The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ระเบียบข้อบังคับ เกี่ยวกับการทำงาน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by jan3.48_1, 2022-01-18 22:10:21

ระเบียบข้อบังคับ เกี่ยวกับการทำงาน

ระเบียบข้อบังคับ เกี่ยวกับการทำงาน

บริษัท ไทยซัมมิท เคเบิ้ล แอนด์ พาร์ท จำกัด

ร ะ เ บี ย บ ข้ อ บั ง คั บ
เ กี่ ย ว กั บ ก า ร ทำ ง า น

บริษัท ไทยซัมมิท เคเบิ้ล แอนด์ พาร์ท จำกัด

THAI SUMMIT CABLE & PARTS CO.,LTD.

150/17-19 ม.9 นิคมอุ ตสาหกรรมปิ่ นทอง 2 ต.หนองขาม อ.ศรีราชา จ.ชลบุรี 20110
โทร: (038) 347062-69 Fax: (038) 347061

สารบัญ

หมวด หน้า

หมวดที่ 1 ข้อความทั่วไปและนิยาม 2
หมวดที่ 2 วันทำงาน เวลาทำงานปกติและเวลาพัก 4
หมวดที่ 3 วันหยุดและหลักเกณฑ์การหยุด 7
หมวดที่ 4 วันลา และหลักเกณฑ์การลา 18
หมวดที่ 5 หลักเกณฑ์การทำงาน วันและสถานที่ 22
จ่ายค่าจ้าง ค่าล่วงเวลา ค่าทำงานในวันหยุด
และค่าล่วงเวลาในวันหยุด

หมวดที่ 6 สวัสดิการและหลักเกณฑ์การให้สวัสดิการ

หมวดที่ 7 วินัย การลงโทษ การพ้นสภาพจากการ 30
เป็นพนักงาน ค่าชดเชย และค่าชดเชยพิเศษ 43
หมวดที่ 8 การร้องทุกข์ 49



บบริรษิัษัทท ไไททยยซัซัมมมิมิทท เเคคเเบิบ้ิล้ ล แแออนนด์ด์ พพาาร์รท์ ท จจำำกักัดด
TTHHAAI I SSUUMMMMI ITT CCAABBLLEE && PPAARRTTSS CCOO. ., L, LTTDD. .

ห ม ว ด ที่ 1
ข้ อ ค ว า ม ทั่ ว ไ ป

แ ล ะ นิ ย า ม

บบริรษิัษัทท ไไททยยซัซัมมมิมิทท เเคคเเบิบ้ิล้ ล แแออนนด์ด์ พพาาร์รท์ ท จจำำกักัดด

1TTHHAAI I SSUUMMMMI ITT CCAABBLLEE && PPAARRTTSS CCOO. ., L, LTTDD. .

ข้อความทั่วไปและนิยาม

1.1 บริษัทฯ มีนโยบายที่จะให้พนักงานทุกคนได้รับ 1.3 เพื่อให้เป็นที่เข้าใจ และปฏิบัติได้ถูกต้องบริษัทฯ
การคุ้มครองตามกฎหมาย และเพื่อให้การดำเนิน ได้นิยามความหมายของคำบางคำไว้ดังนี้
งานของบริษัทฯ เป็นไปด้วยดีมีประสิทธิภาพและ
เพื่อให้เกิดสันติสุข ความเป็นระเบียบอันจะส่งผล “บริษัท”, “โรงงาน” หมายถึง บริษัท
ให้เกิดสมรรถภาพในการทำงาน และผลผลิตใน ไทยซัมมิท เคเบิ้ล แอนด์ พาร์ท จำกัด
ระดับสูง บริษัทฯ จึงเห็นควรกำหนดระเบียบข้อ
บังคับเกี่ยวกับการทำงานขึ้น เพื่อให้พนักงานได้ “พนักงาน” หมายถึง ผู้ซึ่งตกลงทำงานให้
ยึดถือเป็นหลักปฏิบัติต่อไป กับบริษัทฯ โดยได้รับค่าจ้าง

1.2 บรรดาระเบียบ ประกาศ และข้อบังคับอื่น “พนักงานรายวัน” หมายถึง พนักงานที่
ในส่วนที่ได้ระบุไว้แล้วในข้อบังคับเกี่ยวกับการ ได้รับค่าจ้างเป็นรายวัน โดยไม่ได้รับค่าจ้างในวัน
ทำงานซึ่งขัดแย้งกับข้อบังคับนี้ ให้ใช้ระเบียบ หยุดประจำสัปดาห์
ข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงานนี้แทน “พนักงานรายเดือน” หมายถึง พนักงานที่
ได้รับค่าจ้างเป็นรายเดือน โดยได้รับค่าจ้างวัน
หยุดประจำสัปดาห์
“พนักงานตามสัญญาจ้าง” หมายถึง
พนักงานที่บริษัทฯ จ้างไว้เพื่อทำงานอันมีลักษณะ
เป็นครั้งคราวเป็นการจร หรือเป็นไปตามฤดูกาล
หรือเป็นไปตามโครงการ ซึ่งบริษัทฯ และพนักงาน
ได้ตกลงทำสัญญาจ้างเป็นหนังสือโดยมีกำหนด
วันเริ่มต้นและวันสิ้นสุดสัญญาจ้างที่แน่นอนและมี
กำหนดระยะเวลาการจ้างไม่เกิน 2 ปี
“พนักงานทดลองงาน” หมายถึง พนักงาน
ที่มีเงื่อนไขการทดลองงานตามที่ระบุในสัญญา
จ้างและยังอยู่ในระหว่างระยะเวลาทดลองงานที่
กำหนดไว้
“พนักงานประจำ” หมายถึง พนักงานที่ผ่าน
การทดลองงานของบริษัทฯ แล้ว และได้รับการ
บรรจุเป็นพนักงานประจำ
“พนักงานระดับจัดการ” หมายถึง พนักงาน
ที่มีตำแหน่งตั้งแต่ ผู้จัดการฝ่าย ขึ้นไป
“ผู้บังคับบัญชา” หมายถึง พนักงานที่
บริษัทฯ ได้มีประกาศแต่งตั้ง ตั้งแต่ระดับหัวหน้า
งานขึ้นไป โดยมีอำนาจในการสั่งการและกำกับ
ดูแลการปฏิบัติงานของพนักงานให้เป็นไปตาม
แนวนโยบาย และระเบียบวินัยของบริษัทฯ

บบริรษิัษัทท ไไททยยซัซัมมมิมิทท เเคคเเบิบ้ิล้ ล แแออนนด์ด์ พพาาร์รท์ ท จจำำกักัดด

2TTHHAAI I SSUUMMMMI ITT CCAABBLLEE && PPAARRTTSS CCOO. ., L, LTTDD. .

ห ม ว ด ที่ 2
วั น ทำ ง า น
เ ว ล า ทำ ง า น ป ก ติ
แ ล ะ เ ว ล า พั ก

บบริรษิัษัทท ไไททยยซัซัมมมิมิทท เเคคเเบิบ้ิล้ ล แแออนนด์ด์ พพาาร์รท์ ท จจำำกักัดด

3TTHHAAI I SSUUMMMMI ITT CCAABBLLEE && PPAARRTTSS CCOO. ., L, LTTDD. .

วันทำงาน
เวลาทำงานปกติและเวลาพัก




1 วันทำงาน คื อ วันจันทร์ ถึ ง วันศุ กร์

ตารางเวลา

ประเภท ก ะ เ ช้ า

เ ว ล า เ ริ่ ม ง า น 07.50 น.

เ ว ล า พั ก 12.00 – 12.50 น.

พั ก ค รั้ ง ที่ 1 11.30 – 12.20 น.

พั ก ค รั้ ง ที่ 2 12.00 – 12.50 น.

เบรค 15.00 – 15.10 น.

เ ว ล า เ ลิ ก ง า น 16.40 น./ 17.30 น.

เพื่อความเหมาะสมและสอดคล้องกับการดำเนินงานของบริษัทฯ 2
ให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ บริษัทฯ ขอสงวนสิทธิ์ที่จะเปลี่ยนแปลง
วันทำงาน เวลาทำงานปกติ และเวลาพักได้ โดยการเปลี่ยนแปลง
บริษัทฯจะปฏิบัติให้เป็นไปตามที่ระบุไว้ใน พ.ร.บ.คุ้มครองแรงงาน
ฉบับที่บังคับใช้ในปัจจุบัน โดยจะมีประกาศให้ทราบล่วงหน้าทุกครั้งที่
มีการเปลี่ยนแปลง

บบริรษิัษัทท ไไททยยซัซัมมมิมิทท เเคคเเบิบ้ิล้ ล แแออนนด์ด์ พพาาร์รท์ ท จจำำกักัดด

4TTHHAAI I SSUUMMMMI ITT CCAABBLLEE && PPAARRTTSS CCOO. ., L, LTTDD. .

ห ม ว ด ที่ 3



วั น ห ยุ ด แ ล ะ
ห ลั ก เ ก ณ ฑ์ ก า ร ห ยุ ด






บบริรษิัษัทท ไไททยยซัซัมมมิมิทท เเคคเเบิบ้ิล้ ล แแออนนด์ด์ พพาาร์รท์ ท จจำำกักัดด

5TTHHAAI I SSUUMMMMI ITT CCAABBLLEE && PPAARRTTSS CCOO. ., L, LTTDD. .

วันหยุด




วันหยุดประจำสัปดาห์ ได้แก่ วันอาทิตย์
บริษัทฯ จะกำหนดวันหยุดตามประเพณีปีละ 13 วัน (รวมวัน
แรงงานแห่งชาติ) โดยจะจ่ายค่าจ้างเท่ากับค่าจ้างในวัน
ทำงาน ซึ่งวันหยุดประเพณีประจำปีถัดไป จะประกาศให้ทราบ
ล่วงหน้าในเดือนธันวาคมของทุกปี บริษัทฯ พิจารณากำหนด
วันหยุดตามประเพณีจากวันหยุดราชการประจำปี วันหยุด
ทางศาสนาหรือขนบธรรมเนียมประเพณีแห่งท้องถิ่น อนึ่ง
ถ้าวันหยุดตามประเพณีวันใดตรงกับวันหยุดประจำสัปดาห์
ให้หยุดชดเชยวันหยุดประเพณีในวันทำงานถัดไป หรือตาม
บริษัทฯ ประกาศกำหนด

พนักงานซึ่งมีอายุการทำงานติดต่อกันมาครบ 1 ปี
มีสิทธิหยุดพักผ่อนประจำปีได้ปีละ 6 วันทำงาน โดย
ได้รับค่าจ้างเท่ากับค่าจ้างในวันทำงาน ในกรณีที่
พนักงานใช้สิทธิลาพักผ่อนประจำปีไม่หมดในปีนั้นๆ
พนักงานสามารถนำวันลาพักผ่อนที่เหลือ เลื่อน หรือ
นำไปสะสมสำหรับใช้ในปีถัดไปได้ตามเงื่ อนไขที่บริษัทฯ
ประกาศให้ทราบเป็นคราวๆ ไป

บบริรษิัษัทท ไไททยยซัซัมมมิมิทท เเคคเเบิบ้ิล้ ล แแออนนด์ด์ พพาาร์รท์ ท จจำำกักัดด

6TTHHAAI I SSUUMMMMI ITT CCAABBLLEE && PPAARRTTSS CCOO. ., L, LTTDD. .

เกณฑ์TRกESาSAรNDหE ยุด

พนักงานซึ่งทำงานติดต่อกันมาแล้วครบ 3 ปีขึ้นไป

อายุงานครบ(ปี) สิทธิพักผ่อนประจำปี
1 ปี 6 วัน (เฉลี่ยตามเดือน)
2 ปี 6 วัน
3 ปี 7 วัน
4 ปี 8 วัน
5 ปี 9 วัน
6 ปี 10 วัน
7 ปี 11 วัน
8 ปีขึ้นไป 12 วัน

ทั้งนี้ให้คิดอายุงานครบปีตามปีปฎิทิน ดังนั้นพนักงาน
จะได้สิทธิการหยุดพักผ่อนประจำปีเพิ่มขึ้นในปีปฎิทินถัดไป

บริษัทฯ กำหนดวันหยุดพิเศษอย่างน้อยปีละ 20 วัน
โดยให้เกณฑ์การจ่ายค่าจ้างเป็นไปตามการจ่ายค่า
จ้างในวันหยุดประจำสัปดาห์

การลาหยุดพักผ่อนประจำปีของพนักงานจะต้อง
ปฎิบัติตามหลักเกณฑ์การลาตามที่ระบุไว้ใน หมวด
ที่ 4 ของระเบียบข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงาน

บบริรษิัษัทท ไไททยยซัซัมมมิมิทท เเคคเเบิบ้ิล้ ล แแออนนด์ด์ พพาาร์รท์ ท จจำำกักัดด

7TTHHAAI I SSUUMMMMI ITT CCAABBLLEE && PPAARRTTSS CCOO. ., L, LTTDD. .

