The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หน่วย 7 การสืบค้นสารสนเทศ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Library Office, 2023-09-22 05:07:04

หน่วย 7 การสืบค้นสารสนเทศ

หน่วย 7 การสืบค้นสารสนเทศ

หัวข้อที่ 3 เทคนิคที่ควรรู้ในการค้นหาข้อมูล IT1001 07_03_51 เทคนิค 11 ประการที่ควรรู้ในการค้นหาข้อมูล 10. หลีก เลี่ยงภาษาพูด หลีกเลี่ยงค าประเภท Natural Languageหรือเรียกง่ายๆ ว่า ค าหรือข้อความที่เป็นภาษาพูด หรือเป็นประโยค คุณควรสรุปเป็นเพียงกลุ่มค าหรือวลี ที่มี ความหมายรวมทั้งหมดไว้Advanced Search อย่าลืมที่จะใช้Advanced Search เพราะจะมี ส่วนช่วยคุณได้มาก ในการบีบประเด็นหัวข้อ ให้แคบลง ซึ่งจะท าให้คุณได้รายชื่อเว็บไซต์ ที่ตรงกับ ความต้องการของคุณมากขึ้น


หัวข้อที่ 3 เทคนิคที่ควรรู้ในการค้นหาข้อมูล IT1001 07_03_52 เทคนิค 11 ประการที่ควรรู้ในการค้นหาข้อมูล 11. อย่าละเลย Help ซึ่งในแต่ละเว็บ จะมีปุ่ม help หรือ Site map ไว้คอย ช่วยเหลือคุณ แต่คนส่วนใหญ่มักจะมองข้าม ซึ่ง help/site map จะมีประโยชน์มากใน การอธิบาย option หรือการใช้งาน/แผนผังปลีกย่อยของแต่ละเว็บไซต์


หัวข้อที่ 4 เครื่องมือสืบค้นสารสนเทศ IT1001 07_04_53 ในการศึกษาเรื่องเครื่องมือสืบค้นสารสนเทศในบทนี้จะน าเสนอและแนะน า เครื่องมือจ านวน 3 ประเภท ได้แก่ • OPAC • Internet • Database เครื่องมือสืบค้นสารสนเทศ


หัวข้อที่ 4 เครื่องมือสืบค้นสารสนเทศ IT1001 07_04_54 เครื่องมือสืบค้นสารสนเทศ การสืบค้นสารสนเทศ ความหมาย เครื่องมือการสืบค้น สารสนเทศ ประเภท OPAC Internet Database ความหมาย


หัวข้อที่ 4 เครื่องมือสืบค้นสารสนเทศ IT1001 07_04_55 เครื่องมือสืบค้นสารสนเทศ OPAC (Online Public Access Catalog) คือ ระบบสืบค้นทรัพยากรสารสนเทศของห้องสมุดโดยใช้ คอมพิวเตอร์ ส าหรับ OPAC ของส านักหอสมุดกลางนี้ สามารถสืบค้น ทรัพยากรสารสนเทศครอบคลุมห้องสมุดรวม 3 สาขา จะเรียกระบบสืบค้น นี้ว่า IPAC (Internet Public Access Catalog) ซึ่งต่างจาก OPAC ตรงที่ สามารถเชื่อมโยงสู่อินเทอร์เน็ตได้จากหน้าจอที่สืบค้น


หัวข้อที่ 4 เครื่องมือสืบค้นสารสนเทศ IT1001 07_04_56 เครื่องมือสืบค้นสารสนเทศ OPAC (Online Public Access Catalog) ฐานข้อมูลส าหรับการสืบค้นทรัพยากรสารนิเทศห้องสมุด เป็นฐานข้อมูล บรรณานุกรม ที่ผู้ใช้สามารถสืบค้นออนไลน์ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ( Internet) ได้อย่างสะดวก รวดเร็ว ซึ่งวิธีสืบค้นท าได้ง่าย และมีหลายช่องทาง ให้เลือก ได้แก่ ชื่อผู้แต่ง ชื่อเรื่อง หัวเรื่อง ค าส าคัญ เลขเรียกหนังสือ


