The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

5 แผนบริหาร Covid-19 โรงเรียนศรีแก้งคร้อ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

แผนบริหาร Covid-19 โรงเรียนศรีแก้งคร้อ

5 แผนบริหาร Covid-19 โรงเรียนศรีแก้งคร้อ



แผนบรหิ ารและแนวทางการบรหิ ารการจัดการเรียนการสอน
ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)

โรงเรยี นศรแี ก้งคร้อ
ปกี ารศึกษา 2564

สำนกั งานเขตพน้ื ที่การศกึ ษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 2
สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ



คำนำ

ด้วยสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เกิดขึ้น
อย่างรวดเร็วและรุนแรงจนทำให้มีผู้ติดเชื้อทั่วโลกมากกว่า 187,000,000 คน และมีผู้เสียชีวิตทั่วโลก
มากกว่า 4,000,000 คน ขณะท่ีมีผู้เสียชีวิตในประเทศไทยรวม 2,791 คน (ข้อมูล ณ วันที่ 13
กรกฎาคม 2564) รัฐบาลไทยได้ประกาศพระราชกำหนดในสถานการณ์ฉุกเฉินขึ้นเพื่อใช้รับมือกับ
วิกฤตการณ์ดังกล่าว กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศ ลงวันที่ 19 พฤษภาคม 2564 เรื่อง การเลื่อนเวลา
เปดิ ภาคเรียนท่ี 1 ประจำปีการศึกษา 2564 ของสถานศกึ ษาในสังกดั และในกำกับของกระทรวงศกึ ษาธิการ
เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ระลอกใหม่ท่ัว
ประเทศมีความรุนแรงอยู่ในหลายพื้นที่ กระทรวงศึกษาธิการ จึงได้ประกาศกำหนดแนวปฏิบัตกิ ารเปิดภาค
เรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564 โดยให้สถานศึกษาในสังกัดและในกำกับของกระทรวงศึกษาธิการเลื่อนการ
เปิดภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564 เป็นวันที่ 14 มิถุนายน 2564 ทั้งนี้ โรงเรียนหรือสถานศึกษาที่
ตัง้ อย่ใู นพน้ื ท่ีควบคุมสูงสุด(สีแดง) หรือพนื้ ทค่ี วบคุม (สีสม้ ) มคี วามพร้อมและประสงค์เปิดก่อนวันที่กำหนด
ต้องผ่านเกณฑ์การประเมินความพร้อมของสถานศึกษาผ่านระบบ Thai Stop Covid+ (TSC+) และได้รับ
ความเห็นชอบจากคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดก่อน โดยให้สถานศึกษาจัดการเรียนการสอนสอดคล้อง
กับมาตรการของกระทรวงสาธารณสุขอย่างเคร่งครัด

โรงเรียนศรีแก้งคร้อ ประกอบด้วย ผู้บริหาร คณะครู และผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง จึงได้ร่วมกัน
ศึกษานโยบายและแนวทางการจัดการเรียนการสอนทางไกล มาตรการป้องกันการติดเชื้อไวรัสโคโรนา
2019 ของกระทรวงสาธารณสุข ข้อมูลสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคในพื้นที่ รวมทั้งข้อมูลความ
พร้อมของผู้ปกครองและนักเรียนในการจัดการเรียนการสอนทางไกลและกำหนดเป็นแผนปฏิบัติการตาม
มาตรการด้านความปลอดภัยจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ขึ้น ซึ่งประกอบด้วย 1) แผนงานหลัก
กรณกี ารจดั การเรยี นการสอนตามปกติ (On Site learning) และ 2) แผนงานสำรอง กรณกี ารจดั การเรียน
การสอนทางไกล ( On Air learning) สำหรับเหตุการณ์ทไี่ ม่สามารถจดั การเรยี นการสอนปกติได้

ขอขอบคุณคณะครูและบุคลากรทางการศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษา นักเรียนและ
ผู้ปกครองทุกท่านที่ได้ให้ความร่วมมือในการวางแผน ร่วมคิดร่วมทำอย่างเต็มกำลัง และหวังว่าแผนปฏิบัติ
การตามมาตรการ ฯ เล่มนจ้ี ะใชเ้ ปน็ แนวทางในการจดั การเรียนการสอนได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพต่อไป

(นายประภาส กองจันทร์)
ผ้อู ำนวยการโรงเรยี นศรแี ก้งครอ้



คำนำ สารบญั หน้า
สารบญั
สว่ นท่ี 1 ขอ้ มูลพ้ืนฐาน ก
- ข้อมูลทวั่ ไป ข
ส่วนท่ี 2 - โครงสร้างการบริหารของสถานศึกษา 1
- ขอ้ มลู ผู้บริหาร 1
สว่ นที่ 3 - ข้อมูลนักเรียน 1
- ขอ้ มลู ครูและบุคลากร 2
- ขอ้ มูลอาคารสถานที่ 2
3
5

แผนงานหลัก กรณกี ารจัดการเรียนการสอนตามปกติ รปู แบบ ON SITE 6
2.1 ข้ันเตรยี มการ 6
2.2 ข้นั ควบคุม 7
2.3 ขน้ั จดั การเรยี นการสอนปกติ 10

แผนงานสำรอง กรณีการจดั การเรียนการสอนทางไกล 11

-แผนงานสำรองของโรงเรยี นศรแี กง้ ครอ้ กรณีการจัดการเรียนการสอนทางไกล 13

ส่วนที่ 4 การเตรยี มความพร้อมในการปอ้ งกนั การแพรร่ ะบาดของ 15
ภาคผนวก โรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 15
4.1 การเตรยี มความพร้อมในการป้องกันการแพรร่ ะบาดฯ 15
4.2 มาตรการและแนวทางในการดแู ลด้านอนามยั และสิง่ แวดลอ้ ม

28
- คำส่งั แต่งต้งั คณะกรรมการศูนยเ์ ฉพาะกิจการบรหิ ารจดั การศกึ ษาในสถานการณ์

การแพร่ระบาดของโรคติดเช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 ในสถานศึกษา
- รปู ภาพการประชุมคณะกรรมการ
- รูปภาพกจิ กรรมเก่ยี วกบั มาตรการตา่ งๆ
- แบบรายงานสถิติการมาโรงเรียนของนักเรียนโรงเรยี นศรแี ก้งครอ้

สว่ นท่ี 1
ขอ้ มูลพืน้ ฐาน

๑. ขอ้ มูลท่ัวไป

ช่อื โรงเรียน ศรีแก้งคร้อ ทต่ี ้งั ๕๕๕ หม่ทู ่ี ๑๐ บา้ นศรพี ฒั นา ตำบล ช่องสามหมอ .
อำเภอ แกง้ ครอ้ จังหวดั ชยั ภูมิ สังกดั สำนกั งานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาชยั ภมู ิ เขต ๒ .
โทร ๐๔๔๘๘๒๙๙๗ โทรสาร - e-mail [email protected]
Website http://skkschool.com/mainpage …
เปดิ สอนระดับชน้ั อนบุ าล ถงึ ระดบั ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ เนอื้ ท่ี ๒๐ ไร่ ๑๕๐ ตารางวา
เขตพืน้ ท่ีบริการ รับผดิ ชอบจดั การศึกษาในพนื้ ทเ่ี ขตบรกิ าร ๕ หม่บู า้ น ดังนี้

(๑) หมู่บ้านศรพี ัฒนา
(๒) หมู่บา้ นศรีสง่า
(๓) หมู่บา้ นโนนสวรรค์ใต้
(๔) หมบู่ า้ นโนนสวรรค์เหนือ
(๕) หมู่บ้านแกง้ ครอ้ หนองไผ่

๒. โครงสร้างการบริหารของสถานศกึ ษา



๓. ข้อมูลผ้บู ริหาร

๑) ชอ่ื – สกลุ ดร.ประภาส กองจนั ทร์ วฒุ กิ ารศึกษาสงู สุด ปรัชญาดษุ ฎบี ณั ฑิต (ปร.ด.) สาขา

