The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Pathicha Dangsawang, 2023-07-13 00:13:19

แผนการสอน

แผนการสอน

ก คำนำ เอกสารฉบับนี้จัดทำขึ้นเพื่อเป็นเอกสารแสดงข้อมูลประกอบการประเมิน ภาค ค การสอบแข่งขันเพื่อ บรรจุและแต่งตั้งบุคคลเข้ารับราชการเป็นข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำแหน่งครูผู้ช่วย สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปี พ.ศ. 2566 ภานในเอกสารฉบับนี้ประกอบด้วย คำอธิบายรายวิชา โครงสร้างรายวิชา หน่วยการเรียนรู้ การวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด และแผนการจัดการเรียนรู้ซึ่งได้จัดเรียงหัวข้อไว้ตรงตามเกณฑ์การ ประเมินตำแหน่ง ครูผู้ช่วย ภาค ค ในครั้งนี้ ข้าพเจ้าหวังว่าเอกสารฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ในการประเมินตำแหน่ง ครูผู้ช่วย ภาค ค ของข้าพเจ้า หากมีข้อผิดพลาดประการใด ข้าพเจ้าขอน้อมรับไว้ และขออภัยมา ณ ที่นี้ นางสาวปัฐทิชา แดงสว่าง


ข สารบัญ หน้า คำนำ ก สารบัญ ข คำอธิบายรายวิชา 1 โครงสร้างรายวิชา 2 หน่วยการเรียนรู้ 5 การวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด 6 แผนการจัดการเรียนรู้ 7


1 คำอธิบายรายวิชา กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม รหัสวิชา ส 13101 วิชาสังคมศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เวลา 80 ชั่วโมง/ปี จำนวน 2 หน่วยกิต ศึกษา วิเคราะห์ อธิบาย เรื่อง ความสำคัญของพระพุทธศาสนาในฐานะที่เป็นรากฐานสำคัญของ วัฒนธรรมไทย ประวัติศาสดาของศาสนา พระไตรปิฎก ชื่นชมและบอกแบบอย่างการดำเนินชีวิตและข้อคิด จากประวัติสาวก ชาดก และศาสนิกชนตัวอย่าง แสดงความเคารพพระรัตนตรัย เห็นคุณค่าของการสวดมนต์ แผ่เมตตา พัฒนาจิต และปฏิบัติตนตามหลักธรรมของศาสนา ศาสนวัตถุ ศาสนสถาน ศาสนบุคคล ประเพณี วัฒนธรรม พฤติกรรมในการดำเนินชีวิตของตนเองและผู้อื่น วันหยุดราชการ บุคคลสำคัญในท้องถิ่น บทบาท หน้าที่ของสมาชิกของชุมชนในการมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่าง ๆ ตามกระบวนการประชาธิปไตย ความแตกต่าง ของกระบวนการตัดสินใจ การเปลี่ยนแปลงในชั้นเรียน โรงเรียน และชุมชน จำแนกความต้องการและความ จำเป็นในการใช้สินค้าและบริการ วิเคราะห์การใช้จ่ายของตนเอง อธิบายทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัดมีผลต่อ การผลิตและการบริโภค สินค้าและบริการที่รัฐจัดหาให้ ภาษี ที่ตั้งและลักษณะทางกายภาพ ความสัมพันธ์ ระหว่างลักษณะทางกายภาพและวัฒนธรรมชุมชน แผนผัง แผนที่ และภาพถ่าย เปรียบเทียบสภาพแวดล้อม ของชุมชนในอดีตและปัจจุบัน สภาพแวดล้อมที่มีผลต่อการดำเนินชีวิต ลักษณะของเมืองและชนบท มลพิษที่ เกิดจากมนุษย์ มีส่วนร่วมในการจัดการสิ่งแวดล้อม และผลกระทบของสิ่งแวดล้อมที่มีต่อมนุษย์ โดยใช้กระบวนการคิด กระบวนการสืบค้นข้อมูล กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการทางสังคม กระบวนการกลุ่ม กระบวนการแก้ปัญหา กระบวนการสืบเสาะหาความรู้และใช้เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ในการ สืบค้น และสรุปข้อมูลตามกระบวนการทางภูมิศาสตร์ เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจ สามารถนำไปปฏิบัติในการดำเนินชีวิต มีความสามารถทางภูมิศาสตร์ กระบวนการทางภูมิศาสตร์ ทักษะในศตวรรษที่ 21 คุณธรรมจริยธรรม คุณลักษณะอันพึงประสงค์ในด้าน รักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ มีหลักธรรมในการดำเนินชีวิต รักความเป็นไทย มีจิตสาธารณะ และสามารถ ดำเนินชีวิตในสังคมได้อย่างสันติสุข ตัวชี้วัด ส 1.1 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3, ป.3/4, ป.3/5, ป.3/6, ป.3/7 ส 1.2 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3 ส 2.1 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3, ป.3/4 ส 2.2 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3 ส 3.1 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3 ส 3.2 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3 ส 5.1 ป.3/1, ป.3/2 ส 5.2 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3, ป.3/4, ป.3/5, ป.3/6 รวม 31 ตัวชี้วัด