หัวข้อที่ 4 เครื่องมือสืบค้นสารสนเทศ IT1001 07_04_57 เครื่องมือสืบค้นสารสนเทศ ประโยชน์ OPAC (Online Public Access Catalog) 1.ให้ทราบว่าห้องสมุดมีทรัพยากรสารนิเทศที่ต้องการหรือไม่ 2.ทราบเลขเรียกหนังสือ หรือ Call No. แหล่งจัดเก็บที่ห้องสมุดจะได้ค้นหาตัวเล่มหนังสือ ภายในห้องสมุดได้ง่าย 3.ทราบสถานภาพของหนังสือก่อนที่จะเข้ามาใช้บริการว่าอยู่บนชั้น หรือ มีผู้ใช้บริการอื่นยืม ออกไปจากห้องสมุดหรือไม่ 4.ใช้บริการอัตโนมัติต่าง ๆ เพิ่มเติม เช่น บริการ E-Service การจองหนังสือออนไลน์


หัวข้อที่ 4 เครื่องมือสืบค้นสารสนเทศ IT1001 07_04_58 เครื่องมือสืบค้นสารสนเทศ OPAC มี3 ลักษณะ ได้แก่ 1. การสืบค้นแบบทั่วไป 2. การสืบค้นแบบง่าย (Basic Search) 3. การสืบค้นแบบขั้นสูง (Advance Search)


หัวข้อที่ 4 เครื่องมือสืบค้นสารสนเทศ IT1001 07_04_59 เครื่องมือสืบค้นสารสนเทศ OPAC มี3 ลักษณะ ได้แก่ 1. การสืบค้นแบบทั่วไป (Browse Search) เป็นการสืบค้นข้อมูลทรัพยากรสารสนเทศทั่ว ๆ ไป ซึ่งจัดกลุ่มตามหมวดหมู่เลขเรียกหนังสือ (Call Number) ปี(Year) รูปแบบทรัพยากรสารสนเทศ (Format) หัวเรื่อง (Topic) เป็นต้น


หัวข้อที่ 4 เครื่องมือสืบค้นสารสนเทศ IT1001 07_04_60 เครื่องมือสืบค้นสารสนเทศ OPAC มี3 ลักษณะ ได้แก่ 2. การสืบค้นแบบง่าย (Basic Search) การสืบค้นทรัพยากรสารสนเทศแบบง่าย สามารถสืบค้นได้เพียง 1 เขตข้อมูล เช่น ค้นด้วยเขตข้อมูลชื่อ เรื่อง (Title) เขตข้อมูลผู้แต่ง (Author) และเขตข้อมูลหัวเรื่อง (Subject) เป็นต้น โดยก าหนดค าค้นลง ในช่องสืบค้นและเลือกเขตข้อมูลที่เหมาะสมในการค้นหา


หัวข้อที่ 4 เครื่องมือสืบค้นสารสนเทศ IT1001 07_04_61 เครื่องมือสืบค้นสารสนเทศ OPAC มี3 ลักษณะ ได้แก่ 3. การสืบค้นแบบขั้นสูง (Advance Search) การสืบค้นทรัพยากรสารสนเทศแบบขั้นสูง สามารถใช้สืบค้นทรัพยากรสารสนเทศได้ครั้งละ หลายเขตข้อมูล หมายความว่าสามารถใช้ค าค้นได้มากกว่า 1 ค า หรือต้องการระบุการค้นที่มีความ เฉพาะเจาะจง เช่น – ใช้ค าค้นได้มากกว่า 1 ค า – ใช้เขตข้อมูลสืบค้นได้ครั้งละหลายเขตข้อมูล เช่น ใช้เขตข้อมูลชื่อเรื่องและชื่อผู้แต่งในการค้นหา ทรัพยากรสารสนเทศ – ใช้เพื่อจ ากัดการสืบค้นข้อมูล เช่น จ ากัดการสืบค้นด้วย เลขเรียกหนังสือ รูปแบบทรัพยากร สารสนเทศ ปี และหัวเรื่อง หรือเลือกช่วงเวลาการสืบค้น เช่น ปี 2019-2020 เป็นต้น


