1
คมู่ ือปฏบิ ัตงิ านและแผนการควบคมุ ตรวจสอบ
สำหรบั สมาชิกผู้ขอใช้ส่ิงบง่ ชี้ทางภมู ิศาสตร์
(Geographical Indication : GI)
ขา้ วหอมมะลิดนิ ภเู ขาไฟบรุ ีรมั ย์
จดั ทำโดย
มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ รว่ มกับ สำนักงานเกษตรจงั หวดั บุรีรัมย์
และสำนักงานพาณชิ ย์จงั หวดั บุรรี มั ย์
2 หนา้
สารบัญ 1
1
เรือ่ ง 2
4
คำนิยาม 6
ลกั ษณะขา้ วหอมมะลดิ นิ ภเู ขาไฟบรุ รี ัมย์ 8
ประวัติข้าวหอมมะลิดินภูเขาไฟบุรีรัมย์ 10
ความสัมพนั ธร์ ะหว่างแหล่งภูมิศาสตรก์ ับขา้ วหอมมะลดิ นิ ภูเขาไฟบรุ รี มั ย์ 12
ขอบเขตพน้ื ทีป่ ลูกข้าว 17
การขึ้นทะเบียนเกษตรกร
การขน้ึ ทะเบียนผูแ้ ปรรปู ข้าว
คณะกรรมการควบคุมตรวจสอบ
แผนการควบคมุ ตรวจสอบ
1
นิ ยาม
ข้าวหอมมะลิดินภูเขาไฟบุรีรัมย์ (Kaow Hom Mali Din Phu Kao Fai Buriram Rice)
หมายถึง ข้าวเปลือก ข้าวกล้องและข้าวขาว ที่แปรรูปมาจากข้าวหอมมะลิพันธุ์ขาวดอกมะลิ 105
และพนั ธุ์ กข 15 ปลูกในฤดูนาปี บนพ้นื ที่ทมี่ ีแรธ่ าตจุ ากดนิ ภูเขาไฟบรุ ีรัมย์ซ่งึ เปน็ ลกั ษณะเฉพาะ ทำ
ให้เมล็ดข้าวเรียวยาว เล่อื มมนั มที ้องไข่น้อย เมอ่ื หุงสุกจะเหนียวนุ่มไม่แขง็ กระด้าง ครอบคลุมพ้ืนท่ี 7
อำเภอ ของจังหวัดบุรีรัมย์ ได้แก่ อำเภอเมืองบุรีรัมย์ อำเภอละหานทราย อำเภอเฉลิมพระเกียรติ
อำเภอห้วยราช อำเภอประโคนชัย อำเภอปะคำ และอำเภอนางรอง
ลกั ษณะขา้ วหอมมะลิดนิ ภเู ขาไฟบรุ รี ัมย์
1. พันธ์ุข้าว : พันธ์ุขาวดอกมะลิ 105 และพันธุ์ กข 15
2. ประเภทและลักษณะทางกายภาพของขา้ วหอมมะลดิ ินภูเขาไฟบรุ รี ัมย์
2.1 ข้าวเปลือก : เปลือกเมล็ดข้าวสีฟาง เรียวยาว ก้นงอน ไม่มีหาง เมล็ดยาวไม่น้อย
กว่า 10.6 มลิ ลิเมตร ความกวา้ งไม่น้อยกวา่ 2.5 มลิ ลเิ มตร ความหนาไมน่ อ้ ยกวา่ 1.9 มลิ ลิเมตร และ
นำ้ หนักขา้ วเปลอื ก 100 เมลด็ ระหว่าง 2.50–2.97 กรัม
2.2 ข้าวกล้อง : เมล็ดข้าวกล้อง รูปร่างเรียวยาว เมล็ดยาวไม่น้อยกว่า 7.5 มิลลิเมตร
ความกว้างไมน่ อ้ ยกวา่ 2.1 มิลลเิ มตร และความหนาไม่น้อยกว่า 1.8 มลิ ลเิ มตร
2.3 ข้าวขาว : เมล็ดข้าวขาว รูปร่างเรียวยาว ขาวใส มีความวาวเป็นเงา เลื่อมมัน ท้อง
ไข่น้อย เมล็ดยาวไม่น้อยกว่า 7.0 มิลลิเมตร และสัดส่วนความยาวต่อความกว้างไม่ต่ำกว่า 3.2 : 1
มลิ ลิเมตร เม่อื หงุ สกุ จะเหนียวนุม่ มีกล่นิ หอม ไมแ่ ฉะ ไม่แขง็ กระดา้ ง
3. ลักษณะทางเคมี
3.1 มีปริมาณฟอสฟอรัสอยใู่ นช่วง 1,578-3,109 มิลลิกรัมต่อกิโลกรมั
3.2 มีปริมาณแคลเซียมอยู่ในชว่ ง 66.25-110.70 มลิ ลิกรมั ต่อกิโลกรัม
3.3 มปี ริมาณเหลก็ อยูใ่ นชว่ ง 12.72-93.31 มลิ ลิกรมั ต่อกโิ ลกรัม
3.4 มปี รมิ าณแอมิโลสอยู่ในช่วง ร้อยละ 13 – 18
3.5 การสลายตัวในดาง ระดับ 6-7
4. ลกั ษณะอื่น ๆ
4.1 ความช้นื ไมเ่ กินร้อยละ 14
4.2 สง่ิ เจือปน ไมเ่ กินรอ้ ยละ 2
4.3 ข้าวพนั ธุ์อนื่ ปน ไมเ่ กินรอ้ ยละ 5
2
ภาพประกอบ 1 ข้าวเปลือก ข้าวกล้อง และขา้ วขาว
ภาพประกอบ 2 ขา้ วสวยและข้าวกลอ้ งหอมมะลิดินภูเขาไฟบุรรี ัมย์
ประวัติข้าวหอมมะลิดินภูเขาไฟบุรีรัมย์
“เมืองปราสาทหิน ถิ่นภูเขาไฟ ผ้าไหมสวย รวยวัฒนธรรม เลิศล้ำเมืองกีฬา”
คาํ ขวญั จังหวัดบรุ รี ัมย์ ที่สะท้อนถึงภูมิประเทศของจงั หวดั บรุ ีรัมยท์ ี่มภี เู ขาไฟมากท่ีสุดในประเทศไทย
ได้แก่ ภูเขาไฟ พนมรุ้ง ภูเขาไฟอังคาร ภูเขาไฟปลายบัด ภูเขาไฟคอก ภูเขาไฟหลุบ และภูเขาไฟ
กระโดง การสลายตวั ของหนิ ภูเขาไฟเป็นต้นกําเนิดของดนิ ภูเขาไฟ กลมุ่ ชุดดนิ ท่ี 1 และ กลุ่มชุดดินท่ี
28 ทําใหภ้ มู ิศาสตร์ของบุรีรัมยเ์ ป็นแหล่งผลิตข้าวหอมมะลิทมี่ ีคุณภาพ มีกลน่ิ หอม เหนียวนุ่ม ไม่แฉะ
ไมแ่ ข็งกระด้าง จากอดตี มาจนถงึ ปจั จุบนั ประชาชนในจังหวดั บุรีรัมยไ์ ด้มกี ารสบื สานบญุ ประเพณีข้าว
หอมมะลิดินภูเขาไฟ เรียกว่า ประเพณีบุญกุ้มข้าวใหญ่ เพื่อเป็นการสํานึกในบุญคุณของข้าวท่ี
หล่อเลี้ยงชีวิตทุกคน และเป็นการแสดงออกถึงพลังความร่วมแรงร่วมใจของชุมชนเพื่อสืบทอด
จิตวญิ ญาณของชาวนาซึ่งถอื ปฏิบตั ิร่วมกันหลังการเก็บเก่ยี วขา้ วเสรจ็ (ภาพประกอบ 3)
ในปี พ.ศ. 2524 เกษตรอําเภอประโคนชัย ได้เล็งเห็นถึงปัญหาของการเก็บรักษาพันธุ์ข้าว
ของเกษตรกรที่ยงั ขาดความรู้ในเรอื่ งการผลติ ข้าวให้มีคุณภาพ จึงไดศ้ กึ ษาวิธกี ารส่งเสริมให้เกษตรกร
ผลิตข้าวให้มีคุณภาพเพื่อเป็นขวัญและกําลังใจให้เกษตรกร โดยจัดการประกวดข้าวหอมมะลิ
ดินภูเขาไฟทุกปี ซึ่งข้าวหอมมะลิที่ชนะการประกวด ส่วนใหญ่มาจากข้าวที่ปลูกในพื้นที่ดินภูเขาไฟ
ทําให้ข้าวหอมมะลิดินภูเขาไฟเป็นที่รู้จักนับแต่นั้นเรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน (ภาพประกอบ 4)