ห ม ว ด ที่ 4
วั น ล า แ ล ะ ห ลั ก
เ ก ณ ฑ์ ก า ร ล า

บบริรษิัษัทท ไไททยยซัซัมมมิมิทท เเคคเเบิบ้ิล้ ล แแออนนด์ด์ พพาาร์รท์ ท จจำำกักัดด

8TTHHAAI I SSUUMMMMI ITT CCAABBLLEE && PPAARRTTSS CCOO. ., L, LTTDD. .

วันลาและ
หลักเกณฑ์การลา

บ ริ ษั ท ฯ กำ ห น ด ก า ร ล า ไ ว้ 1 0 ป ร ะ เ ภ ท ดั ง นี้

ก.ลาป่วย ฉ.ลาบวช

ข.ลากิจ ช.ลาเพื่อรับราชการทหาร

ค.ลาพักผ่อนประจำปี ซ.ลาฝึกอบรม
ง.ลาคลอด ฌ.ลาทำหมัน
จ.ลาประกอบพิธีศพ ญ.ลากิจพิเศษภรรยา

คลอดบุตร

บบริรษิัษัทท ไไททยยซัซัมมมิมิทท เเคคเเบิบ้ิล้ ล แแออนนด์ด์ พพาาร์รท์ ท จจำำกักัดด

9TTHHAAI I SSUUMMMMI ITT CCAABBLLEE && PPAARRTTSS CCOO. ., L, LTTDD. .

การลาป่วยและ
หลักเกณฑ์การลาป่วย

1 พนักงานมีสิทธิลาป่วยได้เท่าที่ป่วยจริง โดยได้รับค่าจ้างเท่ากับ
ค่าจ้างในวันทำงาน แต่ไม่เกินปีละ 30 วันทำงาน

ในกรณีที่เจ็บป่วยจนไม่สามารถจะมาทำงานได้ให้พนักงานแจ้ง

2 ทางโทรศัพท์หรือมอบหมายให้ผู้หนึ่งผู้ใดแจ้งผู้บังคับบัญชา
หรือฝ่ายทรัพยากรมนุษย์ทราบภายในวันที่ลาป่วย(พนักงาน
ระดับผู้จัดการให้แจ้งต่อผู้บังคับบัญชาต้นสังกัดหรือรอง
ประธานกรรมการ) ในกรณีที่ไม่สามารถลาป่วยได้ให้พนักงาน
ชี้แจงให้บริษัททราบในวันแรกที่กลับเข้าทำงานและให้ยื่นใบลา
ป่วยตามแบบฟอร์มใบลาของบริษัทฯ มิฉะนั้นบริษัทฯจะ
พิจารณาลงโทษทางวินัยสถานใดสถานหนึ่ง

3 การลาป่วยตั้งแต่ 3 วันทำงานขึ้นไป พนักงานจะต้องยื่นใบ
รับรองของแพทย์ปัจจุบันชั้นหนึ่งหรือของสถานพยาบาลของทาง
ราชการมาแสดงประกอบใบลาด้วย หากไม่มีใบรับรองแพทย์ดัง
กล่าว พนักงานมีหน้าที่ต้องชี้แจงให้บริษัทฯทราบซึ่งการพิจารณา
ขึ้นอยู่กับพนักงานระดับจัดการและผู้จัดการฝ่ายทรัพยากรมนุษย์

4 พนักงานต้องไม่ใช้สิทธิลาป่วยโดยมิชอบ หรือแจ้งข้อความเท็จ
ในการลาป่วย ซึ่งจะถูกพิจารณาให้ได้รับการลงโทษทางวินัย ใน
กรณีที่พนักงานมิได้ป่วยจริง แต่มายื่นใบลาป่วยบริษัทฯจะ
ถือว่ามีความผิดทางวินัย อาจพิจารณาโทษสูงสุดถึงขั้นเลิกจ้าง

กรณีที่พนักงานแสดงใบรับรองแพทย์เป็นหลักฐานประกอบ

5 การพิจารณา ใบรับรองแพทย์จะต้องไม่มีผลย้อนหลังจากวัน
ที่ออกใบรับรองแพทย์ ยกเว้นกรณีพนักงานเข้ารับการรักษา
ตัวเป็นคนไข้ในสถานพยาบาล และแพทย์หรือสถานพยาบาล
นั้นได้ออกใบรับรองแพทย์ลงวันที่ในวันที่ออกจากสถาน
พยาบาล

บบริรษิัษัทท ไไททยยซัซัมมมิมิทท เเคคเเบิบ้ิล้ ล แแออนนด์ด์ พพาาร์รท์ ท จจำำกักัดด
TTHHAAI I SSUUMMMMI ITT CCAABBLLEE && PPAARRTTSS CCOO. ., L, LTTDD. . 10

ก า ร ล า กิ จ แ ล ะ
ห ลั ก เ ก ณ ฑ์ ก า ร ล า กิ จ

พ นั ก ง า น มี สิ ท ธิ ล า กิ จ ไ ด้ ต า ม ค ว า ม จำ เ ป็ น โ ด ย ไ ม่ ไ ด้ รั บ ค่ า
จ้ า ง ใ น วั น ล า กิ จ

พ นั ก ง า น ที่ ข อ ล า กิ จ จ ะ ต้ อ ง ยื่ น ใ บ ล า กิ จ ต่ อ ผู้ บั ง คั บ บั ญ ช า ล่ ว ง
ห น้ า อ ย่ า ง น้ อ ย 1 วั น เ มื่ อ ผู้ บั ง คั บ บั ญ ช า อ นุ มั ติ แ ล้ ว จึ ง จ ะ มี
สิ ท ธิ ห ยุ ด ง า น ไ ด้ เ ว้ น แ ต่ ก ร ณี ฉุ ก เ ฉิ น แ ล ะ มี เ ห ตุ ผ ล อั น ส ม ค ว ร
ใ ห้ ข อ อ นุ ญ า ต จ า ก ผู้ บั ง คั บ บั ญ ช า ห รื อ ผู้ จั ด ก า ร ฝ่ า ย ท รั พ ย า ก ร
ม นุ ษ ย์ ห รื อ ผู้ ที่ ไ ด้ รั บ ม อ บ ห ม า ย ก่ อ น แ ล ะ เ มื่ อ ก ลั บ เ ข้ า ม า
ทำ ง า น ต า ม ป ก ติ จ ะ ต้ อ ง ยื่ น ใ บ ล า กิ จ ต่ อ ผู้ บั ง คั บ บั ญ ช า เ พื่ อ ข อ
อ นุ มั ติ ทั น ที

ก ร ณี ก า ร ล า กิ จ ไ ม่ เ ต็ ม วั น จ ะ ต้ อ ง ใ ช้ สิ ท ธิ ใ ห้ เ ต็ ม ค รึ่ ง ชั่ ว โ ม ง
ห รื อ เ ต็ ม ชั่ ว โ ม ง

บ ริ ษั ท ฯ ไ ม่ อ นุ ญ า ต ใ น ก า ร ล า กิ จ ต่ อ เ นื่ อ ง เ พื่ อ ห รื อ ก่ อ น ก า ร ล า
อ อ ก ใ น ก ร ณี ต้ อ ง ก า ร ใ ช้ ก า ร ล า ก่ อ น ล า อ อ ก ใ ห้ พ นั ก ง า น ใ ช้
สิ ท ธิ์ ก า ร ล า พั ก ร้ อ น ที่ เ ห ลื อ ข อ ง ปี นั้ น เ ท่ า นั้ น

บบริรษิัษัทท ไไททยยซัซัมมมิมิทท เเคคเเบิบ้ิล้ ล แแออนนด์ด์ พพาาร์รท์ ท จจำำกักัดด
TTHHAAI I SSUUMMMMI ITT CCAABBLLEE && PPAARRTTSS CCOO. ., L, LTTDD. . 11

การลาพักผ่อนประจำปีและ
หลักเกณฑ์ลาพักผ่อนประจำปี




จำ น ว น วั น พั ก ผ่ อ น ใ น ก า ร ทำ ง า น ปี แ ร ก

= จำ น ว น เ ดื อ น ที่ เ ห ลื อ ที่ มี สิ ท ธิ์ ล า พั ก ผ่ อ น ข อ ง ร อ บ ปี ป ฎิ ทิ น

2




เศษของเดือนที่เหลือถ้ามีจำนวน 15 วันหรือน้อยกว่าให้ปัดทิ้ง
ถ้ามีจำนวนวันเกินกว่า 15 วัน ให้นับเป็น 1 เดือน

พ นั ก ง า น ซึ่ง มี สิ ท ธิ ล า พั ก ผ่ อ น ป ร ะ จำ ปี ต า ม ที่ กำ ห น ด
ไว้ในหมวดที่ 3 จะต้องยื่นใบลาต่อผู้บังคับบัญชา
ล่วงหน้าอย่างน้อย 1 วัน และเมื่อได้รับอนุมัติแล้ว
จึ ง มี สิ ท ธิ ห ยุ ด ง า น ไ ด้

การลาพักผ่อนประจำปีให้ลาได้อย่างน้อยครั้งละ
1 ชั่วโมงหรือ 2 ชั่วโมง หรือ ½ วันทำงาน หรือ
เต็มวันทำงาน

พนักงานที่มีสิทธิลาพักผ่อนประจำปี ในปีแรกจะ
มีสิทธิลาหยุดพักผ่อนได้ 6 วันทำงาน หรือตาม
ส่วนของรอบปีปฎิทินซึ่งบริษัทฯ กำหนดตามสูตร
ดังภาพด้านบน

บ ริ ษั ท ไ ท ย ซั ม มิ ท เ ค เ บิ้ ล แ อ น ด์ พ า ร์ ท จำ กั ด
T H A I S U M M I T C A B L E & P A R T S C O . , L T D . 12

การลาคลอดและ
หลักเกณฑ์การลาคลอด

มี สิ ท ธิ ใ ช้ วั น ล า ค ล อ ด ไ ด้ ต้ อ ง ตั้ ง ค ร ร ภ์ ไ ม่ น้ อ ย ก ว่ า
210 วัน โดยแพทย์เป็นผู้กำหนด

สิทธิลาคลอดก่อนและหลังคลอดรวมกันครรภ์หนึ่งไม่เกิน 98 วัน
โดยนับรวมวันหยุดระหว่างลาด้วย และได้รับค่าจ้างในวันทำงาน
ตลอดระยะเวลาที่ลาแต่ไม่เกิน 45 วัน

การลาคลอดต้องยื่ นใบลาต่อผู้บังคับบัญชาล่วงหน้าอย่างน้อย
15 วัน กรณีได้รับการอนุมัติแล้ว แต่ไม่ได้ลาตามกำหนดให้
พ นั ก ง า น ส า ม า ร ถ ป รั บ เ ป ลี่ ย น วั น ล า ไ ด้ ใ ห ม่

แ จ้ ง วั น ที่ ตั้ ง ค ร ร ภ์ นั บ แ ต่ วั น แ ร ก ที่ ท ร า บ โ ด ย แ น บ ผ ล ก า ร ต ร ว จ
จากแพทย์แผนปัจจุบันชั้นหนึ่ง หรือสถานพยาบาลของทาง
ราชการแก่ฝ่ายทรัพยากรมนุษย์ ตามรายละเอียดแบบฟอร์ม
ตามที่กำหนดในประกาศ ทั้งนี้เพื่ อประโยชน์และการระวัง
ป้ อ ง กั น สุ ข ภ า พ ใ น ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ที่ ไ ม่ เ ป็ น อั น ต ร า ย ต่ อ พ นั ก ง า น

บ ริ ษั ท ไ ท ย ซั ม มิ ท เ ค เ บิ้ ล แ อ น ด์ พ า ร์ ท จำ กั ด
T H A I S U M M I T C A B L E & P A R T S C O . , L T D . 13

การลาประกอบพิธีฌาปนกิจ

Feeling sad? พนักงานประจำมีสิทธิลาเพื่อประกอบพิธีศพ
บิดา มารดา คู่สมรส หรือบุตรที่ถูกต้องตาม
กฎหมายได้ 5 วันทำงาน โดยได้รับค่าจ้างเท่ากับ
ค่าจ้างในวันทำงาน

Feeling angry? พนักงานทดลองงานมีสิทธิลาเพื่อประกอบพิธีศพ

บิดา มารดา คู่สมรส หรือบุตรที่ถูกต้องตาม
กฎหมายได้ 5 วันทำงาน โดยไม่ได้รับค่าจ้าง และ
บริษัทฯ จะไม่นำวันลาไปใช้ในการพิจารณาประเมิน
ผลทดลองงาน

Fe eling energize

d?