หัวข้อที่ 4 เครื่องมือสืบค้นสารสนเทศ IT1001 07_04_62 เครื่องมือสืบค้นสารสนเทศ 1 = Catalog Search คือ เมนูส าหรับสืบค้นทรัพยากรสารสนเทศประเภทต่างๆ 2 = Journal Search คือ เมนูส าหรับสืบค้นบทความวารสารภาษาไทย 3 = Borrower Information คือ เมนูส าหรับตรวจสอบข้อมูลส่วนตัว


หัวข้อที่ 4 เครื่องมือสืบค้นสารสนเทศ IT1001 07_04_63 เครื่องมือสืบค้นสารสนเทศ 1 = เมนู Keyword ส าหรับการสืบค้นข้อมูลด้วยค าส าคัญ 2 = เมนู Alphabetical ส าหรับการสืบค้นข้อมูลด้วยค าตามล าดับอักษร 3 = เมนู Boolean ส าหรับการสืบค้นข้อมูลด้วยค าส าคัญและการเชื่อมค า 4 = เมนู History ส าหรับการดูประวัติการสืบค้นข้อมูล 5 = เมนู Reserved Book ส าหรับสืบค้นหนังสือส ารอง


หัวข้อที่ 4 เครื่องมือสืบค้นสารสนเทศ IT1001 07_04_64 การสืบค้นสารสนเทศ ปัจจุบันมีข้อมูลจ านวนมากเผยแพร่อยู่ในอินเทอร์เน็ต มีทั้งข้อมูลเชิงสารคดีและบันเทิง คดี เช่น การรายงานข่าวประจ าวัน ข้อมูลอันดับหนัง อันดับเพลงฮิต สถานที่ท่องเที่ยวที่น่าสนใจ วารสารอิเล็กทรอนิกส์ที่ให้บริการบนเว็บ การประกาศโฆษณาขายของบนอินเทอร์เน็ต ซึ่งมีการ คาดการณ์กันว่ามีจ านวนเว็บไซต์เกิดใหม่ในแต่ละวันมีจ านวนเป็นล้านเว็บไซต์ต่อวัน การค้นหา ข้อมูลที่ต้องการบนอินเทอร์เน็ต จึงเป็นเรื่องที่ค่อนข้างยุ่งยาก ดังนั้น ผู้ใช้งานอินเทอร์เน็ตจึงควรมีความรู้เกี่ยวกับเทคนิคการค้นหาข้อมูลบนอินเทอร์เน็ต อย่างคร่าวๆ โดยใช้บริการจากเว็บไซต์ที่ให้บริการเครื่องมือช่วยค้นหาข้อมูลบนอินเทอร์เน็ต


หัวข้อที่ 4 เครื่องมือสืบค้นสารสนเทศ IT1001 07_04_65 การสืบค้นสารสนเทศ ปัจจุบันมีข้อมูลจ านวนมากเผยแพร่อยู่ในอินเทอร์เน็ต มีทั้งข้อมูลเชิงสารคดีและบันเทิง คดี เช่น การรายงานข่าวประจ าวัน ข้อมูลอันดับหนัง อันดับเพลงฮิต สถานที่ท่องเที่ยวที่น่าสนใจ วารสารอิเล็กทรอนิกส์ที่ให้บริการบนเว็บ การประกาศโฆษณาขายของบนอินเทอร์เน็ต ซึ่งมีการ คาดการณ์กันว่ามีจ านวนเว็บไซต์เกิดใหม่ในแต่ละวันมีจ านวนเป็นล้านเว็บไซต์ต่อวัน การค้นหา ข้อมูลที่ต้องการบนอินเทอร์เน็ต จึงเป็นเรื่องที่ค่อนข้างยุ่งยาก ดังนั้น ผู้ใช้งานอินเทอร์เน็ตจึงควรมีความรู้เกี่ยวกับเทคนิคการค้นหาข้อมูลบนอินเทอร์เน็ต อย่างคร่าวๆ โดยใช้บริการจากเว็บไซต์ที่ให้บริการเครื่องมือช่วยค้นหาข้อมูลบนอินเทอร์เน็ต