นอกจากนั้น จังหวัดบุรีรัมย์ยังได้จัดงานเทศกาลข้าวหอมมะลิ ปลาจ่อมกุ้ง ชมทุ่งนาประโคนชัย
ในชว่ งเทศกาลปใี หม่ระหว่างวันท่ี 31 ธันวาคม ถงึ 1 มกราคม ของทุกปี (ภาพประกอบ 5)
3
ภาพประกอบ 3 ประเพณบี ุญกุ้มข้าวใหญ่
ภาพประกอบ 4 การประกวดขา้ วหอมมะลดิ ินภูเขาไฟบรุ ีรัมย์
ภาพประกอบ 5 งานเทศกาลขา้ วหอมมะลิดนิ ภูเขาไฟบรุ ีรมั ย์
4
ความสมั พันธ์ระหวา่ งแหล่งภมู ิศาสตร์กบั ข้าวหอมมะลดิ ินภเู ขาไฟบุรีรมั ย์
1. ลักษณะภูมอิ ากาศ
จังหวัดบุรีรัมย์มีสภาพภูมิอากาศแบบมรสุมเขตร้อน มีช่วงฤดูฝนสลับกับช่วงอากาศ
แห้งแล้งซึ่งแตกต่างกันอย่างชัดเจน โดยฤดูร้อนเริ่มตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ถึงเดือนพฤษภาคม
อากาศร้อนอบอ้าว บางช่วงส่งผลให้เกิดความแห้งแล้ง ฤดูฝนเริ่มตั้งแต่เดือนมิถุนายนถึง
เดือนกันยายน ปริมาณน้ำฝนไม่แนน่ อน ขนึ้ อยู่กับอิทธิพลของลมมรสุมและลมพายุดีเปรสชันในทะเล
จนี ใต้ ปรมิ าณน้ำฝนตกเฉลยี่ 1,200 มิลลิเมตรต่อปี ฤดหู นาวเริ่มต้งั แต่เดือนตลุ าคมถึงเดือนมกราคม
ขึ้นอยู่กับอิทธิพลของลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือและร่องความกดอากาศต่ำจากประเทศจีน
อุณหภมู ิตำ่ สดุ เฉลีย่ 12.80 องศาเซลเซยี ส
2. ลักษณะภมู ปิ ระเทศ
จังหวัดบุรีรัมย์ ตั้งอยู่ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย ระหว่างเส้นรุ้งที่
102 องศา 15 ลปิ ดาตะวนั ออก กับ 103 องศา 30 ลปิ ดาตะวันออก และระหวา่ งเสน้ แวงท่ี 14 องศา
15 ลิปดาเหนือ กับ 15 องศา 45 ลิปดาเหนือ สภาพพื้นที่โดยทั่วไปเป็นที่ราบสูงลาดจากทิศใต้
ลงไปทางทิศเหนือ พื้นที่มีลักษณะเป็นลูกคลื่น เป็นที่ราบขั้นบันได และช่องเขาที่เกิดจากภูเขาไฟ
เมอ่ื ประมาณเก้าแสนถงึ หนึ่งล้านปเี ศษ ทาํ ให้จังหวัดบรุ ีรมั ยม์ ีลกั ษณะภมู ิประเทศท่ีสําคัญ 3 ลักษณะ
คอื ทางตอนใตเ้ ปน็ พนื้ ทีส่ ูงและภูเขาซึ่งพื้นทีเ่ ป็นลอนลึก ภเู ขาและชอ่ งเขาบริเวณเทือกเขาพนมดงรัก
มีความสงู ตงั้ แต่ 200 เมตรจากระดบั นำ้ ทะเล ครอบคลุมพน้ื ทร่ี ้อยละ 25 ของพืน้ ท่ีจงั หวดั ตอนกลาง
เป็นพื้นที่ลูกคลื่นลอนตื้นความสูงตั้งแต่ 150 - 20 เมตร จากระดับน้ำทะเลปานกลาง พื้นที่จะทอด
ขนานเป็นแนวยาวทางทิศตะวันออกและทิศตะวันตก ครอบคลุมพื้นที่ประมาณรอ้ ยละ 60 ของพื้นที่
จังหวดั และตอนเหนือเป็นพ้ืนทีร่ าบลุ่มรมิ ฝง่ั แม่นำ้ มูล มีความสูงเฉลย่ี ต่ำกวา่ 150 เมตร
3. ดินภเู ขาไฟ
หินบะซอลท์ (basalt) เป็นหินจากภูเขาไฟที่มีองค์ประกอบของ SiO2 (ร้อยละ 52.23)
Al2O3 (ร้อยละ 14.92) Fe2O3 (รอ้ ยละ 3.68) FeO (ร้อยละ 6.62) CaO (รอ้ ยละ 6.45) MgO (รอ้ ยละ
5.00) Na2O (รอ้ ยละ 4.10) K2O (ร้อยละ 1.65) TiO2 (รอ้ ยละ 2.65) MnO (ร้อยละ 0.10) และ P2O5
(ร้อยละ 0.75) ตามลำดับ (กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่. 2562 : 5) การสลายตัวของ
หินบะซอลท์เป็นต้นกำเนิดของดินภูเขาไฟ 2 กลุ่มชุดดิน ได้แก่ กลุ่มชุดดินที่ 1 ประกอบด้วย
ชุดดินบุรีรัมย์ และชุดดินวัฒนา ลักษณะเนื้อดินบนเป็นดินเหนียวหรือดินเหนียวปนทรายแป้ง
เป็นกรดเล็กน้อย (5.5-6.5) อินทรียวัตถุอยู่ในเกณฑ์ปานกลาง (ร้อยละ 2.2) และฟอสฟอรัส (P2O5)
อยู่ในเกณฑ์ปานกลาง (14.2 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม) และโพแทสเซียม (K2O) อยู่ในเกณฑ์สูง (144.4
มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม) ส่วนเนื้อดินล่างเป็นดินเหนียว เป็นกรดเล็กน้อยถึงปานกลาง (6.0-7.5)
อินทรียวัตถุอยู่ในเกณฑ์ต่ำ (ร้อยละ 1.1) ฟอสฟอรัสอยู่ในเกณฑ์ต่ำ (3.1 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม)
5
และโพแทสเซียมอยู่ในเกณฑ์สูง (114.0 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม) และกลุ่มชุดดินที่ 28 ประกอบด้วย
ชุดดินชัยบาดาล ลักษณะเนื้อดินบนเป็นดินเหนียว เป็นกรดเล็กน้อย (5.5-6.5) อินทรียวัตถุ
อยใู่ นเกณฑ์สงู (รอ้ ยละ 8.0) ฟอสฟอรัสอยู่ในเกณฑ์สงู (28.8 มิลลกิ รมั ต่อกิโลกรัม) และโพแทสเซียม
อยู่ในเกณฑ์สูง (208.8 มิลลกิ รมั ตอ่ กิโลกรัม) สว่ นเน้ือดินล่างเป็นดินเหนยี ว เป็นกลางถึงด่างเล็กน้อย
(7.0-8.0) อินทรียวัตถุอยู่ในเกณฑ์สูง (4.9) ฟอสฟอรัสอยู่ในเกณฑ์สูง (22.4 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม)
และโพแทสเซยี มอยใู่ นเกณฑ์สงู (111.1 มลิ ลิกรัมต่อกิโลกรัม) (ตารางท่ี 1)
ตารางที่ 1 คา่ กรดด่าง อินทรยี วตั ถุ ฟอสฟอรสั และโปแทสเซียมของดินภเู ขาไฟ จงั หวดั บุรีรัมย์
อำเภอ กรดดา่ ง (pH) อินทรีย์วตั ถุ ฟอสฟอรสั โพแทสเซียม