พนักงานผู้มีสิทธิลาจะต้องแจ้งให้ผู้บังคับบัญชา
ทราบโดยวิธีใดวิธีหนึ่งทุกครั้งเมื่อหยุดงาน

พนักงานจะต้องยื่นใบลา พร้อมแนบใบมรณะบัตร
ของผู้เสียชีวิตเพื่อขออนุมัติการลาด้วย




บ ริ ษั ท ไ ท ย ซั ม มิ ท เ ค เ บิ้ ล แ อ น ด์ พ า ร์ ท จำ กั ด
T H A I S U M M I T C A B L E & P A R T S C O . , L T D . 14

การลาบวชและ
หลักเกณฑ์การลาบวช




อายุงานครบ 1 ปีขึ้นไป ลาบวชได้ไม่เกิน 30 วัน โดยนับรวมวันหยุดด้วย
และได้รับค่าจ้าง ตามระยะเวลาที่บวชจริงแต่ไม่เกิน 15 วัน สำหรับ
พนักงานรายวันจะไม่ได้รับค่าจ้างในวันหยุดในช่วงระยะเวลาที่ลา




อายุงานครบ 2 ปีขึ้นไป ลาบวชได้ไม่เกิน 30 วัน โดยนับรวมวันหยุดด้วย
และได้รับค่าจ้างตามระยะเวลาที่บวชจริงแต่ไม่เกิน 30 วัน
พนักงานมีสิทธิลาบวชได้เพียงครั้งเดียวตลอดอายุการทำงานในบริษัทฯ
พนักงานผู้มีสิทธิขอลาบวช จะต้องยื่นใบแจ้งความประสงค์ขอใช้สิทธิ
ลาบวชจากผู้บังคับบัญชาต้นสังกัด และฝ่ายทรัพยากรมนุษย์ล่วงหน้า
อย่างน้อย 15 วัน เมื่อได้รับอนุมัติแล้วจึงใช้สิทธิลาบวชได้
พนักงานต้ องนำใบสุทธิการอุ ปสมบทมายื่ นที่ ฝ่ายทรัพยากรบุ คคลเพื่ อ
ประกอบการลาในวันแรกที่กลับเข้าทำงานจึงจะถือว่าใบลาดังกล่าวถูก
ต้องสมบูรณ์

บ ริ ษั ท ไ ท ย ซั ม มิ ท เ ค เ บิ้ ล แ อ น ด์ พ า ร์ ท จำ กั ด
T H A I S U M M I T C A B L E & P A R T S C O . , L T D . 15

ก า ร ล า เ พื่ อ รั บ ร า ช ก า ร ท ห า ร
เ พื่ อ ต ร ว จ ส อ บ กำ ลั ง พ ล

ลาเพื่ อไปรายงานตัวในการเรียกตัวเพื่ อตรวจสอบกำลังพล เพื่ อ
ฝึกวิชาทหารหรือเพื่ อทดสอบความพร้อมตามกฎหมาย โดยได้รับ
ค่าจ้างแต่ไม่เกินปีละ 60 วัน โดยได้รับค่าจ้างในวันทำงานตลอด
ร ะ ย ะ เ ว ล า ที่ ล า
พนักงานจะต้องนำหนังสือหมายเรียกของทางราชการ มายื่ นแสดง
ประกอบการใบลา เพื่ อขออนุมัติจากผู้บังคับบัญชาล่วงหน้าไม่น้อย
กว่า 5 วัน เมื่อได้รับอนุมัติแล้วจึงจะหยุดงานได้
เมื่อกลับเข้ามาทำงานตามปกติ พนักงานจะต้องยื่ นเอกสารที่ทาง
ราชการให้การรับรองว่าได้รับการฝึก และวันที่รับการฝึกนำมา
แสดงเป็นหลักฐานต่อบริษัทฯ ในทันที

บ ริ ษั ท ไ ท ย ซั ม มิ ท เ ค เ บิ้ ล แ อ น ด์ พ า ร์ ท จำ กั ด
T H A I S U M M I T C A B L E & P A R T S C O . , L T D . 16

การลาเพื่ อฝึกอบรมหรือ
พัฒนาความรู้ ความสามารถ




1. พนักงานมีสิทธิลาเพื่อการฝึกอบรม หรือพัฒนาความรู้ ความสามารถ
ได้ โดยไม่ได้รับค่าจ้างในช่วงที่ลาทั้งนี้การลาดังกล่าวจะต้อง

(ก) เพื่อประโยชน์ต่อการแรงงานและสวัสดิการสังคม หรือการเพิ่ม
ทักษะความชำนาญ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานของพนักงาน
(ข) เพื่อการทดสอบวัดผลทางการศึกษาที่ทางราชการจัดหรืออนุญาต
ให้จัดขึ้น

2. พนักงานที่ลาเพื่อการดังกล่าวจะต้องแจ้งถึงสาเหตุการลาโดยชัดแจ้ง
พ ร้อ ม ทั้ ง แ ส ด ง ห ลั ก ฐ า น ที่ เ กี่ ย ว ข้อ ง เ พื่ อ ข อ อ นุ มัติ จ า ก ผู้ บัง คั บ บัญ ช า
ล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 7 วัน

3. บริษัทฯ อาจไม่อนุญาตให้พนักงานลาเพื่อการดังกล่าวได้ หากในปีที่ลา
นั้น พนักงานเคยได้รับอนุญาตให้ลาเพื่อฝึกอบรมมาแล้วไม่น้อยกว่า 30
วัน หรือ 3 ครั้ง หรือการลาเพื่อการดังกล่าวอาจก่อให้เกิดความเสียหาย
หรือกระทบต่อธุรกิจของบริษัทฯ

4. เมื่อกลับเข้ามาทำงานตามปกติ พนักงานจะต้องยื่นเอกสารที่ให้การ
รับรองว่าได้รับการฝึกและวันที่รับการฝึกมาแสดงเป็นหลักฐานต่อ
บริษัทฯ ในทันที

บ ริ ษั ท ไ ท ย ซั ม มิ ท เ ค เ บิ้ ล แ อ น ด์ พ า ร์ ท จำ กั ด
T H A I S U M M I T C A B L E & P A R T S C O . , L T D . 17

การลาทำหมัน

1 สิทธิลาเพื่อทำหมัน และลาเนื่องจากการทำหมัน ตามระยะเวลาที่แพทย์
แผนปัจจุบันชั้นหนึ่งกำหนด และออกใบรับรองให้โดยได้รับค่าจ้างเท่ากับ
ค่าจ้างในวันทำงานตามระยะเวลาที่ลา

2 แจ้งการลาทำหมันให้ผู้บังคับบัญชา และผู้จัดการฝ่ายทรัพยากรมนุษย์
หรือผู้ที่ได้รับมอบหมายรับทราบก่อน และเมื่อกลับเข้าทำงานตามปกติ
พนักงานจะต้องยื่นใบลาพร้อมแนบใบรับรองแพทย์ดังกล่าวต่อบริษัทฯ
ในทันที



การลากิจภรรยาคลอดบุตร

ลาไปดูแลภรรยาที่จดทะเบียนสมรสถูกต้องตามกฎหมาย คลอดบุตร 1
ได้ 3 วันทำงานโดยได้รับค่าจ้าง แต่ไม่ได้รับเบี้ยขยัน 2
ให้ใช้สิทธิการลา 3 วันทำงานต่อเนื่อง โดยไม่นับวันหยุดประเพณี
หรือวันหยุดประจำสัปดาห์

พนักงานชายสามารถใช้สิทธิ์ได้คนละ 2 ครั้ง ตลอดอายุการทำงาน
การลาเริ่มนับจากวันที่ระบุในสูติบัตรบุตรเป็นต้นไป

บ ริ ษั ท ไ ท ย ซั ม มิ ท เ ค เ บิ้ ล แ อ น ด์ พ า ร์ ท จำ กั ด
T H A I S U M M I T C A B L E & P A R T S C O . , L T D . 18

ห ม ว ด ที่ 5

ห ลั ก เ ก ณ ฑ์ ก า ร ทำ ง า น
วั น แ ล ะ ส ถ า น ที่ จ่ า ย ค่ า จ้ า ง
ค่ า ล่ ว ง เ ว ล า ค่ า ทำ ง า น ใ น
วั น ห ยุ ด แ ล ะ ค่ า ล่ ว ง เ ว ล า

ใ น วั น ห ยุ ด

บบริรษิัษัทท ไไททยยซัซัมมมิมิทท เเคคเเบิบ้ิล้ ล แแออนนด์ด์ พพาาร์รท์ ท จจำำกักัดด
TTHHAAI I SSUUMMMMI ITT CCAABBLLEE && PPAARRTTSS CCOO. ., L, LTTDD. . 19

หลักเกณฑ์การทำงาน ค่าทำงานในวันหยุด
และค่าล่วงเวลาในวันหยุด

1.บริษัทฯ อาจให้พนักงานทำงานล่วงเวลา และทำงานในวันหยุดได้เท่าที่จำเป็นใน
งานที่มีลักษณะหรือสภาพที่ ต้องทำติดต่อกันไป ถ้าหยุดจะเสียหายแก่งาน โดย
ทางบริษัทฯ จะแจ้งล่วงหน้า

2. การจ่ายค่าล่วงเวลาในวันทำงานและค่าล่วงเวลาในวันหยุด
พนักงานที่ทำงานเกินเวลาทำงานปกติในวันทำงาน จะได้รับค่าล่วงเวลาใน
อัตราไม่น้อยกว่า 1.5 เท่าของค่าจ้างต่อชั่วโมงในวันทำงานตามจำนวนชั่วโมงที่
ทำงานเกิน
พนักงานที่ทำงานเกินเวลา 8 ชั่วโมงการทำงานในวันหยุดประจำสัปดาห์ วัน
หยุดตามประเพณี วันหยุดพิเศษของบริษัทฯ จะได้รับค่าล่วงเวลาในอัตราไม่
น้อยกว่า 3 เท่าของค่าจ้างต่อชั่วโมงในวันทำงานตามจำนวนชั่วโมงที่ทำงาน
เกิน

3. การจ่ายค่าทำงานในวันหยุดประจำสัปดาห์ วันหยุดตามประเพณี หรือวันหยุด
พิเศษของบริษัทฯ

พนักงานมีสิทธิได้รับค่าจ้างในวันหยุดประจำสัปดาห์ วันหยุดตามประเพณี หรือ
วันหยุดพิเศษของบริษัทฯ บริษัทฯ จะจ่ายค่าทำงานในวันหยุดฯ เพิ่มขึ้นจากค่า
จ้างที่ได้รับอีกไม่น้อยกว่า 1 เท่าของค่าจ้างต่อชั่วโมงในวันทำงานปกติตาม
ชั่วโมงที่ทำงาน
พนักงานที่ไม่มีสิทธิได้รับค่าจ้างในวันหยุดประจำสัปดาห์ บริษัทฯ จะจ่ายค่า
ทำงานในวันหยุดประจำสัปดาห์ไม่น้อยกว่า 2 เท่าของค่าจ้างต่อชั่วโมงในวัน
ทำงานปกติตามจำนวนชั่วโมงที่ทำงาน

บ ริ ษั ท ไ ท ย ซั ม มิ ท เ ค เ บิ้ ล แ อ น ด์ พ า ร์ ท จำ กั ด
T H A I S U M M I T C A B L E & P A R T S C O . , L T D . 20

หลักเกณฑ์การทำงาน ค่าทำงานในวันหยุด
และค่าล่วงเวลาในวันหยุด

4. พนักงานที่ไม่มีสิทธิได้รับค่าล่วงเวลาในวันทำงาน และค่าล่วงเวลาในวันหยุด
พนักงานตั้งแต่ระดับจัดการขึ้นไป และพนักงานที่มีข้อตกลงเกี่ยวกับสภาพการจ้าง
ก่อนเริ่มงาน จะไม่มีสิทธิได้รับค่าล่วงเวลาในวันทำงาน และค่าล่วงเวลาในวันหยุด
เว้นแต่บริษัทฯ ตะตกลงจ่ายให้เป็นกรณีไป

5. ค่ากะและหลักเกณฑ์การจ่ายค่ากะ 02
บริษัทฯ จะจ่ายค่ากะให้แก่พนักงานที่มีหน้าที่เข้าปฏิบัติงานตามปกติในกะ 02 เป็น
เงินคนละ 105 บาท/กะ
พนักงานที่ปฏิบัติงานไม่ครบ 8 ชั่วโมงจะไม่มีสิทธิได้รับค่ากะ
พนักงานระดับจัดการ ไม่มีสิทธิได้รับค่ากะ
บริษัทฯ จะจ่ายค่ากะให้แก่พนักงานที่มีสิทธิได้รับ ตามงวดการจ่ายค่าจ้างของบริษัทฯ

6. วันและสถานที่จ่ายค่าจ้าง
บริษัทฯ จะจ่ายค่าจ้าง ค่าทำงานเกินเวลา ค่าทำงานในวันหยุด ค่าทำงานในวันหยุด

และเงินประโยชน์อื่นเนื่องในการจ้างให้แก่พนักงาน ณ สถานที่ทำงานหรือธนาคาร
พาณิชย์ที่บริษัทฯ กำหนด และพนักงานได้ลงนามยินยอมที่สำเนาสมุดบัญชีเงินฝาก
โดยกำหนดจ่ายเดือนละ 2 ครั้ง หรือจ่ายเป็นเงินสด โดยบริษัทฯ จะประกาศวันที่จ่าย
ค่าจ้างให้ทราบภายในวันที่ 15 มกราคม ของทุกปี