การบรหิ ารการศึกษา ดำรงตำแหน่งในโรงเรียนนตี้ งั้ แต่ วันท่ี ๒๙ ตุลาคม ๒๕๕๗ จนถึงปัจจุบนั เปน็

เวลา ๖ ปี ๕ เดือน

๒) รองผูอ้ ำนวยการโรงเรยี น ๓ คน

(๒.๑) ชอ่ื -สกุล นายประยูร ศริ ิคณุ วุฒิการศกึ ษาสูงสุด การศึกษามหาบัณฑิต

(กศ.ม.) สาขา การบรหิ ารการศกึ ษา รบั ผดิ ชอบกล่มุ งาน งบประมาณและด้านการบริหารทัว่ ไปตาม

โครงสรา้ งการบรหิ ารงานของสถานศกึ ษา

(๒.๒) ชื่อ-สกุล นายปรชี า น้อยปัญญา วุฒิการศกึ ษาสูงสดุ ครศุ าสตรมหาบัณฑิต

(ค.ม.) สาขา บรหิ ารการศึกษา รบั ผิดชอบกลุ่มงาน ดา้ นวิชาการ

(๒.๓) ช่ือ-สกุล นายจำรัส คูณแก้ว วุฒิการศึกษาสูงสุด ศึกษาศาสตรมหาบณั ฑติ

(ศษ.ม.) สาขา การบรหิ ารการศกึ ษา รับผดิ ชอบกลมุ่ งาน บริหารงานบคุ คลและด้านการกจิ การนักเรียน

๔. ขอ้ มูลนกั เรยี น (ณ วนั ที่ 25 มถิ นุ ายน 2564)

๑) จำนวนนกั เรยี นในเขตพน้ื ที่บริการทัง้ สน้ิ 563 คน

๒) จำนวนนกั เรยี นในโรงเรียนทงั้ ส้ิน 1,200 คน จำแนกตามระดับชนั้ ที่เปิดสอน

ระดบั ชน้ั เรยี น จำนวนห้อง เพศ รวม เฉล่ยี
ชาย หญงิ ต่อหอ้ ง

อนุบาล ๑ 1 13 18 31 31

อนุบาล ๒ 3 43 35 78 26

อนุบาล ๓ 3 36 55 91 31

รวม 7 92 108 200

ประถมศึกษาปีท่ี ๑ 5 55 61 116 24

ประถมศกึ ษาปที ่ี ๒ 5 95 81 179 36

ประถมศึกษาปที ่ี ๓ 5 92 86 178 36

ประถมศึกษาปีที่ ๔ 5 81 83 164 33

ประถมศกึ ษาปีที่ ๕ 5 98 93 191 39

ประถมศึกษาปีท่ี ๖ 5 90 82 172 35

รวม 30 514 486 1000

รวมทั้งส้ิน 37 606 594 1200

๓) อัตราสว่ นครู : นักเรยี น
(๑) ระดบั อนบุ าล ……1…….. : ……23….…
(๒) ระดับประถมศึกษา ……1…….. : ……24....…



๕. ข้อมูลครูและบุคลากร
๑) ครูประจำการ

ที่ ชอ่ื – ชื่อสกุล อายุ อายุ ตำแหนง่ / วุฒิ วิชา เอก สอนวิชา/ชั้น จำนวน
ราชการ วทิ ยฐานะ กศ.ม. หลักสูตรและการสอน อ.3/1 ครงั้ /
ช่ัวโมงท่ี
๑ นางเทพนารี คงอ่นุ 53 30 ครู คศ.๓ รับการ
22 ครู คศ.๓ พัฒนา/ปี
25 ครู คศ.๓
15 ครู คศ.๓ 5/60
22 ครู คศ.2
๒ นางสาวนิตยาพร สขุ ี 45 6 ครู คศ.1 ค.บ. การศกึ ษาปฐมวัย อ.3/2 5/70
๒๙ ครู คศ.๓
๓ นางประวัติ คำศรี 47 ๓๑ ครู คศ.๓ ศษ.ม. การประถมศึกษา อ.2/2 2/18
๕ ครู คศ.๑
๔ นางพัชชนิ ี หมอกชัย 43 ๑๐ ครู คศ.๒ ค.ม. การบริหารการศกึ ษา อ.3/3 3/25
๕ ครู คศ.๑
5 นางสาวมณี แซ่ภู่ 55 ๓๖ ครู คศ.๓ ศษ.ม. การบรหิ ารการศกึ ษา อ.2/1 2/16
๓๖ ครู คศ.๓
6 นางสาวปรศิ นา ลกั ษมกิ านต์ 33 ๓๘ ครู คศ.๓ ค.บ. การศกึ ษาปฐมวัย อ.2/3 3/16
๓๒ ครู คศ.๓
๗ นายพงษเ์ ดช อาจเวทย์ ๕๕ ๒๘ ครู คศ.๓ ศษ.ม. บรหิ ารการศกึ ษา สงั คม ป.๕ ๖/๘๐
๓๔ ครู คศ.๓
๘ นางประทมุ วนั อาจเวทย์ ๕๖ ๒๗ ครู คศ.๓ กศ.ม. บรหิ ารการศึกษา ภาษาองั กฤษ ป.๕ ๖/๘๐
๒๗ ครู คศ.๓
๙ นางเบญจพร ตรงประสิทธ์ิ ๔๔ ๓๐ ครู คศ.๓ คบ. คอมพิวเตอร์ศึกษา การงาน/คอมพวิ เตอร์ ๔/๕๙
๒๖ ครู คศ.๓
๑๐ นางศภุ ดี ช่างภา ๓๓ ๒๓ ครู คศ.๓ ค.บ. ภาษาอังกฤษ ป.๑/๕ ๓/๓๒
๔๒ ครู คศ.๓
๑๑ นายวิทวสั หนิ เมอื งเก่า ๓๐ ๒๓ ครู คศ.๓ ค.บ. พละศึกษา พละศกึ ษา ป.๖ ๒/๔๐
๒๓ ครู คศ.๓
๑๒ นางอรพร ตาปราบ ๖๐ ๑๙ ครู คศ.๓ ค.บ. ภาษาองั กฤษ ภาษาอังกฤษ ป.๔ ๒/๓๒
๑๘ ครู คศ.๓
๑๓ วา่ ท่ี ร.ต.อนนั ต์ บวั แช่ม ๖๐ กศ.บ. พลศึกษา พลศึกษา ๒/๒๐