(รอ้ ยละ) (มิลลกิ รัมต่อกโิ ลกรัม) (มลิ ลกิ รัมตอ่ กิโลกรมั )
เมอื งบุรรี ัมย์
ชดุ ดินที่ 1 5.5-7.0 (เหมาะสม) 1.5 (ตำ่ ) 17 (ปานกลาง) 81.3 (สูง)
ชดุ ดินท่ี 28 5.5-6.5 (เหมาะสม) 8 (สงู ) 29.7 (สงู ) 208.8 (สงู )
ห้วยราช
ชุดดินท่ี 1 5.5-7.0 (เหมาะสม) 1.5 (ต่ำ) 17 (ปานกลาง) 81.3 (สงู )
ชุดดนิ ท่ี 28 5.5-6.5 (เหมาะสม) 8 (สูง) 29.7 (สงู ) 208.8 (สงู )
ประโคนชยั
ชดุ ดินที่ 1 5.5-7.0 (เหมาะสม) 1.5 (ต่ำ) 17 (ปานกลาง) 81.3 (สูง)
ชดุ ดนิ ท่ี 28 5.5-6.5 (เหมาะสม) 8 (สูง) 29.7 (สูง) 208.8 (สูง)
เฉลมิ พระเกยี รติ
ชุดดนิ ที่ 1 5.5-7.0 (เหมาะสม) 1.5 (ต่ำ) 17 (ปานกลาง) 81.3 (สูง)
ชดุ ดินที่ 28 5.5-6.5 (เหมาะสม) 8 (สงู ) 29.7 (สงู ) 208.8 (สูง)
ปะคำ
ชดุ ดินท่ี 1 5.5-7.0 (เหมาะสม) 1.5 (ต่ำ) 17 (ปานกลาง) 81.3 (สูง)
ละหานทราย
ชดุ ดินที่ 1 5.5-7.0 (เหมาะสม) 1.5 (ต่ำ) 17 (ปานกลาง) 81.3 (สูง)
นางรอง
ชุดดนิ ท่ี 1 5.5-7.0 (เหมาะสม) 1.5 (ต่ำ) 17 (ปานกลาง) 81.3 (สูง)
ชดุ ดินที่ 28 5.5-6.5 (เหมาะสม) 8 (สูง) 29.7 (สงู ) 208.8 (สูง)
6
4. ความสมั พนั ธ์ระหว่างแหล่งภูมศิ าสตร์กบั ขา้ วหอมมะลิดนิ ภเู ขาไฟบุรีรมั ย์
ข้าวหอมมะลิดินภูเขาไฟบุรีรัมย์ เป็นข้าวที่ไวต่อช่วงแสง สายพันธุ์ขาวดอกมะลิ 105
และพันธุ์ กข 15 สามารถปลูกได้ปีละครั้งในฤดูนาปี โดยปัจจัยทางสภาพแวดล้อมที่ทําให้
ข้าวหอมมะลิเกิดความเครียด เนื่องจากการขาดน้ำในระยะข้าวสะสมแป้ง และอุณหภูมิต่ำในระยะ
สุกแก่ มีผลทําให้ปรมิ าณสารหอมระเหย 2-Acetyl-1-Pyrroline (2AP) เพิ่มขึ้นได้ และจากลักษณะ
พื้นทก่ี ารปลกู ขา้ วเปน็ พน้ื ท่ีกล่มุ ชุดดนิ ท่ีเกดิ จากการสลายตวั ของหนิ ภเู ขาไฟ อันเป็นคุณสมบตั เิ ดน่ ของ
ดิน คือ มีปริมาณฟอสฟอรสั อยู่ในระดับ 17–29.7 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม และปริมาณโพแทสเซยี มอยู่
ในระดับ 81.3-208.8 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม ซึ่งเหมาะสมต่อการ ปลูกข้าวหอมมะลิดินภูเขาไฟ
ส่งผลทําให้ข้าวหอมมะลิดินภูเขาไฟบุรีรัมยม์ ีเมล็ดข้าวเรียวยาว ขาวใส มีความวาวเป็นเงา เลื่อมมัน
ท้องไข่น้อย มีปริมาณธาตุฟอสฟอรัส 1,578 - 3,109 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม และแคลเซียม 66 – 110
มลิ ลิกรมั ตอ่ กิโลกรมั ซึง่ สงู กว่าขา้ วหอมมะลิทีป่ ลูกในพ้ืนทีอ่ ่นื ๆ
ขอบเขตพื้นที่ปลูกข้าว
จงั หวดั บรุ รี มั ย์ มพี นื้ ที่ปลูกขา้ วในดนิ ภเู ขาไฟทั้งหมด 100,206 ไร่ ครอบคลมุ พนื้ ที่ 7 อําเภอ
ของจังหวัดบุรีรัมย์ ได้แก่ อําเภอเมืองบุรีรัมย์ อําเภอห้วยราช อําเภอประโคนชัย อําเภอเฉลิมพระ
เกียรติ อําเภอปะคาํ อาํ เภอละหานทราย และอาํ เภอนางรอง (ภาพประกอบท่ี 6 และตารางท่ี 2)
1. อำเภอเมืองบุรีรัมย์ มีพื้นที่ปลูกข้าวในดินภูเขาไฟ 15,003 ไร่ (ร้อยละ 14.97 ของพื้น
ท่ีดินภูเขาไฟทั้งหมด) ครอบคลุมเฉพาะตำบลบ้านบัว ตำบลบ้านยาง ตำบลสวายจีก ตำบลเสม็ด
ตำบลอิสาณ ตำบลบวั ทอง และตำบลสะแกซำ
2. อำเภอห้วยราช มีพื้นที่ปลูกข้าวในดินภูเขาไฟ 6,746 ไร่ (ร้อยละ 6.73 ของพื้นที่ดิน
ภูเขาไฟทั้งหมด) ครอบคลุมเฉพาะตำบลสนวน ตำบลห้วยราช ตำบลห้วยราชา ตำบลสามแวง และ
ตำบลโคกเหลก็
3. อำเภอประโคนชัย มีพื้นที่ปลูกข้าวในดินภูเขาไฟ 12,877 ไร่ (ร้อยละ 12.85 ของพื้น
ที่ดินภูเขาไฟทั้งหมด) ครอบคลุมเฉพาะตำบลเขาคอก ตำบลจระเข้มาก ตำบลประทัดบุ และตำบล
โคกย่าง
4. อำเภอเฉลิมพระเกียรติ มีพื้นที่ปลูกข้าวในดินภูเขาไฟ 43,382 ไร่ (ร้อยละ 43.29 ของ
พื้นท่ีดินภูเขาไฟทั้งหมด) ครอบคลุมเฉพาะตำบลเจริญสุข ตำบลตาเป๊ก ตำบลถาวร และตำบลยาย
แย้มวฒั นา
5. อำเภอปะคำ มีพื้นที่ปลกู ข้าวในดินภูเขาไฟ 2,755 ไร่ (ร้อยละ 2.75 ของพื้นท่ีดนิ ภูเขา
ไฟท้ังหมด) ครอบคลมุ เฉพาะตำบลโคกมะม่วง และตำบลไทยเจริญ
7
6. อำเภอละหานทราย มีพ้ืนทป่ี ลกู ข้าวในดินภูเขาไฟ 5,963 ไร่ (รอ้ ยละ 5.95 ของพ้นื ที่ดนิ
ภูเขาไฟทั้งหมด) ครอบคลุมเฉพาะตำบลตาจง และตำบลโคกว่าน
7. อำเภอนางรอง มีพื้นที่ปลูกข้าวในดินภูเขาไฟ 13,480 ไร่ (ร้อยละ 13.45 ของพื้นที่ดนิ
ภูเขาไฟทั้งหมด) ครอบคลุมเฉพาะตำบลสะเดา ตำบลหนองไทร ตำบลหนองโบสถ์ และตำบลชุมแสง
ภาพประกอบ 6 แผนท่ีกลมุ่ ชุดดนิ ที่ 1 และ 28 จังหวัดบรุ รี มั ย์
ตารางที่ 2 พื้นท่ปี ลกู ข้าวหอมมะลิดนิ ภเู ขาไฟบรุ ีรัมย์
อำเภอ พน้ื ท่ีดินภูเขาไฟ
ไร่ รอ้ ยละ
เมอื งบุรรี ัมย์ 15,003 14.97
หว้ ยราช 6,746 6.73
ประโคนชัย 12,877 12.85
เฉลิมพระเกยี รติ 43,382 43.29
ปะคำ 2,755 2.75
ละหานทราย 5,963 5.95
นางรอง 13,480 13.45
รวม 100,206 100.00
8
การขึน้ ทะเบียนเกษตรกร