7. การปรับสถานะ
พนักงานรายวันที่มีอายุงานครบ 2 ปี จะได้รับการ

ปรับสถานะเป็น พนักงานรายเดือน โดยใช้อัตราค่าจ้าง
รายวันสุดท้ายคูณด้วย 30 วัน

บ ริ ษั ท ไ ท ย ซั ม มิ ท เ ค เ บิ้ ล แ อ น ด์ พ า ร์ ท จำ กั ด
T H A I S U M M I T C A B L E & P A R T S C O . , L T D . 21

หลักเกณฑ์การทำงาน ค่าทำงานในวันหยุด
และค่าล่วงเวลาในวันหยุด

8. หลักประกันการทำงาน
หลักเกณฑ์และวิธีเรียกหรือรับหลักประกันการทำงานจะเป็นไปตามที่กำหนดไว้ใน

พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ.2541 ทั้งนี้ลักษณะหรือสภาพของงานที่ให้เรียก
หรือรับหลักประกันจากลูกจ้าง ตลอดจนประเภทของหลักประกัน จำนวนมูลค่าของหลัก
ประกัน และวิธีการเก็บรักษาให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่รัฐมนตรีประกาศ
กำหนด

บริษัทฯ จะคืนหลักประกันการทำงานให้กับพนักงานในกรณีลาออก โดยพนักงาน
ผู้นั้นมิได้ทำความเสียหายใดๆ ต่อทรัพย์สินของบริษัทฯ
การคืนหลักประกันให้พร้อมดอกเบี้ย ให้พนักงานไปรับคืนได้ภายในเจ็ดวัน นับแต่
วันที่นายจ้างเลิกจ้าง หรือวันที่ลูกจ้างลาออก หลักการคิดดอกเบี้ยจ่ายตามประกาศ
ของธนาคารในประเภทเงินฝากประจำปี โดยดอกเบี้ยที่จะจ่ายให้จะคิดตั้งแต่วันที่
รับหลักประกันการทำงานครบตามจำนวน

9. การหักภาษี ณ ที่จ่ายจากเงินได้ของพนักงาน
พนักงานมีหน้าที่จ่ายภาษีเงินได้ของตน โดยบริษัทฯ จำคำนวณภาษีเงินได้ของ

พนักงานตามที่กฎหมายกำหนด และทำการหัก ณ ที่จ่ายไว้เพื่อนำส่งกรมสรรพากร
ทุกงวดการจ่ายค่าจ้าง เมื่อสิ้นปีปฏิทิน พนักงานผู้ใดประสงค์จะให้บริษัทฯ ดำเนิน
การยื่นแบบภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาให้ (ภ.ง.ด.90 หรือ 91 แล้วแต่กรณี) จะต้อง
กรอกแบบภาษีดังกล่าว และนำส่งบริษัทฯ ภายในวันที่ 15 มีนาคมของทุกปี

บ ริ ษั ท ไ ท ย ซั ม มิ ท เ ค เ บิ้ ล แ อ น ด์ พ า ร์ ท จำ กั ด
T H A I S U M M I T C A B L E & P A R T S C O . , L T D . 22

ห ม ว ด ที่ 6



ส วั ส ดิ ก า ร แ ล ะ
ห ลั ก เ ก ณ ฑ์ ก า ร ใ ห้

ส วั ส ดิ ก า ร




บบริรษิัษัทท ไไททยยซัซัมมมิมิทท เเคคเเบิบ้ิล้ ล แแออนนด์ด์ พพาาร์รท์ ท จจำำกักัดด
TTHHAAI I SSUUMMMMI ITT CCAABBLLEE && PPAARRTTSS CCOO. ., L, LTTDD. . 23

สวัสดิการพนักงาน

1. บริษัทฯ ได้จัดให้มีคณะกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบกิจการ
ตามพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541

2. พนักงานดีเด่นในเรื่องการรักษาเวลาการทำงาน มีหลักเกณฑ์ดังนี้
จะต้องไม่ขาด ลา มาสายในรอบปีปฏิทิน ยกเว้นการลาพักผ่อนประจำปี
รางวัลพนักงานดีเด่นเป็นเงินสด
พนักงานที่สามารถรักษาเวลาทำงานติดต่อกัน แต่ปีต่อมาไม่สามารถ
รักษาเวลาทำงานได้ จะนับปีที่หนึ่งใหม่
พนักงานที่ได้รับการประกาศเป็นพนักงานดีเด่นติดต่อกันครบ 10 ปี
เงินรางวัลในปีต่อไปจะคงไว้ที่ 2,000 บาท เว้นแต่จะขาดช่วงก็ให้นับ
เป็นปีที่หนึ่งใหม่

3. เครื่องแบบพนักงานและหลักเกณฑ์การจ่ายเครื่องแบบ
ชุดฟอร์มและหลักเกณฑ์การจ่าย ปฏิบัติตามที่บริษัทฯ ประกาศใน
ระเบียบการแต่งกายของบริษัทฯ

4. รถรับ-ส่งพนักงาน
เพื่ออำนวยความสะดวกในการเดินทางมาทำงาน บริษัทฯ
ได้จัดรถรับ-ส่งพนักงาน โดยพิจารณาจากจำนวนพนักงาน
ในแต่ละเส้นทาง และแต่ละช่วงเวลาที่เหมาะสม

บ ริ ษั ท ไ ท ย ซั ม มิ ท เ ค เ บิ้ ล แ อ น ด์ พ า ร์ ท จำ กั ด
T H A I S U M M I T C A B L E & P A R T S C O . , L T D . 24

สวัสดิการพนักงาน

5. ค่ารักษาพยาบาลและหลักเกณฑ์การช่วยเหลือ
พนักงานที่อายุงานครบ 6 เดือน แต่ไม่ถึง 1 ปี จะได้รับการค่ารักษา
พยาบาล 3,500 บาทต่อปีปฏิทิน
พนักงานที่มีอายุงานครบ 1 ปี มีสิทธิได้รับค่าช่วยเหลือค่ารักษา
พยาบาล 7,000 บาทต่อปีปฏิทิน
วงเงินช่วยเหลือตามข้อ 5 เป็นค่าใช้จ่ายสำหรับกรณีคนไข้นอกและ
คนไข้ในรวมกันต่อปีปฏิทิน
สิทธิเข้ารับการรักษา/บำบัดในโรงพยาบาล คลินิกรัฐ หรือเอกชนได้
ทั่วประเทศ

บริษัทฯจะไม่รับผิดชอบค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลสำหรับการเจ็บ
ป่วยอั นเนื่ องมาจาก

(ก) กามโรค
(ข) การทำแท้ง
(ค) การตกแต่งฟัน การใส่ฟันปลอม และการดัดฟัน
(ง) บาดเจ็บเนื่องจากการทะเลาะวิวาท
(จ) การจงใจกระทำผิดกฎหมาย หรือจงใจทำให้บริษัทฯ

ได้รับความเสียหาย
(ฉ) การตั้งครรภ์ และการคลอดบุตร

6. เงินยืมสวัสดิการพนักงาน และหลักเกณฑ์การขอยืม
ให้เป็นไปตามที่บริษัทฯ ประกาศกำหนด

บ ริ ษั ท ไ ท ย ซั ม มิ ท เ ค เ บิ้ ล แ อ น ด์ พ า ร์ ท จำ กั ด
T H A I S U M M I T C A B L E & P A R T S C O . , L T D . 25

สวัสดิการพ
นักงาน

7. เงินสงเคราะห์แก่พนักงานในกรณี บิดา มารดา คู่สมรส หรือบุตรที่ถูก

ต้องตามกฎหมายเสียชีวิต และหลักเกณฑ์การช่วยเหลือ

จะต้องเป็นพนักงานประจำจึงจะมีสิทธิได้รับเงินสงเคราะห์สำหรับกรณี

บิดา มารดา คู่สมรส หรือบุตรที่ถูกต้องตามกฎหมายเสียชีวิต

บริษัทฯ จะจ่ายเงินสงเคราะห์ให้แก่พนักงานตามหลักเกณฑ์ดังนี้

(ก) พนักงานทั่วไป/เจ้าหน้าที่ 10,000 บาท

(ข) หัวหน้ากลุ่ม/หัวหน้าแผนก/หัวหน้าส่วน/วิศวกร 10,000 บาท

(ค) ผู้จัดการฝ่าย/ผู้จัดการทั่วไป 12,000 บาท

(ง) บริษัทฯ จัดพวงหรีดเคารพศพ ตาม (ค) 1,000 บาท

(จ) บริษัทฯ จัดพวงหรีดเคารพศพ ตาม (ก),(ข) 800 บาท

ในกรณีมีพนักงานหลายคนขอรับสิทธิเป็นทายาทผู้เสียชีวิต บริษัทฯ

กำหนดให้รับสิทธิได้เพียงคนเดียว

8. เงินสงเคราะห์พนักงานที่เสียชีวิต และหลักเกณฑ์การช่วยเหลือ
พ นั ก ง า น ที่ เ สี ย ชีวิต จ ะ ต้ อ ง เ ป็ น พ นั ก ง า น ที่ ไ ด้ รับ ก า ร บ ร ร จุ เ ป็ น พ นั ก ง า น
ประจำของบริษัทฯ

บ ริ ษั ท ไ ท ย ซั ม มิ ท เ ค เ บิ้ ล แ อ น ด์ พ า ร์ ท จำ กั ด
T H A I S U M M I T C A B L E & P A R T S C O . , L T D . 26

สวัสดิการพ
นักงาน

8. เงินสงเคราะห์พนักงานที่เสียชีวิต และหลักเกณฑ์การช่วยเหลือ (ต่อ)

ทายาทของพนักงานจะได้รับเงินช่วยเหลือตามหลักเกณฑ์ ดังนี้

(ก) พนักงานทั่วไป/เจ้าหน้าที่ 30,000 บาท

(ข) หัวหน้ากลุ่ม/หัวหน้าแผนก/หัวหน้าส่วน/วิศวกร 40,000 บาท

(ค) ผู้จัดการฝ่าย/ผู้จัดการทั่วไป 60,000 บาท

(ง) บริษัทฯ เป็นเจ้าภาพ 5,000 บาท

(จ) บริษัทฯ จัดพวงหรีดเคารพศพ ตาม (ค) 1,000 บาท

บริษัทฯ จัดพวงหรีดเคารพศพ ตาม (ก),(ข) 800 บาท

บริษัทฯ จะไม่จ่ายเงินช่วยเหลือตามข้อ 8 หากการเสียชีวิตนั้นมีสาเหตุ มา

จาก

(ก) การจงใจกระทำผิดกฎหมายหรือจงใจให้บริษัทฯ ได้รับความเสียหาย

(ข) การฆ่าตัวตายอันเนื่องมาจากการกระทำผิดกฎหมาย

(ค) การเข้ามีส่วนร่วมในการชุมนุม หรือประท้วง หรือก่อการประท้วง

(ง) การเกิดเหตุสุดวิสัยจากภัยธรรมชาติ หรือเหตุสุดวิสัยอื่นๆ

ทายาทตามหลักเกณฑ์ข้อนี้ หมายถึง บิดา มารดา คู่สมรส หรือบุตรที่ ถูก

ต้องตามกฎหมาย

บริษัทฯ จะจ่ายเงินช่วยเหลือตามข้อ 8 ให้แก่ ทายาทคนใดคนหนึ่งที่ เป็นผู้

จัดการศพ

บ ริ ษั ท ไ ท ย ซั ม มิ ท เ ค เ บิ้ ล แ อ น ด์ พ า ร์ ท จำ กั ด
T H A I S U M M I T C A B L E & P A R T S C O . , L T D . 27

สวัสดิการพนักงาน

9. ค่าอาหาร และหลักเกณ์การจ่าย
พนักงานประจำและพนักงานทดลองงานมีสิทธิได้รับค่าอาหารวันละ 50 บาท
โดยบริษัทฯ จะจ่ายให้เฉพาะวันที่พนักงานมาทำงานหรือในวันหยุดที่ได้รับคำสั่ง
ให้มาทำงานเท่านั้น ยกเว้นพนักงานระดับจัดการไม่มีสิทธิได้รับสวัสดิการตาม
ข้อนี้
กรณีพนักงานประจำ และพนักงานทดลองงานปฏิบัติงานไม่ครบ 8 ชั่วโมงแต่
ไม่ต่ำกว่า 4 ชั่วโมงตามข้อ 9 จะได้รับค่าอาหารวันละ 25 บาท
บริษัทฯ จะจ่ายค่าอาหารตามข้อ 9 แก่พนักงานประจำ และพนักงานทดลอง
งานที่ได้รับตามงวดการจ่ายค่าจ้าง

10. เบี้ยขยัน และหลักเกณฑ์การจ่าย
พนักงานมีสิทธิได้รับเบี้ยขยัน โดยจะต้องไม่ขาด ลา มาสาย ในรอบเดือนของ
การคิดเบี้ยขยัน ยกเว้นการลาพักผ่อนประจำปี และลากิจพิเศษเพื่อประกอบ
พิธีศพ บิดา มารดา คู่สมรส บุตรที่ถูกต้องตามกฏหมาย
พนักงานที่สามารถรักษาเวลาการมาทำงานตามข้อ 10 ได้ บริษัทฯ กำหนด
เกณฑ์การจ่ายเบี้ยขยันดังนี้