๑๔ นางศศิวิมล วณชิ าชวี ะ ๕๙ ค.บ. การบริหารการศกึ ษา ศลิ ปะ ๒/๒๐

๑๕ นางเกตจุ ันทร์ ไพศาลธรรม ๕๘ ค.บ. วทิ ยาศาสตร์ ภาษาไทย ๓/๔๔

๑๖ นางฉลาด ประสานศกั ด์ิ ๕๙ ค.บ. การประถมศกึ ษา ป.๓/๔ ๒/๓๒

๑๗ นางสมพร ศลิ าทอง ๕๗ กศ.ม. การประถมศึกษา ภาษาไทย ๘/๑๐๐

๑๘ นางศิรริ ตั น์ กองจนั ทร์ ๕๑ ศษ.ม. การบรหิ ารการศกึ ษา วิทยาศาสตร์ ๒/๓๔

๑๙ นางรชั ดากรณ์ หอมจนั ทร์ ๕๐ กศ.ม. การบริหารการศึกษา ป.๑/๑ ๔/๕๙

๒๐ นางธัญญารตั น์ ตอ่ พล ๕๓ กศ.บ. สงั คมศึกษา ป.๓/๔ ๔/๕๐

๒๑ นางเพ่ิมจติ ร ศรบี ญุ เรอื ง ๔๙ ค.บ. นาฏศิลป์ ดนตรี –นาฏศลิ ป์ ๔/๕๙

๒๒ นางจุฬาลกั ษณ์ ซองวงษห์ ล้า ๔๖ ค.บ. การประถมศึกษา ป.๑/๓ ๔/๕๒

๒๓ นางนันทยา สมบตั หิ อม ๖๐ ค.ม. หลกั สตู รและการสอน ภาษาอังกฤษ ๓/๒๐

๒๔ นางประวัติ คำศรี ๔๘ ศษ.ม. การประถมศึกษา อ.๒/๒ ๒/๑๘

๒๕ นางอรอนงค์ พลดงนอก ๔๕ ค.บ. การประถมศึกษา ป.๒/๑ ๗/๑๑๐

๒๖ นางสาวณัฐนีย์ ไตรณรงค์ ๔๓ ศษ.บ. การประถมศกึ ษา ภาษาไทย ๔/๒๖

๒๗ นางสายลม ไพศาลธรรม ๔๓ คม. การประถมศกึ ษา ป.๑/๔ ๔/๔๖



ที่ ชื่อ – ช่อื สกลุ อายุ อายุ ตำแหน่ง/ วฒุ ิ วิชา เอก สอนวิชา/ชัน้ จำนวน
ราชการ วิทยฐานะ คร้งั /
ภาษาอังกฤษ ช่ัวโมงท่ี
๒๘ นางเพ็ญประภา ตอ่ ติด ๕๒ ๒๗ ครู คศ.๓ ศษ.ม. แนะแนว ป.๒/๔ รับการ
พฒั นา/ปี
๒๙ นางสาวจริ าพร ลองจำนงค์ ๔๕ ๑๗ ครู คศ.๓ ค.บ. การประถมศึกษา คณติ ศาสตร์ ๓/๒๐
ป.๑/๕
๓๐ นายยทุ ธพงษ์ ผลกอง ๔๑ ๑๒ ครู คศ.๓ ค.บ. คณติ ศาสตร์ ป.๒/๓ ๓/๔๔
ป.๒/๒
๓๑ นางสาวสารีฮา สือแม ๓๒ ๗ ครู คศ.๑ ศษ.บ. การประถมศกึ ษา ๖/๘๐
ภาษาองั กฤษ ป.๖
๓๒ นางสาวอไุ รวรรณ รกั ดวน ๕๐ ๒๗ ครู คศ.๓ ศษ.ม. การประถมศึกษา คนตรี ๔/๔๔

๓๓ นางชุติมา เวทศกั ด์ิ ๔๘ ๑๕ ครู คศ.๓ ค.บ. นาฏศิลป์ วิทยาศาสตร์ ๔/๔๖
ภาษาองั กฤษ
๓๔ นางศญิ าภรณ์ ไคขนุ ทด ๔๕ ๒๓ ครู คศ.๓ ศศ.ม. ภาษาองั กฤษ ๔/๔๔
ป.๑/๒
๓๕ นางร่งุ สิริ ชัยจักร ๔๔ ๒๓ ครู คศ.๓ กศ.ม. บริหารการศกึ ษา สงั คม ป.๖ ๗/๙๐
ป.๓/๓
๓๖ นางธรี าพร อมั พรตั น์ ๔๔ ๑๙ ครู คศ.๓ คบ. วิทยาศาสตร์ ภาษาองั กฤษ ๒๓/๙๙
ป.๒/๕
๓๗ นางยพุ ิน เซามาไลเนน ๔๒ ๑๐ ครู คศ.๑ คบ. ภาษาองั กฤษ คณติ ศาสตร์ ป.๖ ๔/๖๘
วิทยาศาสตร์
๓๘ นางหนชู ิด สมิ าธรรม ๔๖ ๒๑ ครู คศ.๓ คบ. การประถมศกึ ษา ป.๓/๔ ๔/๕๐
คณิตศาตร์ ป.๔
๓๙ วา่ ท่ี ร.ต.ชัยณรงค์ ณ หนองคาย ๔๗ ๒๐ ครู คศ.๓ คบ. อุตสาหกรรมศิลป์ ๔/๕๒
ดนตรี
๔๐ นางสญั ลักษณ์ ณ หนองคาย ๔๔ ๑๙ ครู คศ.๓ คบ. คหกรรมศาสตร์ ป.๔/๒ ๓/๓๕

๔๑ นางสาวอัญชลี บวั โคกรัง ๓๔ ๑๑ ครู คศ.๓ ศศ.ม ภาษาอังกฤษ ๔/๕๙

๔๒ นางสาวขวญั ปวณี ์ บัวคำ ๓๕ ๓ ครู คศ.๑ คบ. คอมพิวเตอร์ ๖/๘๐

๔๓ นางสาวเบญจพร พงษะพัง ๒๘ ๔ ครู คศ.๑ คบ. คณติ ศาสตร์ ๔/๖๔

๔๔ นางนนั ทวัน เสนาพล ๔๙ ๑๘ ครู คศ.๓ คบ. วิทยาศาสตร์ ๕/๕๐

๔๕ นางสานิกณุ นาเจรญิ ๔๘ ๒๒ ครู คศ. ๓ ศษ.บ. ภาษาไทย ๓/๒๔

๔๖ นางสาวอุมาภรณ์ ชมุ สงฆ์ ๒๕ ๑ ครผู ชู้ ว่ ย คบ. คณติ ศาสตร์ ๔/๕๔

๔๗ นายธนรัตน์ ชาวคเู วยี ง ๒๕ - ครูผ้ชู ่วย คบ. ดนตรี ๑๒/๔๕

๔๘ นางสาวกัญจน์กนก บรรณสาร ๔๓ ๑๑ พนกั งานราขการ คม. หลกั สูตรและการสอน ๑๒/๔๘

๒/๒๐

๒) บุคลากรทางการศึกษาอ่นื ๆ

ประสบการณ์

ที่ ช่อื – ชอ่ื สกลุ อายุ การทำงาน วฒุ ิ วชิ า เอก สอนวชิ า/ชัน้ จา้ งด้วยเงิน

(ป)ี คอมพิวเตอร์ ธรุ การ สพฐ
สหวิทยาการ
๑ น.ส.รพีกาญจน์ โม้กุดแอก ๓๕ ๑๐ บท.บ. จดั การท้องถิ่น ชา่ งไฟฟ้า สพฐ
พัฒนาทอ้ งถ่ิน ครู LD/ อ.๑ สพฐ
๒ นายสีลา เสโส ๕๗ ๒๓ ศศ.บ.
๓ นางรศั มี หิรญั อร ๕๔ ๘ ม.๖

ประสบการณ์ ๕

ท่ี ช่ือ – ช่อื สกลุ อายุ การทำงาน วฒุ ิ วิชา เอก สอนวชิ า/ชน้ั จ้างดว้ ยเงิน
เงินโรงเรียน
(ปี) เงินโรงเรียน

๔ นางสาวอำไรพร โชคเหมาะ ๒๓ ๒ คบ. การศึกษาปฐมวยั อ.๓/๑ สพฐ

แพทย์แผนไทย

๕ นางสาวภทั รวดี วงั หาญ ๒๓ ๑ พท.ป. ประยกุ ต์ อ.๑

ลูกจา้ ง

๖ นายบญุ ส่ง เพง่ ให้ตรง ๕๒ ๘ ม.๖ (นักการภารโรง)

๖. ขอ้ มูลอาคารสถานที่
อาคารเรยี น จำนวน ๗ หลัง อาคารประกอบ จำนวน ๒ หลัง สว้ ม ๔ หลงั

สระว่ายน้ำ.......-.......สระ สนามเด็กเล่น ๑ สนาม สนามฟุตบอล ๑ สนาม สนาม

วอลเลยบ์ อล ๑ สนาม สนามตระกร้อ ๑ สนาม สนามเปตอง ๒ สนาม



ส่วนที่ 2
แผนงานหลัก กรณกี ารจดั การเรียนการสอนตามปกติ รูปแบบ ON SITE

2. แผนงานหลัก กรณกี ารจดั การเรยี นการสอนตามปกติ ( On Site)