1. ข้อกำหนดการตรวจสอบการขึ้นทะเบยี นเกษตรกร
1.1 คณุ สมบัติ
เกษตรกรทจ่ี ะขึน้ ทะเบียนเป็นสมาชิกผู้มีสิทธิใ์ ช้ส่ิงบ่งชี้ทางภมู ิศาสตร์ข้าวหอมมะลิ
ดินภูเขาไฟบรุ รี ัมย์ ต้องเป็นเกษตรกรที่มีพืน้ ท่ีปลูกข้าวในเขตพื้นท่ีดินภูเขาไฟ 7 อำเภอ ของจังหวดั
บรุ รี ัมย์ ไดแ้ ก่ (1) อำเภอเมืองบรุ รี ัมย์ เฉพาะตำบลบ้านบวั ตำบลบ้านยาง ตำบลสวายจีก ตำบลเสม็ด
ตำบลอิสาณ ตำบลบัวทอง ตำบลสะแกซำ (2) อำเภอห้วยราช เฉพาะตำบลสนวน ตำบลห้วยราช
ตำบลห้วยราชา ตำบลสามแวง ตำบลโคกเหล็ก (3) อำเภอประโคนชัย เฉพาะตำบลเขาคอก
ตำบลจระเข้มาก ตำบลประทัดบุ ตำบลโคกย่าง (4) อำเภอเฉลิมพระเกียรติ เฉพาะตำบลเจริญสุข
ตำบลตาเป๊ก ตำบลถาวร ตำบลยายแย้มวัฒนา (5) อำเภอปะคำ เฉพาะตำบลโคกมะม่วง
ตำบลไทยเจริญ (6) อำเภอละหานทราย เฉพาะตำบลตาจง ตำบลโคกว่าน และ (7) อำเภอนางรอง
เฉพาะตำบลถนนหัก ตำบลสะเดา ตำบลหนองไทร ตำบลหนองโบสถ์ ตำบลชุมแสง
1.2 ขอ้ กำหนดการตรวจสอบ
1.2.1 เปน็ เกษตรกรท่ไี ดผ้ ่านการรับรองมาตรฐาน GAP หรอื อินทรยี ์
1.2.2 เป็นเกษตรกรที่ได้ขึ้นทะเบียนเป็นผู้ผลิตข้าวหอมมะลิดินภูเขาไฟบุรีรัมย์
ณ สำนกั งานเกษตรอำเภอ
1.2.3 ใช้เมล็ดพันธุ์ข้าวพนั ธุ์ขาวดอกมะลิ 105 หรือ กข 15 ในการผลิต ที่มาจาก
แหล่งเมล็ดพนั ธด์ุ จี ากกรมการขา้ ว ศูนย์ข้าวชมุ ชน/สหกรณก์ ารเกษตร ทีผ่ ลิตเมลด็ พันธโ์ุ ดยมีรอบการ
ใช้เมล็ดพันธดุ์ ไี มเ่ กิน 3 ฤดูกาลผลติ
1.2.4 เพาะปลกู ในฤดนู าปี
1.2.5 มีการปฏิบัติ การป้องกันกำจัดศัตรูข้าว การให้ปุ๋ย การเก็บเกี่ยว
ตามคำแนะนำการจดั การคณุ ภาพมาตรฐาน GAP หรือมาตรฐานอนิ ทรยี ์
1.3 การขึน้ ทะเบยี น
1.3.1 ยน่ื ใบสมคั รขน้ึ ทะเบยี นเปน็ สมาชิกผู้มีสทิ ธิใช้ส่ิงบ่งชที้ างภูมศิ าสตร์ ตามแบบ
ทก่ี ำหนด ณ สำนกั งานเกษตรอำเภอ (ภาพประกอบ 7)
1.3.2 หากมกี ารยกเลกิ การผลติ ตอ้ งแจ้งผรู้ บั ข้นึ ทะเบียนทราบ
1.4 การยกเลกิ การข้ึนทะเบยี น
หากตรวจสอบพบวา่ ไม่มีคุณสมบัตติ ามข้อ 1.1 และขอ้ 1.2 คณะกรรมการมสี ิทธิ์
ในการยกเลิกการขน้ึ ทะเบยี นเปน็ เกษตรกรผูป้ ลูกข้าวหอมมะลิดินภูเขาไฟบรุ รี ัมย์
9
เกษตรกรผปู้ ลกู ขา้ วหอมมะลิดนิ ภเู ขาไฟบุรรี ัมย์
ขึน้ ทะเบยี น ณ สนง.เกษตรอำเภอ
การตรวจสอบ
(คณะทำงานพฒั นาการผลิตข้าวหอมมะลดิ ินภูเขาไฟบุรีรัมยแ์ ละตรวจรบั รองแหล่งผลติ )
ไม่ผา่ น ผา่ น คณะกรรมการรบั รอง
รับรอง ไม่รบั รอง
แนะนำ
(คณะทำงานระดับอำเภอ)
ตรวจสอบ
(คณะทำงานพัฒนาการผลติ ข้าวหอมมะลิ
ดินภเู ขาไฟบุรีรมั ย์และตรวจรับรองแหลง่ ผลติ )
ภาพประกอบ 7 ขัน้ ตอนการขนึ้ ทะเบียนเพ่อื รับรองเกษตรกรผปู้ ลูกข้าว
10
การขน้ึ ทะเบียนผู้แปรรูปข้าว
1. ข้อกำหนดการตรวจสอบการข้ึนทะเบยี นผู้รวบรวม ผแู้ ปรรูป และผ้จู ำหนา่ ย
1.1 คณุ สมบตั ิ
สถานทีผ่ ลติ ข้าวหอมมะลิดนิ ภูเขาไฟบรุ รี ัมย์ ตอ้ งตัง้ อยใู่ นจังหวัดบุรรี ัมย์
1.2 ข้อกำหนดการตรวจสอบ
1.2.1 ข้าวหอมมะลิดินภูเขาไฟบุรีรัมย์ ที่ผลิตต้องได้มาจากข้าวเปลือกของ
เกษตรกร/กลมุ่ เกษตรกรที่ไดข้ ้ึนทะเบียนสมาชิกผู้ผลิตข้าวหอมมะลิดินภเู ขาไฟบุรีรัมย์ และได้รับการ
รับรองว่าได้ปฏบิ ัตติ ามวธิ กี ารปลกู ข้าวหอมมะลิดนิ ภเู ขาไฟบุรรี ัมย์ กรณีตอ้ งสขี า้ วจากโรงสีท่ไี ด้รับการ
ขนึ้ ทะเบียนการเป็นโรงสี ทสี่ ีขา้ วหอมมะลดิ ินภเู ขาไฟบุรีรัมย์หรือการกะเทาะข้าวเปลอื กโดยวธิ ีการอื่น
1.2.2 มีสถานที่เพียงพอในการแยกจัดเก็บข้าวหอมมะลิดินภูเขาไฟบุรีรัมย์ ออก
จากขา้ วชนิดอ่นื ๆ และมีการจดั เกบ็ ผลผลิตท่เี หมาะสมเพอ่ื รักษาคณุ ภาพ
1.2.3 การผลิต และการรับ-จ่าย ข้าวหอมมะลิดินภูเขาไฟบุรีรัมย์ แต่ละคร้ัง
มีการบันทึกข้อมูล ได้แก่ ที่มาของข้าวเปลือก ปริมาณข้าวเปลือกที่นำมาผลิต ปริมาณข้าวกล้อง
ข้าวสาร ทไ่ี ดร้ บั จากการนำขา้ วเปลือกมาผลิต ปริมาณขา้ วกล้อง ขา้ วสาร ที่จา่ ย จา่ ยผู้ใดและปริมาณ
คงเหลอื เกบ็ ไว้ ณ สถานที่ผลติ เพอ่ื ใชใ้ นการตรวจสอบ
1.2.4 การบรรจุหีบห่อ การเก็บรักษา ผู้บรรจุหีบห่อ จะต้องดูแลรักษาอุปกรณ์
สถานทบี่ รรจตุ ้องสะอาดถูกสุขลักษณะ
1.2.5 ผลิตภัณฑ์ที่บรรจุหีบห่อแล้วต้องมีฉลาก ดังนี้ “ข้าวหอมมะลิดินภูเขาไฟ
บุรีรัมย์ และ “Kaow Hom Mali Din Phu Kao Fai Buriram Rice” และระบุวันที่บรรจุ ชื่อผู้บรรจุ
ปรมิ าณท่ีบรรจุ พรอ้ มระบุเลขทะเบียน สช........และเครือ่ งหมายการค้า (ถ้ามี) (ภาพประกอบ 8)
1.2.6 จัดเก็บผลิตภัณฑ์ โดยวางกองรวมกันบนแท่นสินค้า (pallet) และมีป้าย
ระบุวันที่ผลิต และ Lot No. จัดเก็บแยกไว้จากข้าวชนิดอื่น และมีการระบุว่าเป็นบริเวณที่เก็บข้าว
หอมมะลิดินภเู ขาไฟบรุ รี มั ย์