จำ น ว น เ ดื อ น ที่ รั ก ษ า ก า ร จ่ า ย เ งิ น
เ ว ล า ก า ร ม า ทำ ง า น ไ ด้ เ บี้ ย ข ยั น / เ ดื อ น

1 เ ดื อ น 750 บาท
2 เ ดื อ น ติ ด ต่ อ กั น 800 บาท
3 เ ดื อ น ติ ด ต่ อ กั น 850 บาท

บ ริ ษั ท ไ ท ย ซั ม มิ ท เ ค เ บิ้ ล แ อ น ด์ พ า ร์ ท จำ กั ด
T H A I S U M M I T C A B L E & P A R T S C O . , L T D . 28

สวัสดิการพนักงาน

10. เบี้ยขยัน และหลักเกณฑ์การจ่าย (ต่อ)
ในการจ่ายเบี้ยขยันของปีถัดไปนั้น พนักงานจะได้รับเบี้ยขยันอัตราต่อเนื่อง
โดยนับจากอัตราสุดท้ายของเดือนธันวาคมที่พนักงานได้รับ
กรณีที่พนักงานมีคุณสมบัติไม่ตรงตามหลักเกณฑ์ที่ใช้พิจารณาจ่ายเบี้ยขยัน
ให้เริ่มต้นในอัตรา 1 เดือนใหม่
บริษัทฯ จะจ่ายเบี้ยขยันให้กับพนักงานที่มีสิทธิได้รับตามข้อนี้ ในงวดการคิดค่า
จ้างสุดท้ายของเดือน
พนักงานระดับจัดการไม่มีสิทธิได้รับเบี้ยขยันตามข้อนี้
ในกรณีที่พนักงานลาป่วยจากการบาดเจ็บในงาน บริษัทฯจะพิจารณาการจ่าย
เบี้ยขยันภายใต้หลักเกณฑ์ดังนี้
(ก) ต้องมีใบส่งตัวจากแพทย์ พรือพยาบาลของบริษัทฯ ให้ไปทำการรักษา
ภายนอกทั นที ในวันที่ เกิ ดอุ บัติ เหตุ
(ข) แพทย์ของโรงพยาบาลที่ทำการรักษาวินิจฉัยให้พนักงานหยุดงานและมี
ใบรับรองแพทย์ให้หยุดงานได้ แต่ต้องไม่เกิน 3 วัน หรือกรณีใบรับรอง
แพทย์ระบุให้หยุดงานเกิน 3 วัน แต่พนักงานหยุดงานจริงไม่ถึง 3 วัน

ข้อยกเว้นไม่พิจารณาเบี้ยขยัน กรณีลาป่วย จากการบาดเจ็บในงาน
(ก) ใบรับรองแพทย์ไม่ได้ระบุให้หยุดงาน
(ข) พนักงานหยุดงานเกินกว่าที่ใบรับรองแพทย์ระบุ ยกเว้น มีอาการบาดเจ็บ

รุนแรงเกิดขึ้น หลังจากได้รับการรักษาครั้งแรก และมีใบรับรองแพทย์
ฉบับใหม่จากแพทย์ที่ทำการรักษามาแสดง
(ค) ผลการสอบสวนอุบัติเหตุ สรุปได้ว่า พนักงานหรือหัวหน้างาน ไม่ปฏิบัติ
ตามขั้นตอนการทำงาน ประมาท เลินเล่อ มีสภาพการทำงานที่ไม่ปลอดภัย
แต่พนักงานยังฝืนปฏิบัติงานบนความเสี่ยงโดยปราศจากการป้องกัน
สภาพเครื่องจักรไม่พร้อม และไม่ปลอดภัยหรือพนักงานไม่สวมใส่อุปกรณ์
ป้องกันอันตรายจากการทำงานตามที่กำหนด

บ ริ ษั ท ไ ท ย ซั ม มิ ท เ ค เ บิ้ ล แ อ น ด์ พ า ร์ ท จำ กั ด
T H A I S U M M I T C A B L E & P A R T S C O . , L T D . 29

สวัสดิการพนักงาน

11. ห้องพยาบาล และหลักเกณฑ์การเข้ารับการรักษา/บำบัด
กรณีเกิดอุบัติเหตุ หรือเจ็บป่วยเนื่องจากการทำงาน พนักงานจะต้องติดต่อห้อง
พยาบาลของบริษัทฯ เพื่อตรวจในเบื้องต้น ในกรณีที่มีความเห็นว่าควรส่งตัวเข้า
รับการบำบัด บริษัทฯ จะมีหนังสือส่งตัวถึงโรงพยาบาล หากไม่ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์
บริษัทฯ จะไม่รับผิดชอบค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้น รวมถึงเงินทดแทนในการหยุดงานด้วย
(ยกเว้นกรณีเร่งด่วน)
ในกรณีเจ็บป่วยโรคธรรมดาทั่วไป มิใช่เกิดขึ้นเนื่องจากการทำงานหรือในขณะ
ปฏิบัติงานจะต้องขออนุญาตจากผู้บังคับบัญชาตาม “บัตรพยาบาล” ที่บริษัทฯ
กำหนด เมื่อได้รับอนุมัติแล้ว ให้ยื่นต่อแพทย์หรือพยาบาลของ บริษัทฯ เพื่อวินิจฉัย
และรับการบำบัดต่อไป
พนักงานผู้ป่วยไม่สามารถปฏิบัติงานได้ และเห็นว่าควรให้นอนพักที่ห้องพยาบาล
บริษัทฯจะไม่นำมาพิจารณา หักเบี้ยขยัน ทั้งนี้ไม่เกิน 3 ชั่วโมง หากแพทย์หรือ
พยาบาลเห็นว่าพนักงานไม่สามารถปฏิบัติงานต่อได้ในวันนั้น ให้พนักงานนำไปยืนยัน
จากห้องพยาบาล และเขียนใบลาป่วยยื่นแก่หัวหน้างานตามระเบียบการลาและส่ง
ฝ่ายทรัพยากรมนุษย์
พนักงานผู้ป่วยมีอาการหนัก ให้แพทย์หรือพยาบาลส่งไปรับการบำบัดต่อยัง
โรงพยาบาล โดยพยาบาลจะเป็นผู้แจ้งให้เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยวิชาชีพทราบ และ
เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยฯ จะเป็นผู้แจ้งต่อต้นสังกัดให้ทราบต่อไป

12. ค่ากะ และหลักเกณฑ์การจ่าย
บริษัทฯ พิจารณาจ่ายค่ากะดึก แก่พนักงานจำนวน 105 บาทต่อวันสำหรับ
พนักงานที่มาทำงานเต็มจำนวนชั่วโมงทำงานตามกำหนดหรือ สำหรับ
พนักงานที่มาสายหรือลางานไม่เกิน 2 ชั่วโมง
บริษัทฯ พิจารณาจ่ายค่ากะกึ่งหนึ่ง จำนวน 50 บาท แก่พนักงาน
ที่มีการลางานไม่เกิน 4 ชั่วโมง 30 นาที

บ ริ ษั ท ไ ท ย ซั ม มิ ท เ ค เ บิ้ ล แ อ น ด์ พ า ร์ ท จำ กั ด
T H A I S U M M I T C A B L E & P A R T S C O . , L T D . 30

ห ม ว ด ที่ 7



ข้ อ พึ ง ป ฏิ บั ติ วิ นั ย ก า ร
ล ง โ ท ษ ก า ร พ้ น ส ภ า พ
จ า ก ก า ร เ ป็ น พ นั ก ง า น

ค่ า ช ด เ ช ย

บบริรษิัษัทท ไไททยยซัซัมมมิมิทท เเคคเเบิบ้ิล้ ล แแออนนด์ด์ พพาาร์รท์ ท จจำำกักัดด
TTHHAAI I SSUUMMMMI ITT CCAABBLLEE && PPAARRTTSS CCOO. ., L, LTTDD. . 31

ข้อพึงปฏิบัติ และระเบียบวินัย
เกี่ยวกับการทำงาน

1.ข้อพึงปฏิบัติ และระเบียบวินัยเกี่ยวกับการทำงานสำหรับพนักงาน

ปฏิบัติตามระเบียบวินัย และกฎข้อบังคับของบริษัทฯ อย่างเคร่งครัด
ปฏิบัติงานในหน้าที่ของตนด้วยความซื่อสัตย์ สุจริต เอาใจใส่และมีความ
รับผิดชอบต่อหน้าที่ได้รับมอบหมายอย่างสุดความสามารถ
มีความประพฤติเรียบร้อย เชื่อฟังคำสั่งอันชอบด้วยหน้าที่/กฎหมาย และ
คำตักเตือนของผู้บังคับบัญชาด้วยความสุภาพ
ต้องติดบัตรประจำตัวพนักงานในเวลาทำงาน และแต่งกายสุภาพเรียบร้อย
ตามระเบียบที่บริษัทฯ กำหนด
ให้ความร่วมมือ และสนับสนุนการดำเนินกิจการของบริษัทฯอย่างสม่ำเสมอ
เมื่อมีเหตุการณ์อันจะก่อให้เกิดความเสียหายแก่ทรัพย์สิน ชื่อเสียงของ
บริษัทฯ ต้องรับรายงานต่อผู้บังคับบัญชาทราบโดยทันที
ต้องให้ความร่วมมือ และรับทราบระเบียบข้อบังคับ ประกาศ และคำสั่ง
ของบริษัทฯ ซึ่งได้ประกาศให้ทราบโดยทั่วกัน ตามบอร์ดปิดประกาศของ
บริษัทฯ ที่จัดเป็นการเฉพาะ และสื่ออื่นๆ ของบริษัทฯ เมื่อได้ประกาศแล้ว
จะปฏิเสธว่าไม่ทราบไม่ได้
ผู้บังคับบัญชาทุกระดับมีหน้าที่ต้องสอดส่องดูแลและรับผิดชอบต่อ
พนักงานในบังคับบัญชาของตนทุกคนให้ปฏิบัติตามกฎระเบียบ วินัย หรือ
ข้อบังคับของบริษัทฯ อย่างเคร่งครัด

บริษั ท ไทยซัมมิท เคเบิ้ล แอนด์ พาร์
ท จำกั ด

THASUMMIT CABLE &
PARTS CO.,LTD.

บ ริ ษั ท ไ ท ย ซั ม มิ ท เ ค เ บิ้ ล แ อ น ด์ พ า ร์ ท จำ กั ด
T H A I S U M M I T C A B L E & P A R T S C O . , L T D . 32

ข้อพึงปฏิบัติ และระเบียบวินัย
เกี่ยวกับการทำงาน

2. วินัยและโทษทางวินัย
วินัย คือ ข้อบังคับหรือข้อกำหนดที่บริษัทฯได้กำหนดขึ้นมาเพื่อให้พนักงาน

ได้ปฏิบัติตามโดยเคร่งครัด
โทษทางวินัย พนักงานผู้ใดฝ่าฝืนกฎระเบียบ ข้อบังคับประกาศหรือคำสั่ง

อันชอบด้วยกฎหมายของบริษัทฯ จะถูกพิจารณาความผิดและลงโทษตามที่
เห็นสมควรดังนี้

(ก) ตักเตือนด้วยวาจา
(ข) ตักเตือนเป็นลายลักษณ์อักษร
(ค) ตักเตือนเป็นลายลักษณ์อักษร และมีคำสั่งพักงานโดยไม่ได้รับค่าจ้าง
(ง) เลิกจ้างโดยไม่จ่ายค่าชดเชย และค่าบอกกล่าวล่วงหน้า
อนึ่ง การลงโทษดังที่จะกล่าวต่อไปนี้ บริษัทฯ จะพิจารณานำบทลงโทษ
ข้อหนึ่งข้อใดมาใช้โดยพิจารณาตามสาเหตุข้อเท็จจริง ความหนักเบาของ
ความผิด และโทษประกอบกัน

3. การกระทำดังต่อไปนี้ จะถือเป็นความผิดที่มีโทษ “ตักเตือนด้วยวาจา”
แต่งกายผิดระเบียบบริษัทฯ
แต่งกายไม่สุภาพหรือแต่งกายในลักษณะที่
อาจไม่ปลอดภัยต่อการปฏิบัติงาน
ใช้วาจาหรือแสดงกิริยาไม่สุภาพหรือส่งเสียง
ดั งอั นเป็นการรบกวนต่ อการปฏิ บัติ งานของผู้อื่ น
นำสินค้ามาจำหน่ายในโรงงานโดยไม่ได้รับอนุญาต
ไม่รักษาเครื่องมือ เครื่องใช้ อุปกรณ์
การทำงาน ตามที่ควรจะพึงรักษาหรือกระทำได้
ไม่รักษาสภาพแวดล้อม และความสะอาดในสถานที่ปฏิบัติงาน
อ่านหนังสือพิมพ์ หยอกเย้า รบกวนผู้ร่วมงานในเวลาทำงาน