2 โครงสร้างรายวิชา กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม รหัสวิชา ส 13101 วิชาสังคมศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เวลา 80 ชั่วโมง/ปี จำนวน 2 หน่วยกิต ลำดับ ที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการ เรียนรู้/ตัวชี้วัด สาระสำคัญ เวลา (ชั่วโมง) น้ำหนัก คะแนน 1 ศาสนาน่ารู้ หน่วยย่อยที่ 1 (บทที่ 1) พระพุทธศาสนาน่ารู้ ส 1.1 ป.3/1 ป.3/2 พระพุทธศาสนาความสำคัญต่อการ สร้างสรรค์วัฒนธรรมอันเกิดจากความ ศรัทธา การศึกษาพุทธประวัติ และย่อม ทำให้ได้คุณธรรมอันเป็นแบบอย่างไป ประยุกต์ปฏิบัติ 3 5 2 ศาสนาน่ารู้ หน่วยย่อยที่ 2 (บทที่ 2) เครื่อง ยึดเหนี่ยวจิตใจ ส 1.1 ป.3/4 ป.3/5 ป.3/7 การแสดงความเคารพพระรัตนตรัยและ การปฏิบัติตนตามหลักธรรมโอวาท 3 ใน พระพุทธศาสนาย่อมทำให้การดำเนิน ชีวิตไปในทางที่ถูกต้อง ศาสนิกชนทุกคน พึงปฏิบัติตนต่อศาสนวัตถุ ศาสนสถาน และศาสนบุคคลของศาสนาอื่นอย่าง เหมาะสม 11 10 3 ศาสนาน่ารู้ หน่วยย่อยที่ 3 (บทที่ 3) แบบอย่างที่ดี ส 1.1 ป.3/3 การศึกษาประวัติสาวก ชาดก และ ศาสนิกชนตัวอย่างทำให้ได้ข้อคิดและ คติธรรมที่เป็นแบบอย่างที่ดี สามารถ นำมาประยุกต์ใช้ในการดำเนินชีวิตได้ 3 5 4 ศาสนาน่ารู้ หน่วยย่อยที่ 4 (บทที่ 4) ชาวพุทธที่ดี ส 1.1 ป.3/6 ส 1.2 ป.3/1 ป.3/2 ป.3/3 พุทธศาสนิกชนทุกคนพึงปฏิบัติตนอย่าง เหมาะสมต่อสาวก ศาสนสถาน ศาสนวัตถุของศาสนา ปฏิบัติตนใน ศาสนพิธี พิธีกรรม วันสำคัญทางศาสนา และแสดงตนเป็นพุทธมามกะ การสวดมนต์ แผ่เมตตา การมีสติเป็น พื้นฐานของสมาธิ 8 10


3 ลำดับ ที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการ เรียนรู้/ตัวชี้วัด สาระสำคัญ เวลา (ชั่วโมง) น้ำหนัก คะแนน 5 พลเมืองดีของชาติ หน่วยย่อยที่ 1 (บทที่ 1) กระบวนการ ประชาธิปไตย ส 2.2 ป.3/1 ป.3/2 ป.3/3 การเปลี่ยนแปลงในชั้นเรียน โรงเรียน และชุมชน เป็นผลจากการตัดสินใจของ บุคคลและกลุ่มคน โดยวิธีการออกเสียง โดยตรงและตัวแทนออกเสียง นอกจากนั้น สมาชิกในชุมชนต้องมี บทบาทหน้าที่ในการเข้าร่วมกิจกรรม ตามกระบวนการประชาธิปไตย 8 10 6 พลเมืองดีของชาติ หน่วยย่อยที่ 2 (บทที่ 2) การ ดำเนินชีวิตใน ครอบครัวและ ท้องถิ่น ส 2.1 ป.3/1 ป.3/2 ป.3/3 ป.3/4 การศึกษาประเพณีและวัฒนธรรมใน ครอบครัว ท้องถิ่น การดำเนินชีวิตของ ผู้คนในแต่ละวัฒนธรรม ความสำคัญของ วันหยุดราชการ ตลอดจนประวัติและ ผลงานของบุคคลที่ทำประโยชน์ให้กับ ท้องถิ่น และคุณค่าของการทำความดี ย่อมเป็นประโยชน์ต่อการดำเนินชีวิตและ การอยู่ร่วมกันในสังคม 8 10 7 เศรษฐศาสตร์ ใกล้ตัว หน่วยย่อย ที่ 1 (บทที่ 1) สินค้าและบริการกับ การดำรงชีวิต ส 3.1 ป.3/1 สินค้าและบริการที่ตอบสนองความ ต้องการของมนุษย์มีอยู่หลายประเภท ซึ่งจะต้องรู้หลักการเลือกซื้อสินค้าและ บริการที่จำเป็นก่อนตัดสินใจเลือกซื้อ สินค้า 5 10 8 เศรษฐศาสตร์ ใกล้ตัว หน่วยย่อย ที่ 2 (บทที่ 2) การวางแผนการใช้ จ่ายเงินของตนเอง ส 3.1 ป.3/2 ส 3.2 ป.3/1 ป.3/2 ประชาชนทุกคนต้องรู้จักวางแผนการใช้ จ่ายเงินของตน และมีหน้าที่เสียภาษี ให้แก่รัฐทั้งทางตรงและทางอ้อม เพื่อรัฐ จะได้นำมาเป็นค่าใช้จ่ายในการพัฒนา ประเทศ 8 5 9 เศรษฐศาสตร์ ใกล้ตัว หน่วยย่อย ที่ 3 (บทที่ 3) การผลิตและการ แข่งขันทางการค้า ส 3.1 ป.3/3 ส 3.2 ป.3/3 ทรัพยากรที่เรานำมาใช้ในการผลิตสินค้า และบริการมีอยู่อย่างจำกัด การแข่งขัน ทางการค้ามีผลทำให้ราคาสินค้าลดลง 6 10