1.2.7 ผ้บู รรจตุ อ้ งบนั ทกึ ปริมาณผลติ ภณั ฑ์ ชอื่ ผู้ซอื้ วันท่แี ละปริมาณท่ขี าย
ภาพประกอบ 8 รายละเอียดบนฉลากสินคา้
11
1.3 การขน้ึ ทะเบยี น
1.3.1 ยื่นใบสมัครขึ้นทะเบียนเป็นสมาชิกผู้มีสิทธิใช้สิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์
ตามแบบท่ีกำหนด ณ สำนักงานพาณิชย์จังหวดั บรุ รี มั ย์ (ภาพประกอบ 9)
1.3.2 หากมกี ารยกเลกิ การผลติ ต้องแจ้งผรู้ บั ข้นึ ทะเบียนทราบ
1.4 การยกเลกิ การขึน้ ทะเบยี น
หากตรวจสอบพบว่าไม่มีคุณสมบัติตามข้อ 1.1 และข้อ 1.2 คณะกรรมการมีสิทธ์ิ
ในการยกเลิกการขน้ึ ทะเบียนเปน็ ผู้ผลิตขา้ วหอมมะลิดินภเู ขาไฟบรุ ีรมั ย์
ผรู้ วบรวม ผู้แปรรูป และผจู้ ำหนา่ ยข้าวหอมมะลิดินภูเขาไฟบุรรี ัมย์
ขนึ้ ทะเบยี น ณ สนง.พาณิชย์จงั หวดั บุรรี ัมย์
การตรวจสอบ
(คณะทำงานตรวจรบั รองการแปรสภาพ)
ไม่ผา่ น ผา่ น คณะกรรมการรบั รอง
รบั รอง ไมร่ ับรอง
แนะนำ
(คณะทำงานตรวจรับรองการแปรสภาพ)
ตรวจสอบ
(คณะทำงานตรวจรับรองการแปรสภาพ)
ภาพประกอบ 9 ข้นั ตอนการขึ้นทะเบยี นผ้ผู ลิตข้าวหอมมะลดิ ินภเู ขาไฟบรุ รี ัมย์
12
คณะกรรมการควบคมุ ตรวจสอบ
ระบบควบคุมตรวจสอบในระดับจังหวัด กำหนดให้มีคณะกรรมการที่ได้รับการแต่งต้ัง
จากจังหวัดบุรีรัมย์ ได้แก่ คณะทำงานจัดทำคำขอขึ้นทะเบียนสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ คณะกรรมการ
รับรองสินค้าสิง่ บ่งช้ีทางภูมิศาสตรข์ า้ วหอมมะลิดินภูเขาไฟบุรีรัมย์ คณะกรรมการตรวจรับรองแปลง
และคณะกรรมการตรวจรับรองแปรสภาพ
1. คณะทำงานจดั ทำคำขอข้นึ ทะเบยี นสิ่งบง่ ชท้ี างภูมศิ าสตร์
1.1 คณะทำงานทปี่ รึกษา
1.1.1 คณะกรรมการ
ผู้วา่ ราชการจงั หวัดบรุ ีรมั ย์ ประธานทีป่ รึกษา
รองผู้ว่าราชการจงั หวัดบุรรี ัมย์ รองประธานท่ปี รึกษา
อธกิ ารบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏบรุ รี มั ย์ ที่ปรึกษา
ประธานหอการคา้ จังหวดั บรุ ีรัมย์ ที่ปรกึ ษา
พฒั นาการจงั หวัดบรุ ีรัมย์ ที่ปรึกษา
พาณิชยจ์ งั หวดั บรุ ีรัมย์ ทป่ี รึกษา
วฒั นธรรมจังหวดั บุรรี มั ย์ ทป่ี รกึ ษา
เกษตรและสหกรณ์จังหวดั บุรีรัมย์ ทป่ี รึกษา
สหกรณ์จังหวดั บรุ รี มั ย์ ทป่ี รกึ ษา
ประชาสัมพันธ์จงั หวดั บุรรี ัมย์ ท่ีปรึกษา
ผอู้ ำนวยการสถานพี ัฒนาทดี่ นิ บุรีรัมย์ ที่ปรึกษา
ผู้อำนวยการศูนย์วจิ ยั ข้าวนครราชสีมา ทป่ี รึกษา
เกษตรจังหวดั บรุ รี มั ย์ ที่ปรกึ ษาและเลขานกุ าร
หวั หน้ากลมุ่ สง่ เสริมและพฒั นาการผลิต ทปี่ รกึ ษาและ
สำนักงานเกษตรจงั หวดั บุรรี มั ย์ ผู้ช่วยเลขานกุ าร
1.1.2 หน้าทค่ี ณะทำงานทปี่ รกึ ษา
คณะทำงานที่ปรึกษามหี น้าที่ให้คำแนะนำปรกึ ษาแก่คณะทำงานดำเนินงาน
เกี่ยวกับการดำเนินการจัดทำคำขอขึ้นทะเบียนสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ และแต่งตั้งคณะทำงานอื่น ๆ
ท่เี ก่ียวขอ้ ง เพ่ือให้การดำเนนิ งานสำเร็จตามวัตถุประสงค์
13
1.2 คณะทำงานดำเนนิ งาน ประธานคณะทำงาน
1.2.1 คณะกรรมการ รองประธานคณะทำงาน
เกษตรจังหวดั บรุ ีรัมย์ รองประธานคณะทำงาน
พาณชิ ยจ์ งั หวดั บุรีรัมย์ คณะทำงาน
เกษตรและสหกรณ์จังหวัดบรุ รี มั ย์ คณะทำงาน
ผู้อำนวยการสถานพี ัฒนาทีด่ นิ บุรีรมั ย์ หรอื ผู้แทน คณะทำงาน
ผู้อำนวยการศูนยว์ ิจยั ขา้ วนครราชสมี า หรือผแู้ ทน คณะทำงาน
อาจารย์มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั บุรีรัมย์ (ทไี่ ดร้ ับมอบหมาย) คณะทำงาน
เกษตรอำเภอเมอื งบรุ รี ัมย์ คณะทำงาน
เกษตรอำเภอนางรอง คณะทำงาน
เกษตรอำเภอประโคนชัย คณะทำงาน
เกษตรอำเภอละหานทราย คณะทำงาน
เกษตรอำเภอหว้ ยราช คณะทำงาน
เกษตรอำเภอเฉลิมพระเกยี รติ คณะทำงาน
ประธานกลุ่มข้าวดนิ ภูเขาไฟอำเภอเมอื งบุรรี ัมย์ คณะทำงาน
ประธานกลุ่มขา้ วดินภเู ขาไฟอำเภอนางรอง คณะทำงาน
ประธานกลมุ่ ข้าวดินภเู ขาไฟอำเภอประโคนชยั คณะทำงาน
ประธานกลุม่ ข้าวดนิ ภูเขาไฟอำเภอละหานทราย คณะทำงาน
ประธานกลมุ่ ข้าวดินภูเขาไฟอำเภอหว้ ยราช คณะทำงาน
ประธานกลุม่ ขา้ วดนิ ภูเขาไฟอำเภอเฉลมิ พระเกียรติ คณะทำงาน
ผูแ้ ทน บรษิ ัท ยูนิเวอร์แซลไรซ์ จำกัด และเลขานกุ าร
หัวหนา้ กลมุ่ สง่ เสรมิ และพฒั นาการผลติ คณะทำงานและ
สำนักงานเกษตรจงั หวดั บรุ ีรัมย์ ผ้ชู ่วยเลขานกุ าร
นักวิชาการพาณชิ ย์ชำนาญการพเิ ศษ
สำนกั งานพาณชิ ย์จังหวัดบุรรี มั ย์
1.2.2 หนา้ ท่คี ณะทำงานดำเนินงาน
1.2.2.1 รวบรวมข้อมลู ประวัติความเป็นมาของแหล่งภูมิศาสตร์ดนิ ภูเขาไฟ วิถีชีวิต
เกษตกร วิธีปฏิบัติในการปลูกข้าวหอมมะลิดินภูเขาไฟเพื่อประกอบการจัดทำคำขอขึ้นทะเบียนสิ่งบ่งช้ี
ทางภมู ิศาสตร์
1.2.2.2 วางแผนจัดประชุมปรึกษาหารือเพื่อกำหนดทิศทางการแปรรูปและการ