2.1 ขัน้ เตรยี มการ
2.1.1 สร้างความตระหนกั /แตง่ ต้ังคณะกรรมการ
โรงเรยี นศรีแก้งคร้อ กำหนดประชมุ ผบู้ รหิ าร คณะครู และบคุ ลากรทางการศึกษาโรงเรียน

ศรีแกง้ ครอ้ ร่วมประชุมเพ่อื รับทราบนโยบายการรับมือกบั สถานการณ์โรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 สร้าง
ความตระหนัก ร่วมกันกำหนดทิศทางการดำเนินงานของโรงเรียน และแต่งตั้งคณะกรรมการเพื่อเก็บ
รวบรวมข้อมลู ความพร้อมของผเู้ รียนและผู้ปกครองในการจัดการเรยี นการสอนทางไกล นัดหมายการทำงาน
สรา้ งเครอ่ื งมือเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู

2.1.2 วเิ คราะห์ความเสย่ี ง ติดตามนโยบาย วางแผน/กำหนดมาตรการรองรบั
1) คณะครู ผู้บริหารและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนศรีแก้งคร้อ ร่วมประชุมเพื่อ

วิเคราะห์ความเสี่ยงของสถานการณ์ปัจจบุ ันในระดับประเทศ ระดับจังหวัดและระดับพื้นที่ วิเคราะห์ข้อมูล
ความพรอ้ มของผเู้ รยี นและผู้ปกครองที่รวบรวมได้

2) กำหนดแผนงานและมาตรการรองรับ ออกเปน็ 2 แผนงาน ไดแ้ ก่
(1) แผนงานหลัก กรณกี ารจดั การเรียนการสอนตามปกติ ( On Site )
(2) แผนงานสำรอง กรณีการจดั การเรยี นการสอนทางไกล (สำหรบั เหตุการณ์ท่ีไม่

สามารถจดั การเรยี นการสอนปกติได้)
2.1.3 จดั หาวสั ดุอปุ กรณท์ ่เี ก่ยี วข้อง
1) จดั หาหนา้ กากอนามยั สำหรับนกั เรยี นทกุ คน
2) จดั หาเจลลา้ งมอื พร้อมอุปกรณ์ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง โดยการจัดซื้อและประสานขอความ

อนุเคราะห์หนว่ ยงานภายนอก จัดเตรยี มจดุ ให้บริการล้างมือในบริเวณสะดวกและทั่วถึง
3) จดั หาเทอรโ์ มมเิ ตอร์ตรวจวัดไขม้ อบใหค้ รูทุกคน
4) จัดเตรยี มสถานที่ กำหนดสัญลักษณต์ ามมาตรการ Social Distancing ได้แก่ บรเิ วณ

หน้าเสาธง หน้าช้นั เรียน โรงอาหาร หอประชุม ห้องเรียน และทดี่ ่มื นำ้ เป็นตน้
2.1.4 ประชมุ ผปู้ กครองรายชั้น/สรา้ งความรว่ มมือ
1) โรงเรียนจดั การประชุมผู้ปกครองรายชั้น เพ่อื สื่อสารสร้างความเขา้ ใจและแสวงหา

ความรว่ มมือตามหัวข้อต่อไปนี้
(1) ความรู้ความเขา้ ใจเก่ยี วกบั โรคตดิ เชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019 /อนั ตราย/วิธีการปอ้ งกนั

และสถานการณ์ปจั จุบัน
(2) แนวทางการจดั การเรียนการสอนในสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 /

เหตุผลและความจำเปน็ /แผนงานหลัก แผนงานสำรองและมาตรการรองรบั / บทบาทและความร่วมมือ
ระหวา่ งโรงเรยี น ครู ผูป้ กครองและนกั เรียนในแตล่ ะแผนงาน นดั หมายการดำเนินการ

(3) มาตรการกักกนั ตนเอง 14 วนั ของนักเรยี นทเ่ี ดินทางมาจากนอกพนื้ ท่ี กอ่ นการ
เปดิ ภาคเรยี น

(4) สร้างช่องทางสอื่ สารผา่ นกลมุ่ ไลน์ ระหวา่ งโรงเรยี น ครูผสู้ อนและผปู้ กครอง



2.1.5 ประสานหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง บทบาท/ความร่วมมือ
ท่ี หนว่ ยงาน
1 เทศบาลตำบลแกง้ คร้อ 1) การดำเนินการเกี่ยวกับงบประมาณอาหารกลางวนั
นกั เรียนและการจดั หาอาหารเสริม(นม)
2 โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สุขภาพตำบล 2) การบริการรถดบั เพลิงในการฉดี นำ้ ทำความสะอาด
ชอ่ งสามหมอ รอบบริเวรโรงเรียน

3 สถานีตำรวจภธู รอำเภอแก้งครอ้ 1) ประสานงาน อสม. ประจำหมู่บา้ นติดตาม/ให้การ
รับรองนักเรยี นทก่ี ักกนั ตนเอง 14 วัน เน่อื งจาก
เดนิ ทางมาจากนอกพนื้ ท่ี
3) ประสาน อสม.ประจำหมูบ่ ้าน ปฏบิ ัติหนา้ ที่คัดกรอง
นักเรยี น/ผ้ปู กครองบริเวณหน้าโรงเรยี นร่วมกับครูเวร
เวลา 7.30-8.10 น.

ให้การบริการงานจราจรเวลา 07.00-8.00 น. และ
15.00 -16.00 น.

2.2 ขน้ั ควบคมุ
กรณที ส่ี ถานการณ์การระบาดโรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 ในพื้นทค่ี ลคี่ ลายลง ได้รบั อนุญาตจาก

ศบค. จงั หวัดและหน่วยงานตน้ สงั กดั ให้จัดการเรยี นการสอนตามปกติได้ โรงเรยี นศรแี ก้งคร้อ จะดำเนินการ
ตามแผนงานหลกั กรณกี ารจดั การเรียนการสอนตามปกติ (On Site) เข้าสู่ระยะควบคมุ ดังนี้

2.2.1 เปดิ ภาคเรียน กำหนดเปน็ ระยะควบคุมไม่นอ้ ยกว่า 30 วนั
1) เปดิ ภาคเรยี นวนั ท่ี ๑๔ มถิ ุนายน ๒๕๖๔ โดยในสัปดาหแ์ รก จะเปน็ การอบรมเตรยี ม

ความพร้อมตามมาตรการป้องกันการติดเช้ือ การดูแลตนเองและทักษะชีวิตอน่ื ๆ ท่ีเก่ียวข้องให้แกน่ ักเรยี น
ทกุ คน

2) กลมุ่ เป้าหมายคือนักเรยี นทุกคนทกุ ระดับมาเรียนทีโ่ รงเรียน ตามมาตรการปอ้ งกันการ
ตดิ เชอื้ อย่างเขม้ งวดตามทีโ่ รงเรยี นกำหนดไม่นอ้ ยกว่า 30 วัน