4 ลำดับ ที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการ เรียนรู้/ตัวชี้วัด สาระสำคัญ เวลา (ชั่วโมง) น้ำหนัก คะแนน 10 รู้รอบภูมิศาสตร์ หน่วยย่อยที่ 1 (บทที่ 1) เครื่องมือ ทางภูมิศาสตร์ ส 5.1 ป.3/1 ป.3/2 แผนที่ แผนผัง และรูปถ่ายมีความสำคัญ ในการใช้หาข้อมูลทางภูมิศาสตร์ในชุมชน แสดงที่ตั้งของสถานที่สำคัญในบริเวณ โรงเรียนและชุมชน 6 10 11 รู้รอบภูมิศาสตร์ หน่วยย่อยที่ 2 (บทที่ 2) ชุมชน ของเรา ส 5.2 ป.3/1 ป.3/2 ป.3/4 ป.3/5 สภาพแวดล้อมในชุมชนจากอดีตถึง ปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลง ความสัมพันธ์ ของลักษณะทางกายภาพกับลักษณะทาง สังคมของชุมชน มีการพึ่งพาสิ่งแวดล้อม และทรัพยากรธรรมชาติในการสนอง ความต้องการพื้นฐานของมนุษย์และการ ประกอบอาชีพ แล้วยังมีความแตกต่าง กันของเมืองและชนบท 10 10 12 รู้รอบภูมิศาสตร์ หน่วยย่อยที่ 3 (บทที่ 3) สิ่งแวดล้อมใน ชุมชน ส 5.2 ป.3/3 ป.3/6 กิจกรรมต่าง ๆ ของมนุษย์ส่งผลให้เกิด มลพิษ ดังนั้นทุกคนจึงควรมีส่วนร่วมใน การจัดการสิ่งแวดล้อม 4 5 รวมทั้งสิ้น 80 100


5 หน่วยการเรียนรู้ที่ในการจัดทำแผนการเรียนรู้ ที่ใช้ในการปฏิบัติการสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม รหัสวิชา ส 13101 วิชาสังคมศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 สาระที่ 3 เศรษฐศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เศรษฐศาสตร์ใกล้ตัว หน่วย ที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการ เรียนรู้/ตัวชี้วัด สาระสำคัญ เวลา (ชั่วโมง) น้ำหนัก คะแนน 3 เศรษฐศาสตร์ใกล้ตัว หน่วยย่อยที่ 1 (บทที่ 1) สินค้าและ บริการกับการ ดำรงชีวิต ส 3.1 ป.3/1 สินค้าและบริการที่ตอบสนองความ ต้องการของมนุษย์มีอยู่หลายประเภท ซึ่งจะต้องรู้หลัก การเลือกซื้อสินค้าและ บริการที่จำเป็นก่อนตัดสินใจเลือกซื้อ สินค้า 5 10


การวิเคราะห์มาตรฐา กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 สาระที่ 3 เศรษฐศาส ผู้สอน นางสาวปัฐทิชา แดงสว่าง มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด เนื้อหา/สาระการเรียนรู้ มาตรฐาน ส 3.1. เข้าใจ และสามารถบริหารจัดการ ทรัพยากรในการผลิตและ บริโภค การใช้ทรัพยากรที่ มีอยู่จำกัดได้อย่างมี ประสิทธิภาพและคุ้มค่า รวมทั้งเข้าใจหลักการของ เศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการ ดำรงชีวิตอย่างมีดุลยภาพ ส 3.1 ป.3/1 จำแนกความ ต้องการและ ความจำเป็นใน การใช้สินค้าและ บริการในการ ดำรงชีวิต ความต้องการซื้อสินค้าและบริการของคน โดยทั่วไปมีไม่จำกัดหรือไม่สิ้นสุด แต่เงินที สำหรับซื้อสินค้าและบริการมีจำกัด ดังนั้น สามารถเลือกซื้อสินค้าและบริการได้พอเพ ความต้องการของเรา จึงจำเป็นต้องรู้หลัก ซื้อสินค้าและบริการเพื่อวางแผนการใช้จ่า โดยพิจารณาถึงความจำเป็นมากกว่าความ ซึ่งสินค้าแบ่งได้ 2 ประเภท คือ 1. สินค้าท ประกอบด้วยปัจจัย 4 ได้แก่ อาหาร ที่อยู เครื่องนุ่งห่ม ยารักษาโรค และ 2. สินค้าฟ เช่น เครื่องสำอาง เครื่องประดับ เป็นต้น