หัวข้อที่ 4 เครื่องมือสืบค้นสารสนเทศ IT1001 07_04_66 การสืบค้นสารสนเทศ ปัจจุบันมีข้อมูลจ านวนมากเผยแพร่อยู่ในอินเทอร์เน็ต มีทั้งข้อมูลเชิงสารคดีและบันเทิง คดี เช่น การรายงานข่าวประจ าวัน ข้อมูลอันดับหนัง อันดับเพลงฮิต สถานที่ท่องเที่ยวที่น่าสนใจ วารสารอิเล็กทรอนิกส์ที่ให้บริการบนเว็บ การประกาศโฆษณาขายของบนอินเทอร์เน็ต ซึ่งมีการ คาดการณ์กันว่ามีจ านวนเว็บไซต์เกิดใหม่ในแต่ละวันมีจ านวนเป็นล้านเว็บไซต์ต่อวัน การค้นหา ข้อมูลที่ต้องการบนอินเทอร์เน็ต จึงเป็นเรื่องที่ค่อนข้างยุ่งยาก ดังนั้น ผู้ใช้งานอินเทอร์เน็ตจึงควรมีความรู้เกี่ยวกับเทคนิคการค้นหาข้อมูลบนอินเทอร์เน็ต อย่างคร่าวๆ โดยใช้บริการจากเว็บไซต์ที่ให้บริการเครื่องมือช่วยค้นหาข้อมูลบนอินเทอร์เน็ต


หัวข้อที่ 4 เครื่องมือสืบค้นสารสนเทศ IT1001 07_04_67 การสืบค้นสารสนเทศ ในโลกไซเบอร์สเปซมีข้อมูลมากมายมหาศาล การที่จะค้นหาข้อมูลจ านวน มากมายอย่างนี้เราไม่อาจจะคลิกเพื่อค้นหาข้อมูลพบได้ง่ายๆ จ าเป็นจะต้องอาศัยการ ค้นหาข้อมูลด้วยเครื่องมือค้นหาที่เรียกว่า Search Engine เข้ามาช่วยเพื่อความสะดวก และรวดเร็ว เว็บไซต์ที่ให้บริการค้นหาข้อมูลมีมากมายหลายที่ทั้งของคนไทย


หัวข้อที่ 4 เครื่องมือสืบค้นสารสนเทศ IT1001 07_04_68 การสืบค้นสารสนเทศ ถ้าเราเปิดไปทีละหน้าจออาจจะต้องเสียเวลาในการค้นหา และอาจหา ข้อมูลที่เราต้องการไม่พบ การที่เราจะค้นหาข้อมูลให้พบอย่างรวดเร็วจึงต้อง พึ่งพา Search Engine Site ซึ่งจะท าหน้าที่รวบรวมรายชื่อเว็บไซต์ต่างๆ เอาไว้ โดยจัดแยกเป็นหมวดหมู่ ผู้ใช้งานเพียงแต่ทราบหัวข้อที่ต้องการค้นหาแล้วป้อน ค า หรือข้อความของหัวข้อนั้นๆ ลงไปในช่องที่ก าหนด คลิกปุ่มค้นหา เท่านั้น รอสักครู่ ข้อมูลอย่างย่อๆ และรายชื่อเว็บไซต์ที่เกี่ยวข้องจะปรากฏให้เราเข้าไปศึกษาเพิ่มเติม ได้ทันที