2.2.2 กำหนดมาตรการป้องกันการติดเชอื้

ประเด็น/มาตรการ วธิ ีดำเนินการของโรงเรียนตามมาตรการฯ หมายเหตุ

1. การจัดหาหนา้ กาก 1) โรงเรียนจัดหาหน้ากากอนามยั เพื่อใชใ้ นโรงเรยี น

อนามัย/หนา้ กากผ้า/Face 2) ประชาสมั พนั ธ์ให้ผ้ปู กครองจดั หาเพมิ่ เติม

Shield ใหน้ กั เรยี นใช้ครบ 3) จดั หาหนา้ กากอนามยั สำรองสำหรับกรณีจำเป็น

ทุกคน/ทกุ วนั 4) ฝึกและกำกับการใช้หนา้ กากอนามยั ในโรงเรียน

และเม่ืออย่รู ่วมกบั ผ้อู นื่ ให้แก่นกั เรยี นทุกคน

2. การจดั หาแอลกอฮอล/์ 1) จัดหา/ผลิตเจลลา้ งมอื และจัดหาอปุ กรณ์ที่

เจลล้างมือให้เพียงพอ เก่ยี วขอ้ ง เชน่ แทน่ เหยียบเจลล้างมอื เพื่อลงการ

สมั ผัส

ประเดน็ /มาตรการ วิธดี ำเนนิ การของโรงเรียนตามมาตรการฯ ๘
หมายเหตุ

2) กำหนดจุดใหบ้ รกิ ารเจลลา้ งมือให้ครอบคลุมพืน้ ที่

และเพยี งพอต่อการให้บริการ

3) ปรับปรุงและเพิม่ เติมสถานที่ล้างมือพร้อมสบู่

เหลวใหอ้ ยู่ในสภาพพร้อมให้บรกิ ารแก่ทกุ คน

4) กำหนดชว่ งเวลาลา้ งมอื เช่น กอ่ นเขา้ โรงเรียน

กอ่ นและหลังชัว่ โมงเรียน เป็นตน้

3. เคร่อื งตรวจวดั อณุ หภมู ิ 1) จัดหาเทอร์โมมเิ ตอรว์ ัดไข้คุณภาพดี สำหรบั ครู

ทกุ คนเพื่อใชใ้ นการคดั กรองนักเรยี นก่อนเข้า

โรงเรยี น ระหวา่ งเรียนและการสมุ่ ตรวจ

2) กำหนดเวรยามหน้าประตโู รงเรียนปฏบิ ัติหนา้ ท่ี

คดั กรองนกั เรยี นกอ่ นเขา้ โรงเรยี น

4. การเวน้ ระยะห่างทาง 1) จดั เตรยี มสถานที่ กำหนดสญั ลกั ษณ์ระยะหา่ ง

สงั คม (Social Distancing) อย่างน้อย 1 เมตรตามมาตรการ Social

ในกิจกรรมการเรยี นการ Distancing ไดแ้ ก่ บริเวณหน้าเสาธง หนา้ ชน้ั เรยี น

สอน/กิจกรรมอน่ื ๆ เชน่ การ โรงอาหาร หอประชุม ห้องเรียน และท่ดี ่มื นำ้ เป็น

จดั ทน่ี ่งั , การเข้าแถวหนา้ เสา ตน้

ธง/การเข้าแถวเพื่อรับบรกิ าร 2) กำกับตดิ ตามและควบคุมมาตรการโดยเครง่ ครดั

เป็นต้น 3) งด/หลีกเล่ยี งการจดั กจิ กรรมท่บี ุคคลต้องเขา้ ร่วม

จำนวนมากในคราวเดยี วกัน

5. การรบั ประทานอาหาร 1) นักเรียนปฐมวัยและชน้ั ประถมศึกษา ดืม่ นมที่

เช้า-กลางวัน/การด่มื นม/น้ำ โรงเรยี นเวลา 8.10 น. โดยกำหนดระยะหา่ ง

ดม่ื รายบุคคลอยา่ งน้อย 1 เมตร

๒) นักเรยี นปฐมวยั รับประทานอาหารกลางวนั ณ

หน้าหอ้ งเรยี น เวลา 11.00 น. โดยกำหนด

ระยะห่างรายบุคคลอย่างน้อย 1 เมตร

3) นกั เรยี นชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1-6 รบั ประทาน

อาหารกลางวนั /ดื่มนมที่โรงเรียน เวลา 11.30น.

โดยกำหนดระยะห่างรายบุคคลอย่างนอ้ ย 1 เมตร

4) โดยกำหนดให้นกั เรียนชันประถมศกึ ษาปีที่ 1-4

รบั ประทานอาหารในห้องเรียน โดยกำหนดระยะห่าง

รายบคุ คลอย่างนอ้ ย 1 เมตร และนกั เรียนชั้น

ประถมศึกษาปีท่ี 5-6 รับประทานอาหารกลางวันท่ี

โรงเรียน โดยกำหนดระยะห่างรายบุคคลอย่างน้อย

1 เมตร



ประเด็น/มาตรการ วธิ ดี ำเนนิ การของโรงเรยี นตามมาตรการฯ หมายเหตุ

6. วิธีการเดินทางไป-กลับ 5) นกั เรยี นนำภาชนะบรรจุน้ำดืม่ มาโรงเรียน หรอื
ของนักเรยี น เชน่ เตรยี มแก้วสำหรับดืม่ นำ้ เฉพาะตนมาใช้ โรงเรียนจัด
น้ำดืม่ ผ่านเครื่องกรองน้ำท่ีมคี ุณภาพไวบ้ ริการ
- กรณีเดนิ ทางไป-กลบั
ด้วยรถโดยสาร/รับจา้ ง 1) นักเรยี นเดนิ ทางกลบั โดยใชร้ ถจกั รยาน เดนิ เทา้
และผ้ปู กครองมารบั (ไมม่ รี ถโดยสารรับส่ง)
7. การใหค้ วามรู้ด้านการ 2) กระต้นุ การเดนิ ทางกลับโดยเวน้ ระยะห่างจาก
ปอ้ งกันการตดิ เชื้อไวรสั โคโร ผอู้ นื่ อยา่ งน้อย 1 เมตรตามมาตรการ Social
นา 2019 (COVID-19) แก่ Distancing
นกั เรยี น/ผปู้ กครอง 3) จัดสถานท่ีผูป้ กครองรอรบั นักเรยี นหน้าประตู
8. มาตรการการป้องกันอนื่ โรงเรียน กำหนดระยะห่างอย่างนอ้ ย 1 เมตร
ๆ เช่น การสลับวนั มาเรยี น
เปน็ ต้น 1) ความรู้ผปู้ กครองทุกคนระหว่างการประชุม
ผปู้ กครอง ผ่านปา้ ยประชาสมั พันธ์ เฟสบคุ โรงเรยี น
๙. การเชค็ สถิติการมา และเวบ็ ไซต์โรงเรียน
โรงเรยี นของนกั เรียน
1) มาตรการเปิด-ปดิ ประตูโรงเรียนตามเวลาท่ี
กำหนด สอดคล้องกบั ระบบคัดกรองนักเรียน
2) กำหนดกระบวนการคัดกรองบคุ คลภายนอกที่เขา้
มาตดิ ตอ่ ราชการโดยเครง่ ครัด
3) ฉีดพ่นยาฆ่าเชอ้ื โรคในอาคารเรียนและอาคาร
ประกอบเปน็ ประจำตามระยะเวลาทก่ี ำหนด

๑) มาตรการการตรวจสอบการดำเนินการตาม ตัวอย่าง Google
มาตรการการปอ้ งกัน โดยใหค้ รปู ระจำช้นั เช็คการ Form ใน
มาโรงเรียนของนักเรยี น การได้รบั การคดั กรอง ภาคผนวก
หรอื ไม่ นักเรียนมีหนา้ การอนามัยหรอื ไม่ นักเรียนไม่
มาโรงเรียนด้วยเหตุใด เปน็ ต้น

2.2.3 รปู แบบการจัดการเรยี นการสอนแบบปกติในชั้นเรียน
โดยโรงเรียนศรีแก้งคร้อ จัดรูปแบบการเรียนการสอนแบบปกติในช้นั เรียน โดยไดป้ ระเมิน

ตนเองก่อนเปดิ ภาคเรยี นผ่าน Thai Stop COVID Plus ผา่ นเวบ็ ไซตข์ องกรมอนามัย
https://stopcovid.anamai.moph.go.th/th/school และจดั หอ้ งเรยี นโดยคำนึงถึงกฎการรักษา
ระยะหา่ ง โดยจดั โต๊ะเรยี นเว้นระยะห่างจากผู้อน่ื อย่างน้อย 1 เมตรตามมาตรการ Social Distancing และ
การกำชบั ใหน้ ักเรียนสวมหนา้ การอนามยั ตลอดเวลาที่อย่ใู นโรงเรยี น

2.2.4 กำกบั ติดตามการดำเนนิ การ
คณะกรรมการท่ไี ดร้ ับมอบหมายตดิ ตามการดำเนินงานทุกวัน ประเมนิ รายงานผล