6 านการเรียนรู้/ตัวชี้วัด รรม รหัสวิชา ส 13101 วิชาสังคมศึกษา ตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เศรษฐศาสตร์ใกล้ตัว คุณภาพผู้เรียน ความรู้ความเข้าใจ (K) ทักษะปฏิบัติ(P) คุณลักษณะ (A) นเรา ที่ใช้จ่าย น เพื่อให้ พียงกับ กการเลือก ายเงิน มต้องการ ที่จำเป็น ยู่อาศัย ฟุ่มเฟือย (K) อธิบายความหมาย ของสินค้าที่จำเป็นและ สินค้าฟุ่มเฟือยได้ (P) สามารถจำแนก ประเภทสินค้าที่จำเป็น และสินค้าฟุ่มเฟือยได้ (A) เห็นประโยชน์และ คุณค่าของสินค้าและ บริการที่สนองความ ต้องการของมนุษย์


7 แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่3 สาระที่3 เศรษฐศาสตร์ รหัสวิชา ส 13101 หน่วยการเรียนรู้ที่3 เศรษฐศาสตร์ใกล้ตัว เวลา 1 ชั่วโมง (60 นาที) เรื่อง สินค้าและบริการในการดำรงชีวิต ภาคเรียนที่2 ปีการศึกษา 2566 ผู้สอน นางสาวปัฐทิชา แดงสว่าง ************************************************************************************************** นำมาสอน วันเสาร์ ที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2566 1. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ส 3.1. เข้าใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิตและบริโภค การใช้ทรัพยากร ที่มีอยู่จำกัดได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า รวมทั้งเข้าใจหลักการของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการดำรงชีวิต อย่างมีดุลยภาพ 2. ตัวชี้วัด ส 3.1 ป.3/1 จำแนกความต้องการและความจำเป็นในการใช้สินค้าและบริการในการดำรงชีวิต 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ (K) อธิบายความหมายของสินค้าที่จำเป็นและสินค้าฟุ่มเฟือยได้ (P) สามารถจำแนกประเภทสินค้าที่จำเป็นและสินค้าฟุ่มเฟือยได้ (A) เห็นประโยชน์และคุณค่าของสินค้าและบริการที่สนองความต้องการของมนุษย์ 4. สาระสำคัญ 1. ความหมายและประเภทของสินค้าและบริการ 2. ประโยชน์และคุณค่าของสินค้าและบริการที่สนองความต้องการของมนุษย์ 5. สาระการเรียนรู้ ความต้องการซื้อสินค้าและบริการของคนเรา โดยทั่วไปมีไม่จำกัดหรือไม่สิ้นสุด แต่เงินที่ใช้จ่ายสำหรับ ซื้อสินค้าและบริการมีจำกัด ดังนั้น เพื่อให้สามารถเลือกซื้อสินค้าและบริการได้พอเพียงกับความต้องการ ของเรา จึงจำเป็นต้องรู้หลักการเลือกซื้อสินค้าและบริการเพื่อวางแผนการใช้จ่ายเงิน โดยพิจารณาถึงความ จำเป็นมากกว่าความต้องการ ซึ่งสินค้าแบ่งได้ 2 ประเภท คือ 1. สินค้าที่จำเป็นประกอบด้วยปัจจัย 4 ได้แก่ อาหาร ที่อยู่อาศัย เครื่องนุ่งห่ม ยารักษาโรค และ 2. สินค้าฟุ่มเฟือย เช่น เครื่องสำอาง เครื่องประดับ เป็นต้น


