ฟ้อนผาง
จั ด ทำ โ ด ย
นายภูริภัทร ชีวเรืองโรจน์ ม.6/5 เลขที่ 13
ชื่ อชุ ดการแสดง
การแสดงฟ้อนผาง
การแสดงพื้นเมืองภาคเหนือ
รู ป แ บ บ ก า ร แ ส ด ง
ลักษณะก
ารแสดง
เป็นการแสดงที่มาจากชาวไทลื้อ ท่ารำมา
จากท่าพื้นฐานการรำดาบ มีความเชื่อ
เกี่ยวกับการได้รับอานิสงส์ของการบูชา
ผางประทีปและการสอดแทรก
ความน้อบน้อม เครื่อ
งแต่งกายผู้หญิง
ขั้นตอน/วิธ
ีการแสดง
ลีลาการฟ้อนดำเนินไปตามจังหวะของ
การตีกลองสะบัดชัย มือทั้งสองจะถือ
ประทีปหรือผางผะตี้บ
การแต่
งกาย
ขแข้้าาต่งงง”แเรขีบยลบกิบชว่ราาิวม“ไดทเ้สวยื้ยอลื้ผปัอ๊้ดาหส”วลหมากรเืสอืส้ีอเ“ปป็้เนาสื้ยรอิ้ทวปัั๊บนดุ่ง
ผ้าซิ่นเป็นริ้วลายขวาง ประดับด้วยแผ่น
เงิน รัดเข็มขัดเงินเส้นใหญ่ ติดพู่แผง
เงิน ใส่ต่างหูเงินและสวมกำไลข้อมือเงิน
ดนตรีที่ใช้ประก
อบการแสดง
นิยมบรรเลงในวงประกอบกับฆ้อง
กลอง ตะหลดปด และกลองแอว เช่น
ในเวลาประกอบการฟ้อน เป็นต้น
เพลงที่ ใช้ในการประกอบการแสดง
เพลงฟ้อนผาง
โอกาสที่ ใช้ในการแสดง
----งงงงาาาานนนนตออเปี้วเิอวดม้นนตงรัตัวค์บสลชินาคว้ตา่างชาติ
รูปแบบสื่ อที่ จัดทำ
สมุดอิเล็กทรอนิกส์
นักเรียนมีแนวทางในการอนุรักษ์การ
แสดงชุดดังกล่าวอย่างไร จงอธิบาย
พร้อมยกตัวอย่างไม่ต่ำกว่า 5
บรรทัด
สอนให้คนรุ่นใหม่เรียนรู้จักการ
ฟ้อนผางหรือช่วยเผยแพร่คลิป
วีดีโอการฟ้อนผางที่สวยงามเป็น
วัฒนธรรมอันล้ำค่าของล้านนนา
และอีกทั้งหาการประกวดการ
แสดงฟ้อนรำก็เป็นการช่วยอนุรักษ์
อีกด้วย