บ ริ ษั ท ไ ท ย ซั ม มิ ท เ ค เ บิ้ ล แ อ น ด์ พ า ร์ ท จำ กั ด
T H A I S U M M I T C A B L E & P A R T S C O . , L T D . 33

ข้อพึงปฏิบัติ และระเบียบวินัย
เกี่ยวกับการทำงาน

3. การกระทำดังต่อไปนี้ จะถือเป็นความผิดที่มีโทษ “ตักเตือนด้วยวาจา” (ต่อ)
ไม่สวมใส่อุปกรณ์ความปลอดภัยส่วนบุคคลที่บริษัทฯ กำหนดในขณะ
ปฏิบัติงาน
ไม่แจ้งผู้บังคับบัญชาเมื่ออุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องใช้ ซึ่งอยู่ในสภาพที่ไม่
ปลอดภัยหรือได้รับความเสียหาย
สูบบุหรี่ในสถานที่ทำงาน เว้นแต่บริเวณที่จัดให้โดยเฉพาะ
เข้าทำงานสาย หรือเลิกงานก่อนเวลาที่กำหนดไว้
ประพฤติตนในทำนองชู้สาว หรือผิดศีลธรรมอันดี
รับประทานอาหารในบริเวณที่ทำงาน
ความผิดอื่นๆ ที่อยู่ในดุลพินิจของบริษัทฯ

4. การกระทำดังต่อไปนี้ จะถือเป็นความผิดที่มีโทษ
“ตักเตือนเป็นลายลักษณ์อักษร”
การกระทำความผิดและเคยได้รับการลงโทษโดยการตักเตือนวาจามาแล้ว
การไม่ปฏิบติตามหลักเกณ์ปฏิบัติของการลาประเภทต่างๆ ตามหมวดที่ 4
บันทึกเวลาการทำงานหรือรูดบัตรแทนกันโดยไม่มีเจตนาทุจริต
เบียดบังเวลาปฏิบัติงานของบริษัทฯ ไปทำประโยชน์ส่วนตัว หรือหลับใน
เวลาปฏิบัติงาน
ปฏิบัติงานโดยประมาท เป็นเหตุให้ทรัพย์สินของบริษัทฯ
หรือพนักงานผู้อื่ นได้ รับความเสียหาย
มาทำงานสาย 3 ครั้ง ในระยะเวลา 1 เดือน
มาสายเกิน 6 ครั้ง ในเวลา 4 เดือนติดต่อกัน

บ ริ ษั ท ไ ท ย ซั ม มิ ท เ ค เ บิ้ ล แ อ น ด์ พ า ร์ ท จำ กั ด
T H A I S U M M I T C A B L E & P A R T S C O . , L T D . 34

ข้อพึงปฏิบัติ และระเบียบวินัย
เกี่ยวกับการทำงาน

4. การกระทำดังต่อไปนี้ จะถือเป็นความผิดที่มีโทษ
“ตักเตือนเป็นลายลักษณ์อักษร” (ต่อ)

ไม่ออกนอกบริษัทฯ เมื่อไม่มีกิจหน้าที่ใดๆ แล้ว
ใช้วาจาหรือแสดงกิริยาที่ไม่สุภาพต่อผู้ร่วมงาน
นินทาหรือนำเรื่ องที่ ไม่เป็นความจริงของผู้อื่ นมาเผยแพร่จนเป็นเหตุให้ เกิ ด
ความเสียหาย
ออกเงินกู้ จัดกลุ่มแชร์ เล่นแชร์ ขายตั๋วสลาก เรี่ยไร ภายในบริษัทฯ
ละทิ้งหน้าที่โดยไม่มีเหตุผลอันสมควรหรืออกนอกหน่วยงานโดยไม่ได้รับ
อนุญาตจากผู้บังคับบัญชา
ตกลงหรือลงชื่อทำงานล่วงเวลา ทำงานในวันหยุด แล้วไม่มาปฏิบัติงานใน
วันและเวลาดังกล่าว
ทำอุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องใช้ของบริษัทฯ เสียหาย โดยไม่ได้รับอนุญาต
เจตนาหรือจงใจดัดแปลงอุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องจักรของบริษัทฯ โดย
ไม่ได้รับอนุญาต
นำบุคคลภายนอกเข้าไปในบริษัทฯ โดยไม่ได้รับอนุญาตจากบริษัทฯ
นำทรัพย์สินของบริษัทฯ ไปใช้ส่วนตัวหรือให้ผู้อื่นใช้โดยไม่ได้รับอนุญาต

ไม่ให้ความร่วมมือในการปฏิบัติหน้าที่โดยชอบ
ของยามรักษาการณ์ ซึ่งได้ทำตามระเบียบที่
บริษัทฯ กำหนด
ถ่ายภาพในโรงงานโดยไม่ได้รับอนุญาต
ใ ช้เ ค รื่ อ ง ข ย า ย เ สี ย ง ใ น โ ร ง ง า น โ ด ย ไ ม่ไ ด้ รับ
อนุญาต
เข้าไปในเขตหวงห้ามของบริษัทฯ โดยไม่ได้รับ
อนุญาต

บ ริ ษั ท ไ ท ย ซั ม มิ ท เ ค เ บิ้ ล แ อ น ด์ พ า ร์ ท จำ กั ด
T H A I S U M M I T C A B L E & P A R T S C O . , L T D . 35

ข้อพึงปฏิบัติ และระเบียบวินัย
เกี่ยวกับการทำงาน

4. การกระทำดังต่อไปนี้ จะถือเป็นความผิดที่มีโทษ
“ตักเตือนเป็นลายลักษณ์อักษร” (ต่อ)

ฝ่าฝืนคำสั่งโดยชอบของผู้บังคับบัญชาจนเป็นเหตุให้เกิดความเสียหาย
ฝ่าฝืนกฎจราจร หรือการจอดรถตามระเบียบหรือประกาศของบริษัทฯ
รับประทานอาหารในเวลาปฏิบัติงาน
ขีดเขียน ทำลายข้อความ ปิดประกาศ โฆษณา เผยแพร่เอกสาร และสิ่งตีพิมพ์
ที่ให้โทษต่อบริษัทฯ
ไม่ปฏิบัติตามขั้นตอนของบริษัทฯจนเป็นเหตุให้ทรัพย์สินของบริษัทฯหรือพนักงาน
ผู้อื่นได้รับความเสียหาย
ความผิดอื่นๆ ที่อยู่ในดุลยพินิจของบริษัทฯ

5. การกระทำดังต่อไปนี้ จะถือเป็นความผิดที่มีโทษ
“ตักเตือนเป็นลายลักษณ์อักษร และมีคำสั่งพักงานโดยไม่ได้รับค่าจ้าง”

พนักงานที่เข้าไปมีส่วนร่วมในการทะเลาะวิวาท แต่มิได้มีส่วนร่วมในการทำร้าย
ร่างกาย
ออกไปปฏิบัติงานภายนอกบริษัทฯ และละทิ้งหน้าที่ไม่ไปปฏิบัติงานตามที่ได้
รับมอบหมายหรือไปทำกิ จธุ ระส่วนตั วอื่ นๆ
นำเครื่องเล่น หรืออุปกรณ์ในการเล่นพนัน เข้ามาในบริษัทฯ
นินทาว่ากล่าวผู้บังคับบัญชาหรือผู้ใต้บังคับบัญชาในทางที่ก่อให้เกิดความ
เสียหาย หรือเสื่อมเสียทั้งในด้านส่วนตัวและ/หรือในด้านการทำงาน
ประพฤติตนไม่เหมาะสมต่อสังคมเป็นเหตุให้บริษัทฯ เสียชื่อเสียง
หรือภาพลักษณ์ที่ดีของบริษัทฯ
เสพย์สิ่งมึนเมา ภายในบริเวณบริษัทฯ ไม่ว่าจะในหรือนอกเวลา
ความผิดอื่นๆ ที่อยู่ในดุลยพินิจของบริษัทฯ และคณะกรรมการ
ที่ได้รับแต่งตั้ง
ฝ่าฝืนหรือขัดคำสั่งโดยชอบของผู้บังคับบัญชา

บ ริ ษั ท ไ ท ย ซั ม มิ ท เ ค เ บิ้ ล แ อ น ด์ พ า ร์ ท จำ กั ด
T H A I S U M M I T C A B L E & P A R T S C O . , L T D . 36

ข้อพึงปฏิบัติ และระเบียบวินัย
เกี่ยวกับการทำงาน

6. ความผิดในลักษณะต่อไปนี้ เป็นความผิดตามข้อระเบียบบังคับ พนักงาน
ผู้กระทำผิดจะต้องถูกลงโทษ โดยการ “เลิกจ้างโดยไม่จ่ายค่าชดเชย และ
ค่าบอกกล่าวล่วงหน้า” ได้แก่ความผิดดังนี้

ทุจริตต่อหน้าที่โดยเจตนา
กระทำผิดอาญาโดยเจตนาแก่บริษัทฯ
จงใจทำให้บริษัทฯ ได้รับความเสียหาย
ฝ่าฝืน กฎระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ หรือคำสั่งอันชอบด้วยกฎหมายของ
บริษัทฯ และบริษัทฯ ได้ออกหนังสือเตือนเป็นลายลักษณ์อักษรแล้ว ซึ่ง
หนังสือเตือนนี้ต้องมีระยะเวลาไม่เกินหนึ่งปีนับแต่วันที่พนักงานได้รับ
หนังสือเตือน เว้นแต่ในกรณีร้ายแรง บริษัทฯ ไม่จำเป็นต้องตักเตือน
ได้แก่ความผิดดังต่อไปนี้
(1) แจ้งหรือแสดงหลักฐานการลาอันเป็นเท็จ
(2) เบียดบังเวลาทำงานของบริษัทฯ ไปทำกิจส่วนตัว
(3) นำความลับ/ข้อมูลของบริษัทฯ ออกนอกบริษัท หรือเผยแพร่ หรือนำไป
กระทำการอื่นใด ให้แก่บุคคล นิติบุคคลภายนอก หรือนำความลับ/ข้อมูล
ลูกค้าออกจากบริษัทฯ หรือนำไปเผยแพร่ให้ผู้อื่น
(4) ทำการต่อเติม แก้ไขข้อความ หรือทำลายประกาศ คำสั่ง บันทึกใดๆบริษัทฯ
(5) เล่นการพนันทุกประเภท ทั้งภายในและบริเวณนอกโรงงาน/บริษัท
ไม่ว่าจะ ในหรือนอกเวลาทำงาน
(6) นำเข้า แจกจ่าย หรือครอบครองไว้ซึ่งสุรายาเสพติดให้โทษ อาวุธ หรือ
วัตถุระเบิดภายในบริษัท/โรงงาน

บ ริ ษั ท ไ ท ย ซั ม มิ ท เ ค เ บิ้ ล แ อ น ด์ พ า ร์ ท จำ กั ด
T H A I S U M M I T C A B L E & P A R T S C O . , L T D . 37

ข้อพึงปฏิบัติ และระเบียบวินัย
เกี่ยวกับการทำงาน

6. “เลิกจ้างโดยไม่จ่ายค่าชดเชย และค่าบอกกล่าวล่วงหน้า” (ต่อ)

(7) รายงานเท็จหรือปกปิดความจริงที่ควรแจ้งให้กับบริษัทฯ เพื่อให้ได้ประโยชน์ของ
ตนเองหรือผู้อื่น หรือก่อให้เกิดความเสียหายแก่บริษัทฯ

(8) ติดประกาศ หรือขีดเขียนข้อความใดๆ หรือแจกจ่ายเอกสารใดๆ โดยไม่ได้รับ
อนุญาต

(9) ยุยงส่งเสริม หรือกระทำการใดๆ ที่มีลักษณะต่อต้าน การบริหารงานของบริษัทฯ
หรือกระทำให้การผลิตได้รับความเสียหาย

(10) เสพเครื่องดื่ มมึนเมา หรือยาเสพติดให้โทษ ทั้งภายใน และบริเวณรอบนอกบริษัท
โรงงานไม่ว่าจะเป็นในหรือนอกเวลาทำงาน

(11) นำทรัพย์สินของบริษัทฯ ไปใช้ส่วนตัวหรือให้ผู้อื่นใช้โดยไม่ได้รับอนุญาต
(12) กระทำผิดอาญาต่อผู้อื่น
(13) แสดงกิริยาก้าวร้าว หรือขัดคำสั่งสอนอันชอบของผู้บังคับบัญชา จนเป็นเหตุให้

ได้รับความเสียหายร้ายแรงทั้งในด้านส่วนตัว หรือในการบริหารงาน
(14) ให้ผู้อื่น หรือรับใช้ผู้อื่น บันทึกลงเวลาแทนโดยมีเจตนาทุจริต
(15) ทะเลาะวิวาทหรือทำร้ายร่างกายซึ่งกันและกัน ในพื้นที่ความรับผิดชอบของบริษัทฯ
(16) จัดชุมนุม หรือตั้งชมรมใดๆ โดยไม่ได้รับอนุญาตจากบริษัทฯ
(17) ใช้เครื่องขยายเสียงในโรงงาน โดยไม่ได้รับอนุญาตจากบริษัทฯ
(18) กระทำการใดอันเป็นการละเมิด หรือกีดขวางไม่ให้บริษัทฯ สามารถดำเนินการ