8 6. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ความสามารถในการคิด ตัวชี้วัดที่ 1 คิดพื้นฐาน (การคิดวิเคราะห์) พฤติกรรมบ่งชี้ที่ 3 ระบุรายละเอียดคุณลักษณะ และความคิดรวบยอดของข้อมูลต่าง ๆ ที่พบ เห็นในบริบทที่เป็นสิ่งใกล้ตัว 7. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ใฝ่เรียนรู้คือ ตั้งใจ เพียรพยายามในการเรียนและเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ 8. แนวทางการบูรณาการ ศิลปะ ในการตกแต่งระบายสีชิ้นงาน 9. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry Process) (60 นาที) ขั้นที่ 1 สร้างความสนใจ (Engagement) (7 นาที) 1. กระตุ้นความสนใจนักเรียน ผ่านการชวนนักเรียนพูดคุยแลกเปลี่ยนกัน ด้วยประเด็นคำถามเกี่ยวกับ สินค้าและบริการในการดำรงชีวิต จากการสังเกตภาพ จากสื่อ PowerPoint เรื่อง สินค้าและบริการในการ ดำรงชีวิต (5 นาที) ประเด็นคำถาม • ภาพนี้คือภาพเกี่ยวกับอะไร (แนวคำตอบ ยารักษาโรค) • สินค้าและบริการนี้มีความจำเป็นในการดำรงชีวิตหรือไม่ เพราะอะไร (แนวคำตอบ มีความจำเป็น เพราะเป็นสิ่งที่ใช้รักษาอาการเจ็บป่วยหรือโรคต่าง ๆ ที่ เกิดขึ้นกับร่างกายให้หายปกติ) • สินค้าและบริการที่นักเรียนรู้จักในชีวิตประจำวันมีอะไรบ้าง (แนวคำตอบ กระเป๋า หนังสือ ร้านทำผม ร้านล้างรถ เป็นต้น) 2. ครูเชื่อมโยงเนื้อหาสินค้าและบริการในการดำรงชีวิต (2 นาที) ขั้นที่ 2 สำรวจและค้นหา (Exploration) (20 นาที) 3. นักเรียนศึกษาเรื่องความหมายของสินค้าที่จำเป็นและสินค้าฟุ่มเฟือย จากหนังสือรายวิชาพื้นฐาน สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 (อจท.) และสื่อการสอน PowerPoint เรื่อง สินค้า และบริการในการดำรงชีวิต (10 นาที)


9 ตัวอย่าง PowerPoint เรื่อง สินค้าและบริการในการดำรงชีวิต 4. แจกบัตรภาพสินค้าและบริการทั้งสินค้าที่จำเป็นและสินค้าฟุ่มเฟือย ให้นักเรียนคนละ 1 ภาพ โดย เน้นความหลากหลายของภาพ (5 นาที) 5. นักเรียนศึกษาบัตรภาพสินค้าและบริการที่ได้รับว่าเป็นสินค้าจำเป็นหรือสินค้าฟุ่มเฟือย (5 นาที) ขั้นที่ 3 อธิบายและลงข้อสรุป (Explanation) (15 นาที) 6. นักเรียนทำกิจกรรม “จำเป็นหรือฟุ่มเฟือย” จำแนกบัตรภาพสินค้าที่ได้รับว่าเป็นสินค้าจำเป็นหรือ เป็นสินค้าฟุ่มเฟือย โดยปฏิบัติดังนี้(P) (10 นาที) • ถ้าเป็นสินค้าที่จำเป็นให้นำไปใส่ใน กล่องที่ 1 • ถ้าเป็นสินค้าฟุ่มเฟือยให้นำไปใส่ใน กล่องที่ 2 7. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปการจำแนกภาพสินค้าที่ได้รับว่าเป็นสินค้าจำเป็นหรือเป็นสินค้า ฟุ่มเฟือยที่ถูกต้อง (5 นาที) ขั้นที่ 4 ขยายความรู้(Elaboration) (5 นาที) 8. นักเรียนร่วมกันอภิปรายและแสดงความคิดเห็น ตอบคำถามครูเกี่ยวกับสินค้าและบริการ ประเด็นคำถาม (A) (5 นาที) • นักเรียนรู้จักสินค้าที่จำเป็นอะไรบ้าง (แนวคำตอบ อาหาร ที่อยู่อาศัย เครื่องนุ่งห่ม ยารักษาโรค) • นักเรียนรู้จักสินค้าฟุ่มเฟือยอะไรบ้าง (แนวคำตอบ เครื่องสำอาง เครื่องประดับ เป็นต้น)


10 • นักเรียนคิดว่าสินค้าและบริการที่สนองความต้องการของมนุษย์มีประโยชน์อย่างไรบ้าง (แนวคำตอบ ช่วยให้คนเราดำรงชีวิตอยู่รอดได้ ช่วยให้ความสะดวกสบายแก่เรา) ขั้นที่ 5 ประเมิน (Evaluation) (13 นาที) 9. นักเรียนทำใบงานเรื่องสินค้าและบริการในการดำรงชีวิต พร้อมกับตกแต่งใบงานให้สวยงาม เมื่อทำ ใบงานเสร็จแล้วให้ตรวจความเรียบร้อยก่อนนำส่งครู(K) (10 นาที) 10. ครูนัดหมายนักเรียนในการเรียนครั้งต่อไปเพื่อให้นักเรียนได้เตรียมตัวมาล่วงหน้า (3 นาที) 10. สื่อการเรียนการสอนและแหล่งเรียนรู้ - หนังสือรายวิชาพื้นฐาน สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 (อจท.) - PowerPoint เรื่อง สินค้าและบริการในการดำรงชีวิต - บัตรภาพสินค้าและบริการ - กล่องใส่บัตรภาพสินค้าและบริการ 11. ภาระงาน/ชิ้นงาน -กิจกรรมจำเป็นหรือฟุ่มเฟือย - ใบงานเรื่องสินค้าและบริการในการดำรงชีวิต 12. การวัดและการประเมินผล จุดประสงค์การเรียนรู้ เครื่องมือ วิธีการวัด/ประเมินผล เกณฑ์การประเมิน 1. (K) อธิบายความหมายของ สินค้าที่จำเป็นและสินค้า ฟุ่มเฟือยได้ - ใบงานและแบบ ประเมินใบงานเรื่อง สินค้าและบริการในการ ดำรงชีวิต - ตรวจใบงานเรื่องสินค้า และบริการในการ ดำรงชีวิต ผ่านเกณฑ์ระดับ ดี 2. (P) สามารถจำแนกประเภท สินค้าที่จำเป็นและสินค้า ฟุ่มเฟือยได้ - แบบประเมินพฤติกรรม - สังเกตพฤติกรรมของ นักเรียนในการร่วม กิจกรรม ผ่านเกณฑ์ระดับ ดี 3. (A) เห็นประโยชน์และคุณค่า ของสินค้าและบริการที่สนอง ความต้องการของมนุษย์ - แบบประเมินการตอบ คำถาม - สังเกตการตอบคำถาม ผ่านเกณฑ์ระดับ ดี