พัฒนาผลิตภัณฑ์ข้าวหอมมะลิ กำหนดขอบเขตพื้นที่ผลิตข้าวและจัดทำระบบตรวจสอบควบคุมคุณภ าพ
สินค้า
14
1.2.2.3 จัดทำร่างคำขอขึ้นทะเบียนสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์เพื่อเสนอคณะทำงาน
ท่ปี รกึ ษาพจิ ารณา
1.2.2.4 สรุปการดำเนินงาน ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ เสนอคณะทำงานท่ี
ปรึกษา
2. คณะกรรมการรับรองสนิ คา้ สิ่งบ่งชี้ทางภูมศิ าสตรข์ ้าวหอมมะลดิ นิ ภเู ขาไฟบรุ รี ัมย์
2.1 คณะกรรมการ
ผู้ว่าราชการจงั หวัดบรุ รี มั ย์ ประธานกรรมการ
รองผวู้ ่าราชการจังหวดั บุรรี ัมย์ รองประธานกรมการ
อธกิ ารบดมี หาวิทยาลยั ราชภัฏบุรีรัมย์ กรรมการ
ประธานหอการค้าจังหวดั บรุ รี ัมย์ กรรมการ
พฒั นาการจงั หวดั บุรีรัมย์ กรรมการ
พาณิชยจ์ ังหวัดบุรรี ัมย์ กรรมการ
อตุ สาหกรรมจงั หวดั บรุ รี มั ย์ กรรมการ
วฒั นธรรมจงั หวดั บุรรี มั ย์ กรรมการ
เกษตรและสหกรณจ์ ังหวัดบรุ รี ัมย์ กรรมการ
สหกรณจ์ ังหวดั บรุ รี มั ย์ กรรมการ
ประชาสมั พนั ธ์จงั หวดั บรุ รี มั ย์ กรรมการ
ผอู้ ำนวยการสถานีพัฒนาทีด่ ินบุรรี มั ย์ กรรมการ
ผูอ้ ำนวยการศนู ย์เมลด็ พนั ธข์ุ ้าวบุรีรมั ย์ กรรมการ
ผอู้ ำนวยการศนู ย์วิจัยขา้ วนครราชสมี า กรรมการ
เกษตรจงั หวัดบุรรี มั ย์ กรรมการและเลขานกุ าร
หวั หน้ากลุ่มสง่ เสรมิ และพฒั นาการผลติ กรรมการและ
สำนกั งานเกษตรจงั หวัดบุรีรัมย์ ผู้ชว่ ยเลขานุการ
2.2 หน้าท่ีคณะกรรมการ
2.2.1 รบั รองสนิ คา้ ส่ิงบ่งชท้ี างภมู ิศาสตร์ข้าวหอมมะลดิ ินภเู ขาไฟบรุ รี มั ย์
2.2.2 ปฏบิ ัติงานอื่นตามทไ่ี ด้รับมอบหมาย
15
3. คณะกรรมการตรวจรบั รองแปลง
3.1 คณะกรรมการ
เกษตรอำเภอ ประธานกรรมการ
ผอู้ ำนวยการสถานีพฒั นาทด่ี นิ บุรีรัมย์ หรือผู้แทน รองประธานกรรมการ
ประธานศนู ยเ์ รยี นรู้การเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพ กรรมการ
การผลติ สนิ ค้าเกษตร หรอื ผู้แทน
ตัวแทนเกษตรผู้ปลูกขา้ วหอมมะลดิ นิ ภเู ขาไฟ กรรมการ
นกั วชิ าการส่งเสรมิ เกษตรอำเภอ เลขานุการ
3.2 หน้าทค่ี ณะกรรมการตรวจรับรองแปลง
3.2.1 ตรวจรับรองแปลงปลูกของเกษตรกร เพื่อขอรับรองการเป็นสมาชิก
ผู้ขอขึ้นทะเบียนสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ข้าวหอมมะลิดินภูเขาไฟบุรีรัมย์ ให้เป็นไปตามคู่มือสมาชิก
ผู้ขอขน้ึ ทะเบียนส่ิงบ่งชท้ี างภมู ิศาสตรข์ า้ วหอมมะลิดนิ ภูเขาไฟบุรรี ัมย์
3.2.2 ให้คำแนะนำการผลิตข้าวหอมมะลิดินภูเขาไฟบุรีรัมย์แก่เกษตรกร
ที่เป็นสมาชิกผู้ขอขึ้นทะเบียนสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ข้าวหอมมะลิดินภูเขาไฟบุรีรัมย์ ให้ทำ
ตามมาตรฐานการผลติ ข้าวตามเกณฑค์ ูม่ ือปฏิบัตงิ านสำหรับสมาชิกผู้ขอใชส้ ิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ข้าว
หอมมะลดิ นิ ภูเขาไฟบุรรี มั ย์
3.2.3 ปฏบิ ัตงิ านอืน่ ตามทไี่ ดร้ บั มอบหมาย
16
4. คณะกรรมการตรวจรับรองการแปรสภาพ ประธานกรรมการ
4.1 คณะกรรมการ รองประธานกรรมการ
พาณชิ ย์จงั หวัดบรุ ีรมั ย์ กรรมการ
อตุ สาหกรรมจงั หวัดบุรรี มั ย์ หรอื ผ้แู ทน กรรมการ
เกษตรจังหวดั บรุ รี ัมย์ หรือผู้แทน เลขานกุ าร
ผู้อำนวยการศนู ยเ์ มลด็ พนั ธข์ุ า้ วบรุ ีรัมย์ หรอื ผู้แทน
นกั วิชาการพาณชิ ยช์ ำนาญการพิเศษ
4.2 หนา้ ท่ีคณะกรรมการตรวจรบั รองการแปรสภาพ
4.2.1 ตรวจรับรองผู้ประกอบการโรงสี เพื่อขอรับรองการเป็นสมาชิกผู้ขอข้ึน
ทะเบียนสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ข้าวหอมมะลิดินภูเขาไฟบุรีรัมย์ ให้เป็นไปตามคู่มือสมาชิกผู้ขอขึ้น
ทะเบียนสิ่งบง่ ชท้ี างภูมิศาสตร์ขา้ วหอมมะลิดนิ ภูเขาไฟบุรีรมั ย์
4.2.2 การให้คำแนะนำผู้ประกอบการโรงสีที่เป็นสมาชิกผู้ขอขึ้นทะเบียนสิ่งบ่งชี้
ทางภูมิศาสตร์ข้าวหอมมะลิดินภูเขาไฟบุรีรัมย์ ให้ทำตามมาตรฐานการผลิตข้าวตามเกณฑ์
ค่มู ือปฏิบตั ิงานสำหรับสมาชกิ ผู้ขอใช้สิ่งบง่ ช้ีทางภูมศิ าสตร์ข้าวหอมมะลิดินภเู ขาไฟบรุ รี ัมย์
4.2.3 ปฏบิ ตั งิ านอื่นตามที่ได้รบั มอบหมาย
17
แผนการควบคมุ ตรวจสอบ
แผนการควบคุมตรวจสอบข้าวหอมมะลิดินภูเขาไฟบุรีรัมย์ มีเป้าหมายการตรวจสอบ
พื้นที่ปลูก ผู้ผลิต กระบวนการผลิต คุณภาพสินค้า และการตรวจสอบคุณภาพข้าวหอมมะลิ
ดินภูเขาไฟบุรีรมั ย โดยมีข้อกำหนดวิธีและเครื่องมอื ท่ีใชใ้ นการควบคุมตรวจสอบ ดังนี้
ตารางท่ี 3 แผนการควบคุมตรวจสอบข้าวหอมมะลิดินภูเขาไฟบรุ ีรัมย์
เป้าหมาย ขอ้ กำหนดและ วธิ ีและเครอ่ื งมอื ท่ีใชใ้ นการควบคุมตรวจสอบ
การควบคุม เง่ือนไข มาตรการเฝ้าระวงั ความถ่ี ผู้ วิธกี าร มาตรการ เอกสาร
ตรวจสอบ ตรวจสอบตดิ ตาม ตรวจสอบ แกไ้ ข ประกอบ