หัวข้อที่ 5 ประเภทของSearch EngineและSEO IT1001 07_05_69 เครื่องมือช่วยค้นหาข้อมูลบนอินเทอร์เน็ตมี 5 ประเภทใหญ่ๆ 1. Free text Search Engines 2. Directory Search Engines 3. Meta Search Engines 4. Natural-language Search Engines 5. Resource or Site-specific Search Engines Search Engine


หัวข้อที่ 5 ประเภทของSearch EngineและSEO IT1001 07_05_70 Search Engine 1. Free text Search Engines เป็น Search Engines ที่สามารถค้นได้โดยใช้ค าค้นเพียงค าเดียวหรือ หลายๆ ค า หรือค้นด้วยวลีได้ เช่น •ชื่อบริษัท ชื่อบุคคล ชื่อนักร้อง •วรรคตอนที่ยกมาจากบทกลอน •ชื่ออาหาร ผลไม้ ชื่อเทศกาล หรือค าภาษาต่างประเทศ เหมาะกับการค้นหา สารสนเทศเฉพาะเรื่องมากกว่าการค้นหาเรื่องทั่ว ๆ ไป ที่ผู้ค้นยังไม่คุ้นเคยกับ ประเด็นเรื่อง (ไม่รู้ว่าค าใด จะท าให้ค้นแล้วได้เรื่องที่ตรงความต้องการ)


หัวข้อที่ 5 ประเภทของSearch EngineและSEO IT1001 07_05_71 Search Engine 1. Free text Search Engines คุณภาพของผลการค้น •ขึ้นอยู่กับความสามารถของผู้ค้นในการก าหนดค าค้นเป็นส าคัญ (ต้องใช้ค าค้นที่ถูกต้อง) •ให้ผลการค้นที่ดีหากผู้ค้นมีความคุ้นเคยกับเนื้อหาของเรื่องที่ค้น •ผู้ค้นทราบแน่ชัดว่าต้องการสารสนเทศเรื่องใด •การค้นที่ใช้ศัพท์เฉพาะ เช่น ต้องการค้นหาเรื่องเกี่ยวกับระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่ใช้ สายไฟฟ้า ผู้ค้นจ าเป็นต้องก าหนดค าค้นที่ถูกต้อง ต้องใช้ศัพท์เฉพาะจึงจะได้ผลการค้นที่ ตรงกับความต้องการ


หัวข้อที่ 5 ประเภทของSearch EngineและSEO IT1001 07_05_72 Search Engine 2 . Directory Search Engines จัดท าโดยมนุษย์ โดยน าข้อมูลที่ปรากฏใน Web ต่างๆ มาจัดเป็นหมวดหมู่ เป็นเรื่องๆ ภายใต้แต่ละเรื่อง จะ ท าการแบ่งเป็นเรื่องย่อยๆ ตามล าดับจากเรื่องทั่วไป ไปสู่เรื่องที่มีความเฉพาะเจาะจงมาก ขึ้น โครงสร้างของการจัดหมวดหมู่จะถูกเตรียมไว้ก่อน จากนั้นจึงน าเว็บไซต์ต่างๆ ที่รวบรวม มาไปจัดเก็บตามหมวดหมู่ที่จัดท าไว้


หัวข้อที่ 5 ประเภทของSearch EngineและSEO IT1001 07_05_73 Search Engine 2 . Directory Search Engines ข้อดีของ Directory คือ •การแบ่งหมวดหมู่ที่ชัดเจน ช่วยน าทางในการเข้าถึงข้อมูล •จากประเด็นกว้างๆ ที่ยังไม่ชัดเจน ไปสู่ประเด็นเรื่องที่ชัดเจน •ผู้ใช้จะเริ่มคาดเดาได้ว่า เรื่องที่ต้องการจะจัดเก็บไว้ภายใต้หมวดหมู่ย่อยใด •ในการค้นผู้ใช้ไม่จ าเป็นต้องมีความรู้ในเรื่องที่ค้น •ไม่จ าเป็นต้องรู้ค าศัพท์เฉพาะมาก่อน