11 บันทึกผลการสอนหลังการจัดการเรียนรู้ ห้องเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่3 วันที่ / / ผลการจัดการเรียนรู้ ปัญหา/อุปสรรค ข้อเสนอแนะ/แนวทางการแก้ไข ลงชื่อ ( นางสาวปัฐทิชา แดงสว่าง ) ครูผู้สอนและบันทึก ความคิดเห็นของหัวหน้าสถานศึกษาหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย ลงชื่อ ( ) ตำแหน่ง


12 ใบงานวิชาสังคมศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 สาระที่ 3 เศรษฐศาสตร์ (ส 3.1 ป.3/1) เรื่องสินค้าและบริการในการดำรงชีวิต คำชี้แจง : ให้นักเรียนตอบคำถามลงในช่องที่กำหนดให้ถูกต้อง ☺ สินค้าแบ่งได้ 2 ประเภท คือ ชื่อ-สกุล ชั้น เลขที่ 1. สินค้าที่จำเป็น หมายถึง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………. 2. สินค้าฟุ่มเฟือย หมายถึง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………….


13 แนวคำตอบ ใบงานวิชาสังคมศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 สาระที่ 3 เศรษฐศาสตร์ (ส 3.1 ป.3/1) เรื่องสินค้าและบริการในการดำรงชีวิต คำชี้แจง : ให้นักเรียนตอบคำถามลงในช่องที่กำหนดให้ถูกต้อง ☺ สินค้าแบ่งได้ 2 ประเภท คือ ชื่อ-สกุล ชั้น เลขที่ 1. สินค้าที่จำเป็น หมายถึง เป็นสิ่งที่มนุษย์ต้องการเพื่อให้เกิดความพึงพอใจ และมีความจำเป็นต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์ ประกอบด้วยปัจจัย 4 ………………. 2. สินค้าฟุ่มเฟือย หมายถึง เป็นสิ่งที่มนุษย์ต้องการเพื่อให้เกิดความพึงพอใจ แต่เป็นสิ่งที่เกินความจำเป็น ถ้าไม่มีก็สามารถ ดำเนินชีวิตต่อไปได้


14 PowerPoint เรื่อง สินค้าและบริการในการดำรงชีวิต


15 บัตรภาพสินค้าและบริการ กล่องใส่บัตรภาพสินค้าและบริการ


16 เกณฑ์การประเมิน แบบประเมินใบงาน เรื่องสินค้าและบริการในการดำรงชีวิต (จุดประสงค์การเรียนรู้ที่ 1 K) วิธีการคิดคะแนน (คะแนนรายการประเมิน 1 × 6) + (คะแนนรายการประเมิน 2 × 2) + (คะแนนรายการประเมิน 3 × 2) = 10 3 เกณฑ์การประเมิน 7 คะแนน - 10 คะแนน ดี 4 คะแนน - 6 คะแนน พอใช้ 1 คะแนน - 3 คะแนน ปรับปรุง ลงชื่อ (.............................................) ครูผู้ประเมิน รายการประเมิน คะแนนการประเมิน ประเด็นน้ำหนัก ดี (3) พอใช้ (2) ปรับปรุง (1) 10 คะแนน 1. ความถูกต้อง เนื้อหา - เนื้อหาครบถ้วน 100% - เนื้อหามีความ ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่ 80% - เนื้อหามีความ ถูกต้องเป็นบางส่วน 50% 6 2. ความเป็น ระเบียบเรียบร้อย และสวยงาม - มีความเป็น ระเบียบเรียบร้อย และสวยงาม - ขาดอันใดอันหนึ่ง ระหว่างความเป็น ระเบียบเรียบร้อย และสวยงาม - ขาดความเป็น ระเบียบเรียบร้อย และสวยงาม 2 3. ความตรงต่อ เวลาในการส่งงาน - ส่งงานตรงตาม เวลาที่กำหนด - ส่งงานครูหลังจาก เวลาที่กำหนด 1 วัน - ส่งงานครูหลังจาก 1 วันเป็นต้นไป 2