1. 1. พ้นื ที่ปลกู พืน้ ที่ปลกู ขา้ วใน ตรวจสอบพื้นทกี่ าร ปีละ คณะทำงาน ด้วย แจ้งให้ คู่มือ
จังหวดั บุรรี มั ย์ 7 ผลิตตามที่ระบุไว้ใน ครง้ั ตรวจสอบ สายตา เกษตรกร ปฏิบัติงาน
อำเภอ คูม่ อื ปฏบิ ัตงิ านและ แหล่งผลิต และ ผผู้ ลติ สำหรบั
แผนทแี่ ปลงปลูกตาม เอกสาร ทำการ สมาชกิ
แบบ GAP 01 แก้ไข
2. ผ้ผู ลิต 2.1 เกษตรกร ข้ึนทะเบียนเปน็ ผู้ผลติ ปลี ะ คณะทำงาน ด้วย แจ้งให้ ค่มู อื
กบั หน่วยงานทไ่ี ดร้ บั คร้ัง ตรวจสอบ สายตา เกษตรกร ปฏบิ ัตงิ าน
มอบหมายจากจงั หวดั แหลง่ ผลติ และ ผู้ผลติ ทำ สำหรบั
บรุ ีรมั ย์ เอกสาร การแก้ไข สมาชกิ
2.2 โรงสี ขึ้นทะเบยี นเปน็ ผ้ผู ลิต ทุกฤดู คณะทำงาน ด้วย แจ้งให้ คู่มอื
กับหนว่ ยงานทไ่ี ด้รับ ปลูก ตรวจสอบ สายตา ผู้ประกอบ ปฏบิ ตั ิงาน
มอบหมายจากจงั หวดั การแปร และ การทำ สำหรบั
บรุ รี ัมย์ สภาพ เอกสาร การแก้ไข สมาชกิ
2.3 ผปู้ ระกอบการ ขน้ึ ทะเบยี นเป็นผ้ผู ลิต
กับหนว่ ยงานทีไ่ ด้รบั
มอบหมายจากจงั หวดั
บรุ ีรมั ย์
18
ตารางที่ 3 แผนการควบคุมตรวจสอบขา้ วหอมมะลิดนิ ภูเขาไฟบรุ ีรมั ย์ (ต่อ)
เปา้ หมาย ขอ้ กำหนดและ วิธีและเครอ่ื งมอื ที่ใชใ้ นการควบคุมตรวจสอบ
การควบคมุ เงือ่ นไข มาตรการเฝ้าระวงั ตรวจสอบ ความถี่ ผตู้ รวจสอบ วิธีการ มาตรกา เอกสาร
ตรวจสอบ ติดตาม รแก้ไข ประกอบ
3. กระบวน 3.1 พันธุ์ขาวดอก ใช้เมล็ดพันธทุ์ ่ผี ลติ โดย ทุกฤดู คณะทำงาน ดว้ ย แจ้งให้ คมู่ ือ
การผลติ มะลิ 105 หรอื กรมการข้าวหรอื แหล่งผลิต ปลูก ตรวจสอบ สายตา เกษตรกร ปฏบิ ัติงาน
กข 15 เมลด็ พนั ธุ์ท่ีได้รับการรบั รองจาก แหล่งผลิต และ ผู้ผลิตทำ สำหรับ
กรมการขา้ ว กรณเี กษตรกรทำการ เอกสาร การแกไ้ ข สมาชิก
ขยายพันธุ์เองตอ้ งนำพันธุ์ที่ผา่ น
การรบั รองมาขยายและมีรอบการ
ใชเ้ มลด็ พันธุจ์ ากแหล่งเมล็ดพันธ์ุ
ไมเ่ กนิ 3 ปี
3.2 ฤดปู ลูก ปลกู ในฤดนู าปี
3.3 การเตรียมดนิ ไถดะ 1 คร้ัง ไถแปร 1–2 คร้งั
ให้ดนิ มีความเหมาะสมท่จี ะปลกู
ข้าว
3.4 การปอ้ งกนั
กำจัดศตั รูขา้ ว
3.5 การใส่ปุ๋ย ปฏิบัติตามคำแนะนำการจัดการ
3.6 การจดั การขา้ ว คุณภาพ GAP ข้าวหรอื อินทรีย์
ให้ตรงตามพันธุ์
3.7 การเก็บเก่ียว
3.8 การเก็บรกั ษา
3.9 การเช่ือมโยง - ผู้รวบรวมและผู้แปรรูปต้องรบั ทุกฤดู คณะทำงาน ดว้ ย แจง้ ให้ผู้ คมู่ ือ
ระหวา่ งเกษตรกร ซอ้ื ข้าวเปลือกจากแปลงเกษตรกร ปลกู ตรวจสอบ สายตา รวบรวม ปฏิบตั งิ าน
ผู้ผลิตกับผู้รวบรวม ทขี่ ้ึนทะเบียนผู้ปลกู ข้าวหอมมะลิ การแปร และ และแปร สำหรับ
และแปรรปู ดนิ ภเู ขาไฟบรุ รี ัมย์และผา่ นการ สภาพ เอกสาร รูปทราบ สมาชกิ
รบั รองมาตรฐานตามระบบ GAP และทำ
หรือมาตรฐานอนิ ทรยี ์เท่าน้ัน การแก้ไข
- บันทกึ ขอ้ มลู เกษตรกรผผู้ ลติ
ทีอ่ ยู่ พันธ์ขุ า้ ว วันที่ ปรมิ าณท่รี บั
ซอ้ื
- บนั ทึกขอ้ มูลผู้ซื้อ ทีอ่ ยู่ วันที่
และปรมิ าณทีข่ ายไป
19
ตารางที่ 3 แผนการควบคุมตรวจสอบข้าวหอมมะลดิ นิ ภูเขาไฟบุรีรมั ย์ (ต่อ)
เป้าหมายการ ขอ้ กำหนด วธิ แี ละเครอื่ งมือทใี่ ชใ้ นการควบคุมตรวจสอบ
ควบคมุ และเงอ่ื นไข มาตรการเฝา้ ระวงั ความถ่ี ผตู้ รวจสอบ วิธีการ มาตรการ เอกสาร
ตรวจสอบ ตรวจสอบติดตาม แกไ้ ข ประกอบ
2. 4. คณุ ภาพ 4.1 การรับ - ผูร้ วบรวมและผู้แปรรูป ปลี ะครง้ั คณะทำงาน ดว้ ยสายตา แจง้ ให้ คู่มอื
สนิ ค้า ซื้อ บันทกึ ช่อื เกษตรกรท่รี บั หรือ ตรวจสอบ และเอกสาร ผู้รับซอ้ื ปฏิบตั ิงาน
ซ้ือข้าวเปลือก ทีอ่ ยู่ พนั ธ์ุ กรณี การแปร หรอื สุ่ม ทราบและ สำหรบั
ข้าว วันที่ ปริมาณ แยก ท่ีมกี าร สภาพ ตวั อย่างส่งหอ้ ง ทำการ สมาชิก
จากข้าวทีไ่ มไ่ ด้ขน้ึ ร้องเรียน ปฏบิ ัติการ แกไ้ ข
ทะเบยี นสง่ิ บ่งชี้ทาง
ภูมศิ าสตร์
- ตรวจสอบคุณภาพ
ขา้ วเปลือก และบันทึก
ผลการตรวจสอบ
- แยกข้าวเปลือกหอม
มะลิดนิ ภูเขาไฟบรุ ีรมั ย์ท่ี
ขึ้นทะเบียนสงิ่ บ่งช้ีทาง
ภูมศิ าสตรอ์ อกจากข้าว
ชนิดอ่ืน มปี ้ายบอก และ
สถานที่เกบ็ ตอ้ งสะอาด
มดิ ชดิ ระบายอากาศดี
เก็บเปน็ สดั สว่ น ป้องกัน
การปนจากขา้ วอ่นื ๆ
20
ตารางที่ 3 แผนการควบคมุ ตรวจสอบข้าวหอมมะลิดินภูเขาไฟบุรรี ัมย์ (ต่อ)
เปา้ หมายการ ข้อกำหนด วิธแี ละเครอื่ งมอื ท่ใี ช้ในการควบคมุ ตรวจสอบ
ควบคมุ และเงอื่ นไข มาตรการเฝา้ ระวัง ความถี่ ผู้ตรวจสอบ วิธกี าร มาตรการ เอกสาร
ประกอบ
ตรวจสอบ ตรวจสอบตดิ ตาม แกไ้ ข
คู่มอื
4. คณุ ภาพ 4.2 การแปรรปู ปฏบิ ัติงาน
สำหรับ
สินคา้ 4.2.1 โรงสี - ตั้งอยใู่ นจังหวดั อย่าง คณะทำงาน ดว้ ย แจง้ ใหโ้ รงสี สมาชิก
บุรรี ัมย์ น้อยปี ตรวจสอบ สายตา ทำการแกไ้ ข
- สถานที่จดั เก็บ ละครง้ั การแปร และ
เหมาะสมและ หรือ สภาพ เอกสาร
เพยี งพอ กรณี
- ข้นึ ทะเบยี นเป็นโรงสี ที่มีการ