หัวข้อที่ 5 ประเภทของSearch EngineและSEO IT1001 07_05_74 Search Engine ปัญหาในการจัดท าหมวดหมู่ • ความรู้ของผู้จัดท า และผู้ใช้ • ทัศนคติของผู้จัดท า และผู้ใช้ • การก าหนดโครงสร้างความสัมพันธ์ของหมวดหมู่ไม่ชัดเจน ไม่สมเหตุสมผล • โครงสร้างหมวดใหญ่ หมวดย่อยมีความซ้ าซ้อน หรือคาบเกี่ยวกัน • เรื่องเดียวกันแต่อยู่ได้หลายที่หลายระดับ อาจสร้างความสับสนให้กับผู้ค้นได้


หัวข้อที่ 5 ประเภทของSearch EngineและSEO IT1001 07_05_75 Search Engine 3. Meta Search Engines •Search Engines ประเภทนี้ อาจจัดได้ว่าไม่ใช่ Search Engines ที่แท้จริง •เนื่องจากไม่ได้ท าการสืบค้นข้อมูลเอง •แต่จะส่งต่อค าถามจากผู้ใช้ (query) ไปให้ Search Engines ตัวอื่น •ผลการค้นที่ได้จึงแสดงที่มา (ชื่อของ Search Engines) ที่เป็นเจ้าของข้อมูลไว้ต่อท้าย รายการที่ค้นได้แต่ละรายการ


หัวข้อที่ 5 ประเภทของSearch EngineและSEO IT1001 07_05_76 Search Engine 3. Meta Search Engines ข้อดีของ Search Engines ประเภทนี้คือ •สามารถค้นเรื่องที่ต้องการได้จากแหล่งเดียว ไม่ต้องเสียเวลาไปค้นจากหลายที่ •โดย Search Engines จะตัดข้อมูลที่มีความซ้ าซ้อนกันออกไป •เหมาะที่จะใช้ในกรณีที่ต้องการรวบรวมข้อมูลที่ต้องการให้ครอบคลุมมากที่สุด •เนื่องจาก Search Engines เพียงตัวเดียวอาจรวบรวมข้อมูลได้ไม่ครอบคลุมทั้งหมด •หรือ Search Engines อาจไม่ได้ท าดรรชนีให้ •และที่ส าคัญช่วยประหยัดเวลาในการค้นให้กับผู้ใช้


หัวข้อที่ 5 ประเภทของSearch EngineและSEO IT1001 07_05_77 Search Engine 3. Meta Search Engines ข้อด้อยที่ต้องค านึงถึง •ค าค้นที่ Search Engines แต่ละตัวใช้มีโครงสร้างประโยค (Syntax) ของตนเองซึ่งแตกต่าง กันไป •แต่ผู้ใช้จะใส่ค าค้นที่ Multi Search Engines เพียงค าค้นเดียว (Query) •ในกรณีที่ค าค้น มีการสร้างสูตรการค้นที่ซับซ้อน หรือใช้ภาษาอื่นๆ ที่ไม่ใช่ภาษาอังกฤษ อาจ ให้ผลการค้นไม่เที่ยงตรงได้ เนื่องจากไม่เข้าใจค าสั่งที่แท้จริง


หัวข้อที่ 5 ประเภทของSearch EngineและSEO IT1001 07_05_78 Search Engine 3. Meta Search Engines ตัวอย่าง Meta Search Engines Dogpile (http://www.dogpile.com) Metacrawler (http://www.metacrawler.com) ProFusion (http://www.profusion.com) Search (http://www.search.com) SurfWax (http://www.surfwax.com) Ixquick (http://www.ixquick.com)


หัวข้อที่ 5 ประเภทของSearch EngineและSEO IT1001 07_05_79 Search Engine 4. Natural language Search Engines เป็นพัฒนาการใหม่ของ Search Engines โดยนอกจากจะค้นตาม ค าค้นที่ผู้ใช้พิมพ์เข้ามาแล้ว จะน าค าค้นของผู้ใช้ไปเปรียบเทียบกับค าศัพท์ อื่นๆ ที่มีลักษณะใกล้เคียงกันหรือมีความเกี่ยวข้องกัน เช่น