ได้ตามปกติ
(19) ละทิ้งหน้าที่ เป็นเหตุให้บริษัทฯ ได้รับความเสียหายอย่างร้ายแรง
(20) เป็นผู้สนับสนุนให้กระทำผิดอาญาต่อบริษัทฯ หรือต่อพนักงานผู้อื่น
(21) ประมาทเลินเล่อ เป็นเหตุให้พนักงานได้รับบาดเจ็บหรือเสียหายอย่างร้ายแรง
(22) ดำเนินธุรกิจเดียวกับบริษัทฯ ในลักษณะแข่งขันกับบริษัทฯ
(23) สูบบุหรี่ในเขตที่มีวัตถุไวไฟ และบริษัทฯ ได้ปิดประกาศ ห้ามสูบบุหรี่ในเขตนั้น
(24) นัดหยุดงาน ชุมนุมหรือเรียกร้องสิทธิใดๆ โดยไม่ปฏิบัติให้เป็น

ไปตามขั้นตอนที่กำหนดไว้ในพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์

บ ริ ษั ท ไ ท ย ซั ม มิ ท เ ค เ บิ้ ล แ อ น ด์ พ า ร์ ท จำ กั ด
T H A I S U M M I T C A B L E & P A R T S C O . , L T D . 38

ข้อพึงปฏิบัติ และระเบียบวินัย
เกี่ยวกับก
ารทำงาน

6. “เลิกจ้างโดยไม่จ่ายค่าชดเชยและ ค่าบอกกล่าวล่วงหน้า” (ต่อ)
ละทิ้งหน้าที่เป็นเวลา 3 วันทำงานติดต่อกันไม่ว่าจะมีวันหยุดขั้นหรือไม่ก็ตาม
โดยไม่มีเหตุผลอันควร
ประมาทเลินเล่อ เป็นเหตุให้บริษัทฯ ได้รับความเสียหายอย่างร้ายแรง
ได้รับโทษจำคุกตามคำพิพากษาถึงที่สุดให้จำคุก

7. การหักค่าจ้าง เนื่องจากการมาทำงานสายในวันทำงานปกติ และทำล่วง
เวลาในวันหยุด จะถูกตัดค่าแรงตามเวลาที่สายจริง

8. พนักงานจะพ้นสภาพจากการเป็นพนักงานของบริษัทฯ ในกรณีต่อไปนี้
ตาย หมายถึง พนักงานถึงแก่ความตายไม่ว่าด้วยเหตุใดๆ ก็ตาม
ลาออก หมายถึง พนักงานขอลาออกจากการเป็นพนักงานบริษัทฯ โดย
จ ะ ต้ อ ง ยื่ น ใ บ ล า อ อ ก เ ป็ น ล า ย ลั ก ษ ณ์ อั ก ษ ร ต า ม แ บ บ พิม พ์ข อ ง บ ริษั ท ฯ
ห รือ ยื่ น จ ด ห ม า ย ล า อ อ ก ใ น ก ร ณี ที่ ไ ม่ส า ม า ร ถ ใ ช้แ บ บ พิม พ์ข อ ง บ ริษั ท ฯ ไ ด้
โดยต้องแจ้งล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 30 วัน เว้นแต่กรณีที่พนักงานยังอยู่ใน
ระหว่างทดลองงาน ซึ่งต้องแจ้งให้ผู้บังคับบัญชาทราบล่วงหน้า 3 วัน

การลาออกจะมีผลอนุมัติถูกต้อง เมื่อได้รับอนุมัติจากผู้บังคับบัญชา
ต้นสังกัด และฝ่ายทรัพยากรมนุษย์และธุรการแล้ว พนักงานที่ได้รับอนุมัติให้
ลาออกจะต้องส่งคืนทรัพย์สินของบริษัทฯ ที่อยู่ในความครอบครองหรือความ
รับผิดชอบก่อนวันลาออกจะมีผล

บ ริ ษั ท ไ ท ย ซั ม มิ ท เ ค เ บิ้ ล แ อ น ด์ พ า ร์ ท จำ กั ด
T H A I S U M M I T C A B L E & P A R T S C O . , L T D . 39

ข้อพึงปฏิบัติ และระเบียบวินัย
เกี่ยวกับกา
รทำงาน

6. “เลิกจ้างโดยไม่จ่ายค่าชดเชยและ ค่าบอกกล่าวล่วงหน้า” (ต่อ)
ละทิ้งหน้าที่เป็นเวลา 3 วันทำงานติดต่อกันไม่ว่าจะมีวันหยุดขั้นหรือไม่ก็ตาม
โดยไม่มีเหตุผลอันควร
ประมาทเลินเล่อ เป็นเหตุให้บริษัทฯ ได้รับความเสียหายอย่างร้ายแรง
ได้รับโทษจำคุกตามคำพิพากษาถึงที่สุดให้จำคุก

7. การหักค่าจ้าง เนื่องจากการมาทำงานสายในวันทำงานปกติ และทำล่วง
เวลาในวันหยุด จะถูกตัดค่าแรงตามเวลาที่สายจริง

8. พนักงานจะพ้นสภาพจากการเป็นพนักงานของบริษัทฯ ในกรณีต่อไปนี้
ตาย หมายถึง พนักงานถึงแก่ความตายไม่ว่าด้วยเหตุใดๆ ก็ตาม
ลาออก หมายถึง พนักงานขอลาออกจากการเป็นพนักงานบริษัทฯ โดย
จ ะ ต้ อ ง ยื่ น ใ บ ล า อ อ ก เ ป็ น ล า ย ลั ก ษ ณ์ อั ก ษ ร ต า ม แ บ บ พิม พ์ข อ ง บ ริษั ท ฯ
ห รือ ยื่ น จ ด ห ม า ย ล า อ อ ก ใ น ก ร ณี ที่ ไ ม่ส า ม า ร ถ ใ ช้แ บ บ พิม พ์ข อ ง บ ริษั ท ฯ ไ ด้
โดยต้องแจ้งล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 30 วัน เว้นแต่กรณีที่พนักงานยังอยู่ใน
ระหว่างทดลองงาน ซึ่งต้องแจ้งให้ผู้บังคับบัญชาทราบล่วงหน้า 3 วัน

การลาออกจะมีผลอนุมัติถูกต้อง เมื่อได้รับอนุมัติจากผู้บังคับบัญชา
ต้นสังกัด และฝ่ายทรัพยากรมนุษย์และธุรการแล้ว พนักงานที่ได้รับอนุมัติให้
ลาออกจะต้องส่งคืนทรัพย์สินของบริษัทฯ ที่อยู่ในความครอบครองหรือความ
รับผิดชอบก่อนวันลาออกจะมีผล

บ ริ ษั ท ไ ท ย ซั ม มิ ท เ ค เ บิ้ ล แ อ น ด์ พ า ร์ ท จำ กั ด
T H A I S U M M I T C A B L E & P A R T S C O . , L T D . 40

ข้อพึงปฏิบัติ และระเบียบวินัย
เกี่ยวกับก
ารทำงาน

8. พนักงานจะพ้นสภาพจากการเป็นพนักงานของบริษัทฯ ในกรณีต่อไปนี้ (ต่อ)
บริษัทฯ เลิกสัญญาจ้าง หมายถึง การกระทำใดๆ ที่บริษัทฯ ไม่ให้พนักงาน
ทำงานต่อไป และไม่จ่ายค่าจ้างให้ ไม่ว่าจะเป็นเพราะเหตุสิ้นสุดสัญญาจ้างหรือ
เหตุอื่นใด รวมถึงกรณีที่พนักงานไม่ได้ทำงาน และไม่ได้รับค่าจ้างเพราะเหตุที่
บริษัทฯ ไม่สามารถดำเนินกิจการต่อไป พนักงานที่ถูกเลิกจ้างโดยมิได้กระทำ
ผิดตามระเบียบของบริษัทฯ ในหมวดที่ 7 จะได้รับค่าชดเชยตามกฏหมาย
เกษียณอายุ

(1) พนักงานชายและหญิง จะเกษียณอายุจากการเป็นพนักงานของบริษัทฯ
เมื่อมีอายุครบ 55 ปี

(2) การนับอายุตาม (1) ให้ถืออายุครบ ณ วันที่ 30 กันยายนของปี ในกรณีที่
เกิดหลังเดือนกันยายนของปีนั้น ให้มีผลอายุครบในวันที่ 30 กันยายนของ
ปีถัดไป โดยมีสิทธิได้รับค่าชดเชยตามกฎหมาย

(3) การต่ออายุงานเนื่องจากเกษียณอายุ เป็นสิทธิของบริษัทฯ ฝ่ายเดียวที่จะ
พิจารณาต่ออายุงานให้ โดยจะมีระยะเวลาการจ้างแน่นอนไม่เกิน 1 ปี
ตามอัตราค่าจ้างที่จะตกลงเป็นรายๆ ไป

9. ค่าชดเชย บริษัทฯ จะจ่ายเงินชดเชยให้พนักงานกรณีที่ถูกเลิกจ้างโดยไม่มี
ความผิดและกรณีเกษียณอายุตามข้อ 7

(1) พนักงานที่ทำงานติดต่อกันครบ 120 วัน แต่ไม่ถึง 1 ปี จะได้รับค่าชดเชย
ไม่น้อยกว่าอัตราค่าจ้างสุดท้าย 30 วัน

(2) พนักงานที่ทำงานติดต่อกันครบ 1 ปี แต่ไม่ถึง 3 ปี จะได้รับค่าชดเชยไม่น้อย
กว่าอัตราค่าจ้างสุดท้าย 90 วัน

บ ริ ษั ท ไ ท ย ซั ม มิ ท เ ค เ บิ้ ล แ อ น ด์ พ า ร์ ท จำ กั ด
T H A I S U M M I T C A B L E & P A R T S C O . , L T D . 41

ข้อพึงปฏิบัติ และระเบียบวินัย
เกี่ยวกับการ
ทำงาน

9. ค่าชดเชย บริษัทฯ จะจ่ายเงินชดเชยให้พนักงานกรณีที่ถูกเลิกจ้างโดยไม่มี
ความผิดและกรณีเกษียณอายุตามข้อ 7 (ต่อ)

(3) พนักงานที่ทำงานติดต่อกันครบ 3 ปี แต่ไม่ถึง 6 ปี จะได้รับค่าชดเชยไม่น้อย
กว่าอัตราค่าจ้างสุดท้าย 180 วัน

(4) พนักงานที่ทำงานติดต่อกันครบ 6 ปี แต่ไม่ถึง 10 ปี จะได้รับค่าชดเชยไม่น้อย
กว่าอัตราค่าจ้างสุดท้าย 240 วัน
พนักงานที่ทำงานติดต่อกันครบ 10 ปีขึ้นไป จะได้รับค่าชดเชยไม่น้อยกว่าอัตรา

ค่าจ้างสุดท้าย 300 วัน ความในข้อ 7 นับการทำงานติดต่อกันโดยรวมวันหยุด
วันลา และวันที่บริษัทสั่งให้หยุดเพื่อประโยชน์ของบริษัทฯ และความดังกล่าวไม่ใช้
บังคับแก่พนักงานซึ่งมีสัญญาจ้างกำหนดระยะเวลาจ้างไว้แน่นอน และเลิกจ้าง
ตามกำหนดระยะเวลานั้น (พนักงานตามสัญญาจ้าง)

10. ค่าชดเชยพิเศษ หลักการตาม พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541
หมวด 11 ค่าชดเชย มาตราที่ 118- 122 คือ เงินที่บริษัทฯ จ่ายให้แก่พนักงาน
เมื่อสัญญาจ้างสิ้นสุดลง เพราะมีเหตุกรณีพิเศษ 2 เหตุ ได้แก่

ย้ายที่ตั้งบริษัทฯ
(1) ในกรณีที่บริษัทฯ ย้ายสถานประกอบกิจการไปตั้ง ณ สถานที่อื่นอันมี

ผลกระทบสำคัญต่อการดำรงชีวิตตามปกติของพนักงานหรือครอบครัว
บริษัทฯ จะแจ้งให้พนักงานทราบล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 30 วัน ก่อนวันย้าย
สถานประกอบกิจการ โดยให้พนักงานมีสิทธิบอกเลิกสัญญาจ้างได้ โดยมี
สิทธิได้รับค่าชดเชยพิเศษไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ของอัตราค่าชดเชยที่พึง
มีสิทธิได้รับตาม 7 การบอกเลิกสัญญาจ้างตามวรรคนี้ พนักงานจะต้องใช้
สิทธิภายใน 30 วัน นับแต่วันที่บริษัทฯ ย้ายสถานประกอบกิจการ
(2) ในกรณีที่บริษัทฯ ไม่แจ้งให้พนักงานทราบการย้ายสถานประกอบกิจการ
ล่วงหน้าตาม 7 (1) บริษัทฯ จะจ่ายค่าชดเชยพิเศษแทนการบอกล่วงหน้า
เท่ากับค่าจ้างอัตราสุดท้าย 30 วัน หรือเท่ากับค่าจ้างของการทำงาน 30 วัน
สุดท้ายสำหรับพนักงาน ซึ่งได้รับค่าจ้างตามผลงานโดยคำนวณเป็นหน่วย