แบบประเมินใบงาน เรื่องสินค้ (จุดประสงค์กา คำชี้แจง : ให้ครูผู้สอนประเมินคะแนนของนักเรียนแล ลำ ดับ ที่ ชื่อ – สกุล ความถูกต้อง เนื้อหา น้ำหนัก คะแนน 6 ควา เรีย สวย 3 2 1 3 1 2 3 4 5


17 ค้าและบริการในการดำรงชีวิต รเรียนรู้ที่ 1 K) ล้วใส่จำนวนคะแนนลงในช่องที่ตรงกับผลการประเมิน รายการประเมิน สรุปผล ประเมิน 10 ามเป็นระเบียบ บร้อยและ ยงาม น้ำหนัก คะแนน 2 ความตรงต่อเวลา ในการส่งงาน น้ำหนัก คะแนน 2 2 1 3 2 1


18 เกณฑ์การประเมิน แบบประเมินพฤติกรรม (จุดประสงค์การเรียนรู้ที่ 2 P) วิธีการคิดคะแนน (คะแนนรายการประเมิน 1 × 6) + (คะแนนรายการประเมิน 2 × 2) + (คะแนนรายการประเมิน 3 × 2) = 10 3 เกณฑ์การประเมิน 7 คะแนน - 10 คะแนน ดี 4 คะแนน - 6 คะแนน พอใช้ 1 คะแนน - 3 คะแนน ปรับปรุง ลงชื่อ (.............................................) ครูผู้ประเมิน รายการประเมิน คะแนนการประเมิน ประเด็น น้ำหนัก 10 คะแนน ดี (3) พอใช้ (2) ปรับปรุง (1) 1. สามารถจำแนก ประเภทสินค้าที่ จำเป็นและสินค้า ฟุ่มเฟือยได้ - สามารถจำแนก ประเภทสินค้าที่ จำเป็นและสินค้า ฟุ่มเฟือยได้เป็น อย่างมาก - สามารถจำแนก ประเภทสินค้าที่ จำเป็นและสินค้า ฟุ่มเฟือยได้ปานกลาง - สามารถจำแนก ประเภทสินค้าที่จำเป็น และสินค้าฟุ่มเฟือย ได้น้อย 6 2. ให้ความร่วมมือ ในการเข้าร่วม กิจกรรม - ให้ความร่วมมือใน การเข้าร่วมกิจกรรม เป็นอย่างมาก - ให้ความร่วมมือใน การเข้าร่วมกิจกรรม ปานกลาง - ให้ความร่วมมือในการ เข้าร่วมกิจกรรมน้อย 2 3. ตั้งใจและมีความ กระตือรือร้นในการ ทำกิจกรรม - ตั้งใจและมีความ กระตือรือร้นในการ การทำกิจกรรมเป็น อย่างมาก - ตั้งใจและมีความ กระตือรือร้นในการ ทำกิจกรรมปานกลาง - ตั้งใจและมีความ กระตือรือร้นในการการ ทำกิจกรรมน้อย 2


แบบประเมิน (จุดประสงค์กา ค ำชี้แจง : ให้ครูผู้สอนประเมินคะแนนของนักเรียนแล ลำ ดับ ที่ ชื่อ – สกุล สามารถจำแนกประเภท สินค้าที่จำเป็นและสินค้า ฟุ่มเฟือยได้ น้ำหนัก คะแนน 6 ก ก 3 2 1 1 2 3 4 5


19 นพฤติกรรม รเรียนรู้ที่ 2 P) ล้วใส่จ ำนวนคะแนนลงในช่องที่ตรงกับผลกำรประเมิน รายการประเมิน สรุปผล ประเมิน 10 การให้ความร่วมมือใน การเข้าร่วมกิจกรรม น้ำหนัก คะแนน 2 ตั้งใจและมีความ กระตือรือร้นในการ ทำกิจกรรม น้ำหนัก คะแนน 2 3 2 1 3 2 1


20 เกณฑ์การประเมิน แบบประเมินการตอบคำถาม (จุดประสงค์การเรียนรู้ที่ 3 A) วิธีการคิดคะแนน (คะแนนรายการประเมิน 1 × 6) + (คะแนนรายการประเมิน 2 × 2) + (คะแนนรายการประเมิน 3 × 2) = 10 3 เกณฑ์การประเมิน 7 คะแนน - 10 คะแนน ดี 4 คะแนน - 6 คะแนน พอใช้ 1 คะแนน - 3 คะแนน ปรับปรุง ลงชื่อ (.............................................) ครูผู้ประเมิน รายการประเมิน คะแนนการประเมิน ประเด็น น้ำหนัก 10 คะแนน ดี (3) พอใช้ (2) ปรับปรุง (1) 1. เห็นประโยชน์ และคุณค่าของ สินค้าและบริการที่ สนองความต้องการ ของมนุษย์ เห็นประโยชน์และ คุณค่าของสินค้าและ บริการที่สนองความ ต้องการของมนุษย์ เป็นอย่างมาก เห็นประโยชน์และ คุณค่าของสินค้าและ บริการที่สนองความ ต้องการของมนุษย์ ปานกลาง เห็นประโยชน์และคุณค่า ของสินค้าและบริการที่ สนองความต้องการของ มนุษย์น้อย 6 2. ให้ความร่วมมือ ในการตอบคำถาม - ให้ความร่วมมือใน การตอบคำถามเป็น อย่างมาก - ให้ความร่วมมือใน การตอบคำถาม ปานกลาง - ให้ความร่วมมือในการ ตอบคำถามน้อย 2 3. ตั้งใจและมีความ กระตือรือร้นในการ ตอบคำถาม - ตั้งใจและมีความ กระตือรือร้นในการ ตอบคำถามเป็น อย่างมาก - ตั้งใจและมีความ กระตือรือร้นในการ ตอบคำถามปานกลาง - ตั้งใจและมีความ กระตือรือร้นในการตอบ คำถามน้อย 2


