ยาเสพติดให้โทษประเภทที่4
สารเคมีที่ใช้ในการผลิตยาเสพติดให้โทษ
ประเภท 1 หรือ2
ยาเสพติดให้โทษประเภทที่4
จัดทำโดย
1.นางสาวนันทิกานต์ เดือนหล้า เลขที่19
2.นายภูวฤทธิ์ จี๋ภิโร เลขที่20
3.นางสาวจันทกานต์ อินทร์เมา เลขที่21
4.นางสาวดาทิตพร วีรคมนาคา เลขที่22
5.นางสาวปาริษา เลาลี เลขที่24
6.นางสาวพรชนก นภาพฤกษ์ศิลา เลขที่26
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่6/1
เสนอ
ครูรัชนี ตันมิ่ง
โรงเรียนราชประชานุเคราะห์26 จังหวัดลำพูน
ยาเสพติดให้โทษ ประเภทที่ ๔ คือสารเคมีที่ใช้ในการผลิตยา เสพติดให้
โทษ ประเภทที่ ๑ หรือประเภทที่ ๒ ยาเสพติดประเภทนี้ไม่มี การนำมาใช้
ประโยชน์ในการบำบัดโรคแต่อย่างใด และมีบทลงโทษ กำกับไว้ด้วย
ได้แก่น้ำยาอะเซติคแอนไฮไดรย์ และ อะเซติลคลอไรด์ ซึ่ง ใช้ในการ
เปลี่ยนมอร์ฟีนเป็นเฮโรอีน สารคลอซูไดอีเฟครีน สามารถใช้ ในการผลิต
ยาบ้าได้ และวัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตประสาทอีก ๑๒ ชนิด ที่ สามารถนำมา
ผลิตยาอีและยาบ้าได้
อาเซติค แอนไฮไดรด์ ACETIC ANHYDRIDE
การใช้ที่ผิดกฎหมาย
- ใช้ในการผลิตเฮโรอีน
- ใช้สังเคราะห์ phenyl-2-propanone (P2P) ซึ่งเป็นสารที่ใช้ในการผลิต
amphetamine / metamphetamine
- ใช้สังเคราะห์ n-acetylanthranilic acid ซึ่งเป็นสารที่ใช้ในการผลิต
methaqualone
การใช้ที่ถูกกฎหมาย
ใช้ในอุตสาหกรรมผลิตยาแอสไพริน(Aspirin)พาราเซตามอล(Paracetamol)
อุตสาหกรรมผลิตสีย้อมผ้า ผลิตเม็ดพลาสติก อุตสาหกรรมผลิตแป้งแปรรูป
สำหรับทำอาหาร
กฎหมายควบคุม
จัดเป็นยาเสพติดให้โทษในประเภท 4 ตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ
พ.ศ.2522
การควบคุม
นำเข้าโดยสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา หรือผู้ได้รับมอบหมายให้นำ
เข้า
ผู้ใช้ต้องขออนุญาตครอบครองซึ่งยาเสพติดให้โทษในประเภท 4
บทลงโทษ
ผู้ใดผลิต จำหน่าย นำเข้า หรือส่งออกซึ่งยาเสพติดให้โทษในประเภท 4 โดย
มิได้รับอนุญาต ต้องระวางโทษจำคุกตั้งแต่ 1 – 10 ปี และปรับตั้งแต่
20,000 – 200,000 บาท
ผู้ครอบครองโดยมิได้รับอนุญาต ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 5 ปี หรือปรับ
ไม่เกิน 100,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
อาเซติล คลอไรด์ Acetyl chloride
การใช้ที่ผิดกฎหมาย
ใช้เป็น acetylating agent ในการเปลี่ยน morphine เป็น
heroin
การใช้ที่ถูกกฎหมาย
ใช้สำหรับสังเคราะห์ในทางเภสัชกรรมและทำสีย้อม ใช้ในการผลิตน้ำมัน
หล่อลื่นและยาง
กฎหมายควบคุม
จัดเป็นยาเสพติดให้โทษในประเภท 4 ตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้
โทษ พ.ศ.2522
การควบคุม
นำเข้าโดยสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา หรือผู้ได้รับมอบ
หมายให้นำเข้า
ผู้ใช้ต้องขออนุญาตครอบครองซึ่งยาเสพติดให้โทษในประเภท 4
บทลงโทษ
ผู้ใดผลิต จำหน่าย นำเข้า หรือส่งออกซึ่งยาเสพติดให้โทษในประเภท
4 โดยมิได้รับอนุญาต ต้องระวางโทษจำคุกตั้งแต่ 1 – 10 ปี และ
ปรับตั้งแต่ 20,000 – 200,000 บาท
ผู้ครอบครองโดยมิได้รับอนุญาต ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 5 ปี
หรือปรับไม่เกิน 100,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
อัตราโทษตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522
ยาเสพติดให้โทษประเภทที่4
ข้อหา : ผลิต / นำเข้า / ส่งออก
- จำคุก 1 ปี ถึง 10 ปี และปรับ 10,000 บาท ถึง 100,000 บาท (มาตรา 73)
ข้อหา : จำหน่าย / ครอบครองเพื่อจำหน่าย
- จำคุก 1 ปี ถึง 10 ปี และปรับ 10,000 บาท ถึง 100,000 บาท
(มาตรา 69 วรรค 2)
ข้อหา : ครอบครอง
- ไม่ถึง 10 กิโลกรัม จำคุกไม่เกิน 5 ปี และปรับไม่เกิน 50,000 บาท
- 10 กิโลกรัมขึ้นไป ถือว่าครอบครองเพื่อจำหน่าย จำคุก 1 ปี ถึง 10 ปี และปรับ
10,000 บาท ถึง 100,000 บาท (มาตรา 26, 74)
บรรณานุกรม
http://www.nampen.rayong.police.go.th/data/pag
e29.htm
https://www2.lpch.go.th/km/uploads/2
0210728170807593224.pdf
https://www.fda.moph.go.th/sites/Narcotics/SiteP
ages/Acetyl%20chloride.aspx