ความกา้ วหนา้ ระหว่างการดำเนนิ งานทุกสัปดาห์

๑๐

2.2.5 ประเมินผลการดำเนนิ การ
คณะกรรมการประเมินผลการดำเนินงานหลงั ระยะควบคุมเสนอผูบ้ รหิ ารเพ่ือตดั สนิ ใจ
1) คงระยะควบคุม ปรบั ปรงุ ข้อบกพร่อง โดยใชเ้ วลาตามท่คี ณะกรรมการกำหนด
หรอื 2) ดำเนนิ การในขน้ั จัดการเรียนการสอนปกตเิ ตม็ รปู แบบตอ่ ไป

2.3 ขั้นจดั การเรยี นการสอนปกติ
กรณีที่สถานการณ์การระบาดโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 ในพ้นื ท่เี ขา้ สภู่ าวะปกติ ได้รับอนญุ าต

จาก ศบค. จงั หวดั และหน่วยงานตน้ สังกัดใหจ้ ัดการเรียนการสอนตามปกตไิ ด้ โรงเรยี นศรีแก้งคร้อ จะ
ดำเนินการตามแผนงานหลัก กรณกี ารจัดการเรยี นการสอนตามปกติ ( On Site learning) เข้าสรู่ ะยะ
จดั การเรียนการสอนปกติ ดังน้ี

2.3.1 จัดการเรยี นการสอนเต็มรปู แบบ
1) จดั การเรยี นการสอนโดยมีกลุ่มเป้าหมายคือนักเรียนทุกคนมาเรียนที่โรงเรยี นตาม

ตารางสอนท่ีจดั เตม็ รปู แบบ จัดการเรยี นการสอนโดยครปู ระจำชน้ั
2) จัดการเรยี นการสอนชดเชยเพ่ิมเติมในชว่ งทีเ่ ล่ือนเปิดภาคเรยี นที่ 1/2564

2.3.2 คงมาตรการป้องกันการตดิ เช้อื
โรงเรียนยงั คงมาตรการปอ้ งกันการตดิ เชื้อโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ตามแนวทาง

ของกระทรวงสาธารณสุข ได้แก่
1) สวมหนา้ กากอนามยั
2) ลา้ งมอื ดว้ ยสบเู่ หลวหรือเจลล้างมอื บ่อย ๆ
3) คดั กรองนักเรยี นดว้ ยเคร่ืองมือวดั ไขก้ ่อนเข้าเรียนเช้าบ่าย สุม่ ตรวจเป็นระยะ
4) รักษาระยะห่างจากผู้อืน่ อยา่ งนอ้ ย 1 เมตรตามมาตรการ Social Distancing

2.3.3 กำกบั ตดิ ตามการดำเนนิ การ
คณะกรรมการทไ่ี ดร้ บั มอบหมายติดตามการดำเนนิ งานทกุ วัน ประเมนิ รายงานผล

ความก้าวหนา้ ระหวา่ งการดำเนนิ งานทกุ สปั ดาห์ต่อผูบ้ ริหาร
2.3.4 ประเมินผล/รายงานผลการดำเนนิ การ
คณะกรรมการประเมนิ ผลการดำเนินงานหลงั สนิ้ ภาคเรียนเพื่อผ้บู ริหารตดั สินใจดำเนนิ การ

ในเชิงนโยบายและรายงานผลการดำเนนิ งานต่อหนว่ ยงานต้นสงั กดั ตอ่ ไป

๑๑

ส่วนที่ 3
แผนงานสำรอง กรณกี ารจัดการเรยี นการสอนทางไกล

3. แผนงานสำรอง กรณีการจดั การเรียนการสอนทางไกล

ตามแนวทางการจัดการเรียนการสอนของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ปี
การศึกษา 2564 ซึ่งกระทรวงศึกษาธิการ ได้กำหนดรูปแบบการจัดการเรียนการสอนสำหรับโรงเรียน ใน
สถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคติดเช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) 4 รูปแบบ ดงั นี้

3.1 แบบ On-AIR เปน็ การจดั การเรียนการสอนแบบทางเดยี ว ผา่ นระบบสอ่ื สารช่องทาง
หลักโดยส่งสัญญาณครูผู้สอนต้นทางมาจาก โรงเรียนวังไกลกังวล อ.หัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ซึ่งเป็น
ชอ่ งทาง ในการเผยแพร่การเรยี นรู้ DLTV ของ มลู นิธกิ ารศกึ ษาทางไกลผ่านดาวเทียมในพระบรมราชูปถัมภ์
ในระดบั อนุบาลถงึ ช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 3 ชอ่ งทางส่ือสารหลักมีดงั น้ี

3.1.1 ส่งสัญญาณผ่านดาวเทียม(DLTV) มี 2 แบบ ออกอากาศผ่านดาวเทียม
ไทยคม

1) แบบ KU-BAND (จานทึบ 75 ช่อง) ระดับชั้น ม.1-ม.6 CH-186-
CH-200 ตารางออกอากาศระดับช้ัน ม.1-ม.3 ภาคเรยี นท่ี 1/2564

2) แบบ C-BAND HD (จานตะแกรง 6 ฟุต) (งดออกอากาศ)
- อปุ กรณ์ปลายทางท่ีต้องเตรียม: จานรบั +LNB+สายนำสัญญาณ+กล่อง
รับสัญญาณ+เครอ่ื งรับโทรทศั น์
3.1.2 ส่งสญั ญาณผา่ นทีวิดี ิจติ อล (DLTV) (งดออกอากาศ)
- อุปกรณ์ปลายทางที่ต้องเตรียม: กล่องรับสัญญาณ+แผงรับสัญญาณ+
เสาติดตั้งแผง+สายนำสัญญาณ+เครื่องรับโทรทัศน์ (ระยะทางจากเสารับห่างจากเสาส่งไม่เกิน 100 กม.)
ช้ัน ม.1-ม.3 CH-37-CH+51
- ตรวจสอบสถานสี ่งดจิ ติ อลทวี ใี นท้องถิ่น
3.2 แบบ On-hand หมายถึง การจัดการเรยี นการสอนสำหรบั นักเรียนทีไ่ ม่มีความพร้อม
ด้านอุปกรณ์สำหรับการเรียนการสอนทางไกล โดยการนำ หนังสือเรียน แบบฝึกหัด ใบงาน และสื่อการ
เรียนรู้อืน่ ๆ ไปใหน้ ักเรยี นไดเ้ รียนรู้ท่ีบา้ น ภายใต้ความดูแล ช่วยเหลือของผู้ปกครองในขณะทีเ่ รียนรู้
3.3 แบบ On Demand
3.3.1 ส่งสัญญาณ DLTV ผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต (NEW DLTV) เป็นการ
จดั การเรียนการสอนแบบทางเดียวมคี รสู อนจากต้นทาง ครูปลายทางสามารถเช่ือมต่อเครือขา่ ยอินเตอร์เน็ต
ได้ทั้งอนิ เตอร์เนต็ บ้านและมอื ถือ
- อุปกรณ์ปลายทางที่ต้องเตรียม: ระบบอินเตอร์เน็ต Computer
Tablet smartphone smart TV
- ผ่าน App DLTV เว็บไซต์ DLTV.ac.th, Youtube ผู้เรียนสามารถ
รบั ชมซำ้ และย้อนหลังได้
- ผ่าน เวบ็ ไซต์ DLIT www.dlit.ac.th

๑๒

- บทเรียน ออนไลน์ ในช่วงสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส
โคโรนา่ 2019 โดยสถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์ สสวท.