แบบประเมินก (จุดประสงค์กา ค ำชี้แจง : ให้ครูผู้สอนประเมินคะแนนของนักเรียนแล ลำ ดับ ที่ ชื่อ – สกุล เห็นประโยชน์และคุณค่า ของสินค้าและบริการที่ สนองความต้องการของ มนุษย์ น้ำหนัก คะแนน 6 ใ ต 3 2 1 1 2 3 4 5


21 ารตอบคำถาม ารเรียนรู้ที่ 3 A) ล้วใส่จ ำนวนคะแนนลงในช่องที่ตรงกับผลกำรประเมิน รายการประเมิน สรุปผล ประเมิน 10 ให้ความร่วมมือในการ ตอบคำถาม น้ำหนัก คะแนน 2 ตั้งใจและมีความ กระตือรือร้นในการ ตอบคำถาม น้ำหนัก คะแนน 2 3 2 1 3 2 1


22 เกณฑ์การประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ วิธีการคิดคะแนน (คะแนนประเด็นการประเมิน 1 × 5) + (คะแนนประเด็นการประเมิน 2 × 5) = 10 3 เกณฑ์การประเมิน 7 คะแนน - 10 คะแนน ดี 4 คะแนน - 6 คะแนน พอใช้ 1 คะแนน - 3 คะแนน ปรับปรุง ลงชื่อ (.............................................) ครูผู้ประเมิน ประเด็นการประเมิน เกณฑ์การให้ระดับคะแนนการประเมิน ประเด็น (น้ำหนัก) 10 คะแนน ดี (3) พอใช้ (2) ปรับปรุง (1) 1. ความสามารถใน การคิด คือ ระบุ รายละเอียด คุณลักษณะ และ ความคิดรวบยอด ของข้อมูลต่าง ๆ ที่ พบเห็นในบริบทที่ เป็นสิ่งใกล้ตัว ระบุรายละเอียด คุณลักษณะ และ ความคิดรวบยอดของ ข้อมูลต่าง ๆ ที่พบเห็น ในชีวิตประจำวันได้ ถูกต้องและครบถ้วน ระบุรายละเอียด คุณลักษณะ และ ความคิดรวบยอดของ ข้อมูลต่าง ๆ ที่พบเห็น ในชีวิตประจำวันได้ ถูกต้องแต่ไม่ครบถ้วน ระบุรายละเอียด คุณลักษณะ และ ความคิดรวบยอดของ ข้อมูลต่าง ๆ ที่พบเห็น ในชีวิตประจำวันได้ ถูกต้องเป็นบางส่วนและ ไม่ครบถ้วน 5 2. ใฝ่เรียนรู้คือ ตั้งใจ เพียรพยายาม ในการเรียนและเข้า ร่วมกิจกรรมการ เรียนรู้ ตั้งใจเรียน เอาใจใส่ และมีความเพียร พยายามในการเรียนรู้ เข้าร่วมกิจกรรมการ เรียนรู้ต่าง ๆ เป็น ประจำ ตั้งใจเรียน เอาใจใส่ และมีความเพียร พยายามในการเรียน ตั้งใจเรียน เอาใจใส่ ใน การเรียน 5


แบบป แบบสังเกตสมรรถนะสำคัญของผู้เรี คำชี้แจง : ให้ครูผู้สอนประเมินคะแนนของนักเรียนแล ลำ ดับ ที่ ชื่อ – สกุล ความสามารถในการคิด คือ ระบ รายละเอียดคุณลักษณะ และ ความคิดรวบยอดของข้อมูลต่าง ที่พบเห็นในบริบทที่เป็นสิ่งใกล้ตัว 3 2 1 1 2 3 4


23 ระเมิน รียน และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ล้วใส่จำนวนคะแนนลงในช่องที่ตรงกับผลการประเมิน พฤติกรรม ระดับ/คะแนน สรุปผลประเมิน 10 บุ ๆ ัว น้ำหนัก คะแนน 5 ใฝ่เรียนรู้คือ ตั้งใจ เพียร พยายามในการเรียนและ เข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ น้ำหนัก คะแนน 5 3 2 1


24


Click to View FlipBook Version