หัวข้อที่ 5 ประเภทของSearch EngineและSEO IT1001 07_05_80 Search Engine 4. Natural language Search Engines ค้นด้วยค าว่า "tax revenue" Search Engines จะดึงข้อมูลจากประเด็นที่คิดว่าเกี่ยวข้องออกมาด้วย เช่น Financial, Business and Economic เว็บไซต์ที่เป็นที่นิยมคือ Ask Jeeves (http://www.aj.com) หรือ http://www.ask.co.uk Search Engines ประเภทนี้จะมีประโยชน์อย่างมาก เมื่อผู้ใช้ไม่ทราบว่าจะใช้ค าศัพท์ค าใดในการค้นหาสารสนเทศที่ต้องการ เช่น ต้องการค้นหาข้อมูล เกี่ยวกับก๊าซที่สามารถละลายในน้ า


หัวข้อที่ 5 ประเภทของSearch EngineและSEO IT1001 07_05_81 Search Engine 4. Natural language Search Engines ตัวอย่าง Search Engines Ask Jeeves (http://www.aj.com) Ask Jeeves UK (http://www.ask.co.uk/) Albert (http://www.albert.com/demo.php


หัวข้อที่ 5 ประเภทของSearch EngineและSEO IT1001 07_05_82 Search Engine 5.Resource Search Engines เป็นกลุ่มของ Search Engines ที่มีจ านวนมากที่สุด จัดท าขึ้นเพื่อ ใช้ค้นหาข้อมูลในเรื่องใดเรื่องหนึ่งโดยเฉพาะ เน้นการรวบรวมทั้งในระดับ กว้างและลึกของสาขาวิชาที่รับผิดชอบ ข้อมูลที่จัดเก็บมักไม่มีใน Search Engines ทั่วๆ ไป


หัวข้อที่ 5 ประเภทของSearch EngineและSEO IT1001 07_05_83 Search Engine Search Engine แต่ละแห่งมีวิธีการและการจัดเก็บฐานข้อมูลที่แตกต่างกันไป ตามประเภทของ Search Engine ที่แต่ละเว็บไซต์น ามาใช้เก็บรวบรวมข้อมูล ดังนั้น การที่คุณจะเข้าไปหาข้อมูลหรือเว็บไซต์ โดยวิธีการ Search นั้น อย่างน้อยคุณจะต้อง ทราบว่า เว็บไซต์ที่คุณเข้าไปใช้บริการ ใช้วิธีการหรือ ประเภทของ Search Engine อะไร เนื่องจากแต่ละประเภทมีความละเอียดในการจัดเก็บข้อมูลต่างกันไป ที่นี้ เราลองมาดูซิว่า Search Engine ประเภทใดที่เหมาะกับการค้นหาข้อมูลของคุณ


หัวข้อที่ 5 ประเภทของSearch EngineและSEO IT1001 07_05_84 Search Engine 1. Keyword Index เป็นการค้นหาข้อมูล โดยการค้นจากข้อความในเว็บเพ็จที่ ได้ผ่านการส ารวจมาแล้ว จะอ่านข้อความ ข้อมูล อย่างน้อยๆ ก็ประมาณ 200- 300 ตัวอักษรแรกของเว็บเพ็จนั้นๆ โดยการอ่านนี้จะหมายรวมไปถึงอ่านข้อความที่อยู่ใน โครงสร้างภาษา HTML ซึ่งอยู่ในรูปแบบของข้อความที่อยู่ในค าสั่ง alt ซึ่งเป็นค าสั่ง ภายใน TAG ค าสั่งของรูปภาพ แต่จะไม่น าค าสั่งของ TAG อื่นๆ ในภาษา HTML และ ค าสั่งในภาษา JAVA มาใช้ในการค้นหา