3.4 แบบ On-LINE หมายถึง การจัดการเรียนการสอนในรูปแบบวีดีโอคอนเฟอร์เร้นท์
และรูปแบบการถ่ายทอดสด เป็นการจัดการเรยี นการสอนผา่ นเครอื ข่ายอินเทอร์เน็ต ในรูปแบบสือ่ สารสอง
ทาง (Video Conference) หรือรูปแบบสื่อสารทางเดียวในแบบถ่ายทอดสด (LIVE Streaming ) ระหว่าง
ครแู ละนักเรียน โดยนกั เรียนจะตอ้ งมีความพรอ้ มดา้ นอปุ กรณ์และเครือขา่ ยอนิ เทอร์เนต็

- รปู แบบ Video Conference การสื่อสารสองทาง พูดโต้ตอบกันไดท้ ้ังภาพและ
เสียง มีข้อจำกัดของจำนวนคนโดยทั่วไปบัญชีละไม่เกิน 100 คน เป็นที่นิยมใช้กันในปัจจุบันในระดับชั้น
มัธยม และอุดมศึกษา โดยใช้ APP google workspace for education fundamentals , Microsoft
Office 365 For Education , DEEP, Zoom , Webex ,MS TEAM ,Class Room และโปรแกรมประยกุ ต์
อ่ืนๆ ตามความเหมาะสม

- รปู แบบ LIVE Streaming การส่อื สารแบบทางเดยี ว ในลกั ษณะการถา่ ยทอดสด
ไม่สามารถพูดโต้ตอบกันได้ ในลักษณะสื่อสารทางเดียว เหมือนกับ สถานีโทรทัศน์ สถานีวิทยุ รองรับจำ
นานคนได้มาก เครื่องมือที่นิยมใช้ OBS Studio , Wirecast , vMix , Ecamm Live , Facebook Live
,Youtube Live ฯลฯ

- อุปกรณ์ปลายทางที่ผู้เรียนต้องเตรียม : ระบบอินเตอร์เน็ต, Computer,
Tablet, Smartphone

- สิ่งทีผ่ ู้เรยี น/ผู้สอนต้องเตรยี ม :
1. สำรวจความพร้อมของนักเรียนแตล่ ะกลุ่มเพ่อื กำหนดทรัพยากร
2. สมัครใช้อีเมล์ตามค่ายที่เลือกใช้เช่น ค่าย Google ได้แก่ @Gmail ,

DEEP คา่ ย Microsoft ไดแ้ ก่ @Obecmail ,DEEP ,@microsoft เปน็ ต้น
3. กำหนดช่องทางการสื่อสารที่ 2 ประเภท Social เช่น Line

Facebook Intragram Wechat IG เปน็ ต้น สำหรับใช้ติดตอ่ ส่ือสาร ในระดบั กล่มุ ผ้เู รียน และรายบคุ คล

หากสถานการณ์มีความเสี่ยงและรนุ แรงเพิม่ มากขึน้ หน่วยงานต้นสงั กัดหรือ ศบค.จังหวัดชัยภูมิ มี
มติให้จัดการเรียนการสอนทางไกล โรงเรียนศรีแก้งคร้อ จะดำเนินการจัดการเรียนการสอนตามแผนงาน
สำรอง กรณีการจดั การเรยี นการสอนทางไกล ดังนี้

๑๓

แผนงานสำรองของโรงเรยี นศรีแก้งคร้อ กรณีการจัดการเรียนการสอนทางไกล

โรงเรยี นศรีแกง้ คร้อ ใช้รูปแบบการจดั การเรยี นการสอน แบบผสมผสานดังน้ี รปู แบบ On hand,
On demand และ Online จัดรูปแบบการเรยี นร้โู ดยคำนึงถึงผู้เรียนเปน็ สำคญั โดยมวี ิธีการดำเนนิ
จดั รปู แบบการเรียนการสอนในแตล่ ะรปู แบบดังนี้

๑) แบบ On-hand หมายถึง การจัดการเรียนการสอนสำหรับนักเรียนที่ไม่มีความพร้อมด้าน
อุปกรณ์สำหรับการเรียนการสอนทางไกล โดยการนำ หนังสือเรียน แบบฝึกหัด ใบงาน และสื่อการเรียนรู้
อื่น ๆ ไปให้นักเรียนได้เรียนรู้ที่บ้าน ภายใต้ความดูแล ช่วยเหลือของผู้ปกครองในขณะที่เรียนรู้ และคุณครู
คอยติดตามผลการเรียนของผู้เรียนอย่างสม่ำเสมอ โดยใช้ช่องทางติดต่อทางโทรศัพท์ แอพพลิเคชั นไลน์
หรือการไปเยีย่ มบ้านของนักเรียน

2) แบบ On Demand
จัดการเรียนการสอนโดยการอัดคลิปวีดีโอการสอน ส่งให้นักเรียนกลุ่มไลน์ห้องเรียน ให้

นักเรียนเรยี นรอู้ ยู่ทบ่ี ้าน เปน็ การจดั การเรยี นการสอนแบบทางเดียวมี นักเรียนสามารถสอบถามครูผู้สอนได้
ผา่ นทางไลน์หอ้ งเรยี นเชน่ กนั ผา่ นการเชอ่ื มตอ่ เครอื ขา่ ยอินเตอร์เนต็ ไดท้ ง้ั อนิ เตอรเ์ น็ตบา้ นและมือถือ

- อุปกรณ์ปลายทางที่ต้องเตรียม: ระบบอินเตอร์เน็ต Computer Tablet
smartphone smart TV

- ผ่านแอพพลเิ คชนั ไลน์ (Line) กลุ่มห้องเรียน
- ผ่าน Youtube ซึ่งโรงเรียนศรีแก้งคร้อได้สร้างช่องยูปทูปของโรงเรียนขึ้น
เพื่อใหผ้ ูเ้ รียนสามารถรับชมซ้ำและยอ้ นหลงั ได้
https://www.youtube.com/channel/UCjoGuM_g8DDUeBMOAoGJ1AA
- บทเรียน ออนไลน์ ในช่วงสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส
โคโรนา่ 2019 โดยสถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์ สสวท.
๓) แบบ On-LINE หมายถงึ การจัดการเรียนการสอนในรูปแบบวีดีโอคอนเฟอร์เร้นท์และรูปแบบ
การถ่ายทอดสด เป็นการจัดการเรียนการสอนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ในรูปแบบส่ือสารสองทาง (Video
Conference) หรือรปู แบบส่อื สารทางเดียวในแบบถ่ายทอดสด (LIVE Streaming ) ระหว่างครแู ละนกั เรียน
โดยนกั เรยี นจะต้องมีความพรอ้ มดา้ นอุปกรณแ์ ละเครือขา่ ยอินเทอร์เน็ต
- รปู แบบ Video Conference การส่อื สารสองทาง พดู โตต้ อบกนั ได้ทั้งภาพและ
เสียง มีข้อจำกัดของจำนวนคนโดยทั่วไปบัญชีละไม่เกิน 100 คน เป็นที่นิยมใช้กันในปัจจุบันในระดับช้ัน
มัธยม และอุดมศึกษา โดยใช้ APP google workspace for education fundamentals , Microsoft
Office 365 For Education , DEEP, Zoom , Webex ,MS TEAM ,Class Room และโปรแกรมประยุกต์
อนื่ ๆ ตามความเหมาะสม
- รูปแบบ LIVE Streaming การส่ือสารแบบทางเดยี ว ในลกั ษณะการถ่ายทอดสด
ไม่สามารถพูดโต้ตอบกันได้ ในลักษณะสื่อสารทางเดียว เหมือนกับ สถานีโทรทัศน์ สถานีวิทยุ รองรับจำ
นานคนได้มาก เครื่องมือที่นิยมใช้ OBS Studio , Wirecast , vMix , Ecamm Live , Facebook Live
,Youtube Live ฯลฯ

๑๔

- อุปกรณ์ปลายทางที่ผู้เรียนต้องเตรียม : ระบบอินเตอร์เน็ต, Computer, Tablet,
Smartphone

- สง่ิ ทผี่ เู้ รยี น/ผู้สอนตอ้ งเตรียม :
1. สำรวจความพรอ้ มของนกั เรียนแตล่ ะกล่มุ เพื่อกำหนดทรัพยากร
2. สมัครใช้อีเมล์ตามค่ายที่เลือกใช้เช่น ค่าย Google ได้แก่ @Gmail , DEEP