บ ริ ษั ท ไ ท ย ซั ม มิ ท เ ค เ บิ้ ล แ อ น ด์ พ า ร์ ท จำ กั ด
T H A I S U M M I T C A B L E & P A R T S C O . , L T D . 42

ข้อพึงปฏิบัติ และระเบียบวินัย
เกี่ยวกับก
ารทำงาน

10. ค่าชดเชยพิเศษ หลักการตาม พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2541
หมวด 11 ค่าชดเชย มาตราที่ 118- 122 คือ เงินที่บริษัทฯ จ่ายให้แก่พนักงาน
เมื่อสัญญาจ้างสิ้นสุดลง เพราะมีเหตุกรณีพิเศษ 2 เหตุ (ต่อ)

นำ เ ค รื่ อ ง จัก ร แ ล ะ เ ท ค โ น โ ล ยีม า ใ ช้แ ท น
(1) ในกรณีที่บริษัทฯ เลิกจ้างพนักงานเพราะเหตุที่บริษัทฯ ปรับปรุงหน่วยงาน

กระบวนการผลิต การจำหน่าย หรือการบริการอันเนื่องมาจากการนำ
เครื่องจักรมาใช้หรือเปลี่ยนแปลงเครื่องจักรหรือเทคโนโลยี ซึ่งเป็นเหตุ
ให้ต้องลดจำนวนพนักงาน บริษัทฯ จะแจ้งวันที่เลิกจ้าง เหตุผลของการ
เลิกจ้าง และรายชื่อพนักงานต่อพนักงานตรวจแรงงานและพนักงานที่
ถูกเลิกจ้างได้ทราบล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 60 วัน ก่อนวันที่จะเลิกจ้าง
(2) ในกรณีที่บริษัทฯ ไม่ได้แจ้งให้พนักงานที่จะถูกเลิกจ้างทราบล่วงหน้าน้อย
กว่าระยะเวลา 60 วัน บริษัทฯ จะจ่ายค่าชดเชยพิเศษแทนการบอกล่วงหน้า
เท่ากับอัตราค่าจ้างสุดท้าย 60 วัน หรือเท่ากับค่าจ้างของการทำงาน 60 วัน
สุดท้ายสำหรับพนักงานซึ่งได้รับค่าจ้างตามผลงานโดยคำนวณเป็นหน่วย
(3) ในกรณีที่บริษัทฯ เลิกจ้างพนักงานตาม 7.10.2 และพนักงานนั้นทำงาน
ติดต่อกัน 6 ปีขึ้นไป บริษัทฯ จะจ่ายค่าชดเชยพิเศษเพิ่มขึ้นจากค่าชดเชย
ตาม 7 ไม่น้อยกว่าอัตราค่าจ้างสุดท้าย 15 วันต่อการทำงานครบ 1 ปี หรือ
ไม่น้อยกว่าค่าจ้างของการทำงาน 15 วันสุดท้ายต่อการทำงานครบ 1 ปี
สำหรับพนักงานซึ่งได้รับค่าจ้างตามผลงานโดยคำนวณเป็นหน่วย แต่
ค่าชดเชยตาม 7 (3) นี้ รวมแล้วต้องไม่เกินอัตราค่าจ้างสุดท้าย 360 วัน
หรือไม่เกินค่าจ้างของการทำงานสุดท้าย 360 วัน สำหรับพนักงานซึ่งได้
รับค่าจ้างตามผลงานโดยคำนวณเป็นหน่วย
เพื่อประโยชน์ในการคำนวณค่าชดเชยพิเศษ กรณีระยะเวลาทำงานไม่ครบ
1 ปี ถ้าเศษของระยะเวลาทำงานมากกว่า 180 วัน ให้นับเป็นการทำงานครบ 1 ปี

บ ริ ษั ท ไ ท ย ซั ม มิ ท เ ค เ บิ้ ล แ อ น ด์ พ า ร์ ท จำ กั ด
T H A I S U M M I T C A B L E & P A R T S C O . , L T D . 43

ห ม ว ด ที่ 8



ก า ร ร้ อ ง ทุ ก ข์

บบริรษิัษัทท ไไททยยซัซัมมมิมิทท เเคคเเบิบ้ิล้ ล แแออนนด์ด์ พพาาร์รท์ ท จจำำกักัดด
TTHHAAI I SSUUMMMMI ITT CCAABBLLEE && PPAARRTTSS CCOO. ., L, LTTDD. . 44

การร้องทุกข์

การร้องทุกข์ หมายถึง กรณีที่พนักงานมีความไม่พอใจ หรือมีความทุกข์อันเกิด
ขึ้นเนื่องจากการทำงาน ไม่ว่าจะเป็นเรื่องสภาพการทำงาน สภาพการจ้าง การ
บังคับบัญชา การสั่งหรือมอบหมายงาน การจ่ายค่าตอบแทนในการทำงาน หรือ
ประโยชน์อื่น หรือการปฏิบัติใดที่ไม่เหมาะสม ระหว่างบริษัทฯ หรือผู้บังคับบัญชา
ต่อพนักงาน หรือระหว่างพนักงานด้วยกัน และพนักงานได้เสนอความไม่พอใจ
หรือความทุกข์นั้นต่อบริษัทฯ ได้ดำเนินการแก้ไข หรือยุติเหตุการณ์นั้น ทั้งนี้
เพื่อให้เกิดความสัมพันธ์อันดีระหว่างบริษัทฯ และพนักงาน
(1) วิธีการและขั้นตอน

พนักงานที่มีความไม่พอใจ หรือมีความทุกข์ เนื่องจากการทำงานข้างต้น
ควรยื่นคำร้องทุกข์ต่อผู้บังคับบัญชาโดยตรง หรือผู้บังคับบัญชาชั้นแรก
ของตนโดยเร็ว เว้นแต่เรื่องที่จะร้องทุกข์นั้นเกี่ยวกับการปฏิบัติของผู้บังคับ
บัญชาดังกล่าว หรือผู้บังคับบัญชาดังกล่าวเป็นต้นเหตุก็ให้ยื่นคำร้องทุกข์ต่อ
ผู้บังคับบัญชาระดับสูงขั้นไปอีกขั้นหนึ่ง หรือยื่นเรื่องได้ที่หน่วยงานบริษัทฯ
ที่ รับ ผิ ด ช อ บ เ รื่ อ ง นั้น ๆ
(2) การสอบสวนและการพิจารณา
ก. เมื่อผู้บังคับบัญชาได้รับคำร้องทุกข์จากพนักงานแล้ว ให้รีบดำเนินการ
สอบสวน เพื่อให้ทราบข้อเท็จจริงในเรื่องที่ร้องทุกข์นั้นโดยละเอียดเท่าที่จะ
ทำได้ โดยดำเนินการด้วยตนเองหรือด้วยความช่วยเหลือจากบริษัทฯ ทั้งนี้
ผู้ ยื่ น คำ ร้อ ง ทุก ข์ช อ บ ที่ จ ะ ใ ห้ ข้อ เ ท็ จ จ ริง โ ด ย ล ะ เ อี ย ด แ ก่ ผู้ บัง คั บ บัญ ช า ด้ ว ย
ข. เมื่อสอบสวนข้อเท็จจริงแล้ว ให้ผู้บังคับบัญชาพิจารณาเรื่องราวร้องทุกข์
หากเป็นเรื่องที่อยู่ในขอบเขตของอำนาจหน้าที่ของผู้บังคับบัญชานั้น และ
ผู้บังคับบัญชานั้นสามารถแก้ไขได้ ก็ให้ผู้บังคับบัญชาดำเนินการแก้ไขให้
เสร็จสิ้นโดยเร็ว แล้วแจ้งให้พนักงานผู้ยื่นคำร้องทุกข์ทราบพร้อมทั้งรายงาน
ให้บริษัทฯ ทราบด้วย
ค. หากเรื่องราวที่ร้องทุกข์นั้น เป็นเรื่องที่อยู่นอกเหนืออำนาจหน้าที่ของ
ผู้บังคับบัญชานั้น ให้ผู้บังคับบัญชาระดับสูงขึ้นไปตามลำดับเป็นผู้ดำเนินการ
สอบสวน และพิจารณาคำร้องทุกข์ โดยผู้บังคับบัญชาแต่ละชั้นต้องดำเนิน
การเกี่ยวกับคำร้องทุกข์โดยเร็วอย่างช้าไม่เกิน 7 วัน

บบริรษิัษัทท ไไททยยซัซัมมมิมิทท เเคคเเบิบ้ิล้ ล แแออนนด์ด์ พพาาร์รท์ ท จจำำกักัดด
TTHHAAI I SSUUMMMMI ITT CCAABBLLEE && PPAARRTTSS CCOO. ., L, LTTDD. . 45

การร้องทุกข์

(3) กระบวนการยุติข้อตกลง
ก. เมื่อผู้บังคับบัญชาแต่ละชั้นได้พิจารณาคำร้องทุกข์ ดำเนินการแก้ไขหรือ
ยุติเหตุการณ์ที่เกิดการร้องทุกข์ และได้แจ้งให้พนักงานผู้ยื่นคำร้องทุกข์ทราบ
หากพนักงานผู้ยื่นคำร้องทุกข์พอใจ ก็ให้แจ้งผู้บังคับบัญชาโดยเร็ว แต่หาก
ผู้ยื่นคำร้องทุกข์ไม่พอใจก็ให้ยื่นอุทธรณ์ลงในแบบฟอร์มของบริษัทฯ และยื่น
ต่อผู้บังคับบัญชาสูงสุดภายใน 7 วัน นับแต่วันที่ทราบผลการร้องทุกข์จาก
ผู้บังคับบัญชาระดับต้น
ข. ผู้บังคับบัญชาสูงสุดจะพิจารณาอุทธรณ์ และดำเนินการแก้ไขหรือยุติ
เหตุการณ์ตามคำร้องทุกข์ และแจ้งผลการพิจารณาดำเนินการให้พนักงาน
ผู้ยื่นคำร้องทุกข์ทราบภายใน 15 วัน
ค. หากพนักงานผู้ยื่นคำร้องทุกข์ยังไม่พอใจผลการพิจารณาอุทธรณ์ของ
ผู้บังคับบัญชาสูงสุด ย่อมมีสิทธิ์ดำเนินการในทางอื่นอันชอบด้วยกฎหมาย
ต่อไปได้ หรืออาจเสนอต่อบริษัทฯ เพื่อร่วมกันตั้งผู้ชี้ขาดขึ้นเพื่อวินิจฉัย ชี้ขาด
ปัญหาอันเกิดจากคำร้องทุกข์นั้นต่อไปได้

(4) ความคุ้มครองผู้ร้องทุกข์ และผู้ที่เกี่ยวข้อง
เนื่องจากการร้องทุกข์ที่กระทำไปโดยสุจริต ย่อมก่อให้เกิดประโยชน์แก่ทั้งบริษัทฯ

และพนักงานเป็นส่วนรวม ดังนั้นพนักงานผู้ยื่นคำร้องทุกข์ พนักงานให้ถ้อยคำให้
ข้อมูล ให้ข้อเท็จจริง หรือให้พยานหลักฐานใดเกี่ยวกับการร้องทุกข์ และพนักงานที่
เป็นผู้พิจารณาคำร้องทุกข์เมื่อได้กระทำไปโดยสุจริตใจ แม้จะเป็นเหตุให้เกิดข้อยุ่งยาก
ประการใดแก่บริษัทฯ ย่อมได้รับการประกันจากนายจ้างว่าจะไม่เป็นเหตุ หรือถือเป็น
เหตุเลิกจ้าง ลงโทษ หรือดำเนินการใดที่เกิดผลร้ายต่อพนักงานดังกล่าว
(5) คำร้องทุกข์ที่มีลักษณะเป็นบัตรสนเท่ห์ หรือกรอกข้อความไม่ครบถ้วน หรือไม่
ลงชื่อ-นามสกุล บริษัทฯ จะไม่พิจารณาคำร้องทุกข์นั้นๆ

บบริรษิัษัทท ไไททยยซัซัมมมิมิทท เเคคเเบิบ้ิล้ ล แแออนนด์ด์ พพาาร์รท์ ท จจำำกักัดด
TTHHAAI I SSUUMMMMI ITT CCAABBLLEE && PPAARRTTSS CCOO. ., L, LTTDD. . 46

บ ริ ษั ท ไ ท ย ซั ม มิ ท เ ค เ บิ้ ล แ อ น ด์ พ า ร์ ท จำ กั ด
THAI SUMMIT CABLE & PARTS CO.,LTD.


Click to View FlipBook Version