หัวข้อที่ 5 ประเภทของSearch EngineและSEO IT1001 07_05_85 Search Engine วิธีการค้นหาของ SearchEngine ประเภทนี้จะให้ความส าคัญกับการ เรียงล าดับข้อมูลก่อน-หลัง และความถี่ในการน าเสนอข้อมูลนั้น การค้นหาข้อมูล โดย วิธีการเช่นนี้จะมีความรวดเร็วมาก แต่มีความละเอียดในการจัดแยกหมวดหมู่ของ ข้อมูลค่อนข้างน้อย เนื่องจากไม่ได้ค านึงถึงรายละเอียดของเนื้อหาเท่าที่ควร แต่หากว่า คุณต้องการแนวทางด้านกว้างของข้อมูล และความรวดเร็วในการค้นหา วิธีการนี้ก็ใช้ ได้ผลดี


หัวข้อที่ 5 ประเภทของSearch EngineและSEO IT1001 07_05_86 Search Engine 2. Subject Directories การจ าแนกหมวดหมู่ข้อมูล Search Engine ประเภท นี้ จะจัดแบ่งโดยการวิเคราะห์เนื้อหา รายละเอียด ของแต่ละเว็บเพ็จ ว่ามีเนื้อหาเกี่ยวกับ อะไร โดยการจัดแบ่งแบบนี้จะใช้แรงงานคนในการพิจารณาเว็บเพ็จ ซึ่งท าให้การจัด หมวดหมู่ขึ้นอยู่กับวิจารณญาณของคนจัดหมวดหมู่แต่ละคนว่าจะจัดเก็บข้อมูลนั้นๆ อยู่ ในเครือข่ายข้อมูลอะไร


หัวข้อที่ 5 ประเภทของSearch EngineและSEO IT1001 07_05_87 Search Engine ดังนั้นฐานข้อมูลของ Search Engine ประเภทนี้จะถูกจัดแบ่งตามเนื้อหาก่อน แล้วจึงน ามาเป็นฐานข้อมูลในการค้นหาต่อไป การค้นหาค่อนข้างจะตรงกับความ ต้องการของผู้ใช้ และมีความถูกต้องในการค้นหาสูง เป็นต้นว่า หากเราต้องการหา ข้อมูลเกี่ยวกับเว็บไซต์ หรือเว็บเพ็จที่น าเสนอข้อมูลเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์Search Engine ก็จะประมวลผลรายชื่อเว็บไซต์ หรือเว็บเพ็จที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ล้วนๆ มาให้ คุณ


หัวข้อที่ 5 ประเภทของSearch EngineและSEO IT1001 07_05_88 Search Engine 3. Meta Search Engines จุดเด่นของการค้นหาด้วยวิธีการนี้ คือ สามารถ เชื่อมโยงไปยัง Search Engine ประเภทอื่นๆ และยังมีความหลากหลายของข้อมูล แต่ การค้นหาด้วยวิธีนี้มีจุดด้อย คือ วิธีการนี้จะไม่ให้ความส าคัญกับขนาดเล็กใหญ่ของ ตัวอักษร และมักจะผ่านเลยค าประเภท Natural Language(ภาษาพูด) ดังนั้น หากคุณ จะใช้Search Engine แบบนี้ละก็ ขอให้ตระหนักถึงข้อบกพร่องเหล่านี้ด้วย


หัวข้อที่ 5 ประเภทของSearch EngineและSEO IT1001 07_05_89 VDO


หัวข้อที่ 5 ประเภทของSearch EngineและSEO IT1001 07_05_90 VDO


ค าถามท้ายบท IT1001 07_99_91 1. การสืบค้นบน Google มีขั้นตอนรายละเอียดอย่างไร จงอธิบาย 2. เครื่องมือช่วยค้นหาข้อมูลบนอินเทอร์เน็ตมี 5 ประเภทใหญ่ๆ มีอะไรบ้าง พร้อมอธิบาย แต่ละประเภท 3. OPAC คืออะไร จงอธิบายการท างานของ OPAC


จบการบรรยาย


Click to View FlipBook Version