ส ี ข ้ า ว ห อ ม ม ะ ลิ รอ้ งเรยี น
ดนิ ภเู ขาไฟบุรีรมั ย์
- ถา้ มีการสีขา้ วท่ีไม่ใช่
ขา้ วหอมมะลดิ นิ
ภเู ขาไฟบุรีรัมย์
ที่ขึ้นทะเบยี นสิง่ บ่งช้ี
ทางภมู ิศาสตร์
ต้องล้างเครอื่ งสใี ห้
สะอาด ตามกรรมวิธี
ท่ถี ูกตอ้ ง
- การผลติ การรับจา่ ย
แต่ละครง้ั มกี ารบันทึก
ทีม่ า/ปรมิ าณ
ขา้ วเปลอื ก ปริมาณ
ข้าวสาร ท่ีได้จากการ
สี ปริมาณขา้ วสารท่ี
จา่ ย จ่ายผู้ใด และ
ปริมาณคงเหลือ
- กรณีรบั จา้ งสี ใหร้ ะบุ
รายละเอียดด้วย
21
ตารางท่ี 3 แผนการควบคุมตรวจสอบข้าวหอมมะลดิ นิ ภเู ขาไฟบุรรี ัมย์ (ต่อ)
เป้าหมาย ข้อกำหนดและ วธิ แี ละเครอื่ งมอื ทใี่ ช้ในการควบคุมตรวจสอบ
การควบคุม เง่ือนไข มาตรการเฝา้ ระวัง ความถ่ี ผู้ตรวจสอบ วิธีการ มาตรการ เอกสาร
แก้ไข ประกอบ
ตรวจสอบ ตรวจสอบตดิ ตาม
แจ้งใหผ้ ้ผู ลิต คูม่ ือ
4. คณุ ภาพ 4.2.2 ผู้ผลิต - ผลติ ในจังหวัดบรุ ีรมั ย์ อยา่ งน้อย คณะทำงาน ดว้ ย ข้าวหอม ปฏบิ ตั ิ
มะลิดิน งาน
สนิ คา้ ขา้ วหอมมะลิ - มีสถานที่เก็บเหมาะสม เพียงพอ ปลี ะครงั้ ตรวจสอบ สายตา ภเู ขาไฟ สำหรบั
บุรีรมั ย์ สมาชิก
ดินภเู ขาไฟ และแยกจากขา้ วชนดิ อื่น หรือกรณี การแปร และ (ข้าวกล้อง
บรุ รี ัมย์ - ข้าวเปลือกมาจากเกษตรกร/ ท่มี ีการ สภาพ เอกสาร และ
ข้าวสาร)
(ขา้ วกลอ้ งและ กลุ่มเกษตรกรที่ขึ้นทะ เบี ยน รอ้ งเรยี น ทราบและ
ทำการแก้ไข
ข้าวสาร) เป็นผู้ผลิตข้าวหอมมะลิดินภูเขาไฟ
บุรีรัมย์และได้รับการรับรองว่า
เปน็ ผู้ปฏิบตั ติ ามคูม่ ือปฏบิ ตั ิงาน
- สีข้าวจากโรงสีที่ได้รับการรับรอง
การขึ้นทะเบียนเปน็ ผู้สีข้าวหอมมะลิ
ดินภเู ขาไฟบุรรี มั ย์
- การผลติ การรับ-จ่าย ต้องบนั ทึก
ขอ้ มูล เชน่ ทีม่ า/ปรมิ าณของ
ขา้ วเปลอื กที่นำมาสี เปน็ ข้าวกล้อง
ขา้ วสาร ปรมิ าณข้าวกลอ้ ง ขา้ วสาร
ทีไ่ ดร้ บั ปรมิ าณข้าวกลอ้ ง ขา้ วสาร
ที่จา่ ย จ่ายผู้ใด ปริมาณคงเหลอื
กรณกี ารจ้างโรงสีใหร้ ะบชุ ่ือโรงสี
และสถานทีต่ งั้
- ขา้ วเปลอื กทีจ่ ะทำการแปรรูป
ความชืน้ ไม่เกนิ รอ้ ยละ 14
โดยผแู้ ปรรูปตอ้ งบนั ทกึ ผลการ
ตรวจสอบ ถ้าความช้นื เกินกว่าท่ี
กำหนด ต้องปรบั ลดความชืน้ โดย
วิธที เ่ี หมาะสมก่อนการแปรรปู
22
ตารางท่ี 3 แผนการควบคมุ ตรวจสอบขา้ วหอมมะลดิ นิ ภเู ขาไฟบรุ ีรมั ย์ (ต่อ)
เป้าหมาย ขอ้ กำหนด วธิ ีและเครอื่ งมือท่ีใชใ้ นการควบคุมตรวจสอบ
การควบคมุ และเง่อื นไข มาตรการเฝา้ ระวัง ความถี่ ผู้ วธิ ีการ มาตรการ เอกสาร
ประกอบ
ตรวจสอบ ตรวจสอบติดตาม ตรวจสอบ แก้ไข
คู่มอื
3. 4.คุณภาพ 4.3 การขนส่ง - อปุ กรณ์และพาหนะในการ ปลี ะครงั้ คณะทำ ดว้ ย แจง้ ให้ผู้ ปฏิบัติงาน
สำหรบั
สนิ คา่ ขนย้ายตอ้ งสะอาด ปอ้ งกนั หรอื กรณี งาน สายตา ขนส่ง สมาชิก
4. การปนจากข้าวอ่ืน ๆ ได้ ท่ีมีการ ตรวจสอบ และ ทำการ คมู่ อื
ปฏบิ ัตงิ าน
รอ้ งเรียน การแปร เอกสาร แกไ้ ข สำหรบั
สมาชิก
สภาพ
5. 4.4 การบรรจุ - การบรรจหุ บี ห่อ การเกบ็ รักษา อยา่ งน้อย คณะทำ ด้วย แจง้ ใหผ้ ู้
หบี หอ่ ผ้บู รรจหุ ีบห่อ อปุ กรณ์ สถานท่ี ปีละครงั้ งาน สายตา บรรจหุ ีบ
บรรจุ ต้องสะอาดถูกสขุ ลกั ษณะ หรือกรณี ตรวจสอบ และ ห่อทราบ
- การบรรจหุ บี หอ่ การเก็บรกั ษา ท่ีมกี าร การแปร เอกสาร และทำ
ผบู้ รรจุหีบห่อ จะตอ้ งดูแลรักษา ร้องเรยี น สภาพ การแก้ไข
อุปกรณ์ สถานทีบ่ รรจุ
ต้องสะอาดถูกสขุ ลักษณะ
- ผลติ ภัณฑ์ท่บี รรจุหบี ห่อ
ต้องมีฉลาก “ข้าวหอมมะลิ
ดนิ ภเู ขาไฟบรุ ีรัมยแ์ ละ Kaow
Hom Mali Din Phu Kao Fai
Buriram”ระบุวันทบี่ รรจุ
ชือ่ ผบู้ รรจุ ปรมิ าณท่บี รรจุ
ระบุเลขทะเบียน สช…..และ
เครอ่ื งหมายการคา้ (ถ้าม)ี
- จัดเก็บผลิตภัณฑ์วางรวมกัน
บนแท่นสินค้า มีป้ายระบุวันที่
ผลติ และ Lot No.
- บันทกึ ปริมาณผลิตภัณฑ์
ชื่อผซู้ อ้ื วนั ที่ และปริมาณ
ผลติ ภัณฑ์ที่ขาย
23
ตารางท่ี 3 แผนการควบคมุ ตรวจสอบขา้ วหอมมะลิดนิ ภเู ขาไฟบุรีรมั ย์ (ต่อ)
เปา้ หมาย ข้อกำหนด วิธแี ละเครอื่ งมอื ท่ใี ช้ในการควบคุมตรวจสอบ
การควบคุม และเง่ือนไข มาตรการเฝ้าระวงั ความถี่ ผู้ วิธีการ มาตรการ เอกสาร
ประกอบ
ตรวจสอบ ตรวจสอบตดิ ตาม ตรวจสอบ แก้ไข
คมู่ ือ
5. การ ผลติ ภณั ฑ์ - ตรวจสอบผลิตภณั ฑข์ า้ วหอมมะลิ อย่างน้อย คณะทำงาน ดว้ ย แจ้งใหผ้ ผู้ ลติ ปฏบิ ัติงาน
สำหรบั
ตรวจสอบ ข้าวหอม ดนิ ภเู ขาไฟบุรีรมั ย์ทว่ี างจำหน่าย ปีละครง้ั ตรวจสอบ สายตา ผลิตภณั ฑ์ สมาชกิ
คุณภาพ มะลดิ นิ - ลักษณะทางกายภาพตามทก่ี ำหนด หรือกรณี การแปร และ ขา้ วหอมมะลิ
ภเู ขาไฟ - ลกั ษณะทางเคมีตามที่กำหนด ที่มกี าร สภาพ เอกสาร ดนิ ภเู ขาไฟ
6. บรุ รี ัมย์ - ลักษณะอ่นื ๆ รอ้ งเรยี น บุรีรมั ย์ทราบ
และทำการ
แก้ไข