ค่าย Microsoft ได้แก่ @Obecmail ,DEEP ,@microsoft เป็นต้น
3. กำหนดช่องทางการสื่อสารที่ 2 ประเภท Social เช่น Line Facebook

Intragram Wechat IG เปน็ ตน้ สำหรบั ใชต้ ดิ ต่อสือ่ สาร ในระดับกลุ่มผู้เรียน และรายบุคคล
๔. จดั ทำคลิปย้อนหลงั สำหรับให้นกั เรียนท่ีไม่สามารถเขา้ เรียน หรือเข้าเรยี นแล้ว

เรยี นยอ้ นหลังได้

๑๕

สว่ นที่ 4
การเตรยี มความพร้อมในการป้องกันการแพรร่ ะบาดของ

โรคติดเชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในสถานศึกษา

4.1 การเตรียมความพร้อมในการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019
(COVID-19) ในสถานศกึ ษา

โรงเรยี นศรีแก้งคร้อ ไดก้ ำหนดแนวปฏิบัติในการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดต่อเช้ือ
ไวรัสโคโรนา่ 2019 (COVID-19) ให้เกดิ ประโยชน์และมผี ลกระทบในทางที่ดีต่อบคุ ลากรทเ่ี ก่ียวข้อง ได้แก่
ผู้บริหาร ครู ผู้ปกครองนักเรียน และผู้เกี่ยวข้อง ดังนั้น จึงกำหนดแนวปฏิบัติสำหรับบุคลากรของ
สถานศกึ ษาสำหรับใช้เปน็ แนวทางการปฏบิ ัติตนอย่างเคร่งครัด มดี งั นี้

1) คดั กรอง (Screening) ผู้ทเี่ ข้ามาในสถานศึกษาทุกคนต้องได้รับการคดั กรองวดั
อณุ หภูมิรา่ งกาย

2) สวมหน้ากาก (Mass) ทุกคนต้องสวมหนา้ กากผา้ หรอื หน้ากากอนามยั ตลอดเวลาที่อยู่
ในสถานศึกษา

3) ล้างมือ (Hand Washing) ล้างมือบ่อย ๆ ด้วยสบู่และน้ำ นานอย่างน้อย 20 วินาที
หรือใช้เจนแอลกอฮอล์ หลีกเลี่ยงการสัมผัสบริเวณจุดเสี่ยง รวมทั้งไม่ใช้มือสัมผัส ใบหน้า ตา ปาก จมูก
โดยไมจ่ ำเป็น

4) เว้นระยะหา่ ง (Social Distancing) เว้นระยะห่างระหวา่ งบคุ คล อยา่ งน้อย 1 - 2
เมตร รวมถงึ การจดั เว้นระยะหา่ งของสถานที่

5) ทำความสะอาด (Cleaning) เปิดประตู หน้าต่าง ให้อากาศถ่ายเท ทำความสะอาด
ห้องเรียน และบริเวณต่าง ๆ โดยเช็ดทำความสะอาดพื้นผิวสัมผัสของโต๊ะ เก้าอ้ี และวัสดุอุปกรณ์ ก่อนเข้า
เรียน ช่วงพักเที่ยงและหลังเลิกเรยี นทกุ วัน รวมถึงจัดให้มถี ังขยะมูลฝอยแบบมฝี าปิด และรวบรวมขยะออก
จากห้องเรียน เพอ่ื นำไปกำจัดทกุ วัน

6) ลดแออดั (Reducing) ลดระยะเวลาการทำกิจกรรมใหส้ ัน้ ลงเท่าทีจ่ ำเป็น หรอื เหลื่อม
เวลา ทำกิจกรรมและหลีกเล่ยี งการทำกิจกรรมรวมตัวกันเป็นกลมุ่ ลดความแออดั

4.2 มาตรการและแนวทางในการดูแลด้านอนามัยและสิง่ แวดล้อม
โรงเรียนศรีแก้งคร้อ สังกัดสำนักงานเขตพื้นท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาประถมศกึ ษาชยั ภูมิ เขต 2 มี
การระบุรายละเอียดลงในแผนและแนวทางการบริหารการจัดการเรียนการสอน ในสถานการณ์การแพร่
ระบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ของโรงเรยี น ดังนี้
4.2.1 การกำหนดแนวปฏิบัติของบคุ ลากรที่เก่ียวขอ้ ง
แนวปฏบิ ตั สิ ำหรับผบู้ ริหารโรงเรยี น
1. ประกาศนโยบายและแนวปฏิบัติในการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา
2019 ในสถานศกึ ษา
2. จดั ตั้งคณะทำงานดำเนินการควบคมุ ดูแลและป้องกันการแพร่ระบาดของโรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา
2019 ประกอบด้วย ครู นักเรียน ผู้ปกครอง เจ้าหน้าที่สาธารณสขุ ท้องถิ่น ชุมชน และผู้เกี่ยวข้อง พร้อม
บทบาทหน้าทอ่ี ย่างชดั เจน

๑๖

3. ทบทวน ปรบั ปรงุ ซ้อมปฏิบตั ิตามแผนฉุกเฉินของสถานศึกษาในภาวะท่ีมีการระบาดของโรคติด
เชอ้ื (Emergency operation for infectious disease outbreaks)

4. สื่อสารประชาสัมพันธ์การป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 เกี่ยวกับนโยบาย มาตรการ
แนวปฏิบัติ และ การจัดการเรียนการสอนให้แก่ครู นักเรียน ผู้ปกครอง และคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
ผ่านช่องทางสื่อที่เหมาะสมและติดตามข้อมูลข่าวสารที่เกี่ยวข้องกับโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 จาก
แหล่งขอ้ มูลที่เชอื่ ถอื ได้

5. ส่อื สารทำความเขา้ ใจเพอื่ ลดการรงั เกยี จและลดการตตี ราทางสังคม (Social stigma)
6. มีมาตรการคัดกรองสุขภาพทุกคน บริเวณทางเข้าไปในสถานศึกษา (Point of entry) ให้แก่
นักเรียนครู บุคลากร และผู้มาติดต่อ และจัดให้มีพื้นที่แยก และอุปกรณ์ป้องกัน เช่น หน้ากากผ้าหรือ
หน้ากากอนามัย เจลแอลกอฮอล์ อย่างเพียงพอ รวมถึงเพิ่มช่องทางการสื่อสารระหว่างครู นักเรียน
ผปู้ กครอง และเจ้าหน้าทีส่ าธารณสุขในกรณีท่ีพบนกั เรยี นกลุ่มเสย่ี งหรือสงสยั
7. พิจารณาการจัดให้นักเรียนสามารถเข้าถึงการเรียนการสอนที่มีคุณภาพเหมาะสมตามบริบท
อย่างต่อเนื่อง ตรวจสอบติดตาม กรณีนักเรียนขาดเรียน ลาป่วย การปิดสถานศึกษา การจัดให้มีการเรียน
ทางไกล ส่อื ออนไลน์ การติดต่อทางโทรศพั ท์ Social media โดยตดิ ตามเป็นรายวันหรอื สปั ดาห์
8. กรณีพบนักเรียน ครู บุคลากร หรือผู้ปกครองอยู่ในกลุ่มเสี่ยงหรือผู้ป่วยยืนยันเข้ามาใน
สถานศกึ ษาให้รีบแจ้งเจา้ หน้าทีส่ าธารณสุขในพนื้ ที่ เพ่ือดำเนินการสอบสวนโรคและพจิ ารณาปิดสถานศึกษา
ตามแนวทางของกระทรวงสาธารณสุข
9. มมี าตรการใหน้ ักเรียนได้รบั อาหารกลางวันและอาหารเสรมิ นม ตามสิทธทิ ี่ควรได้รบั กรณีพบอยู่
ใน กลุม่ เส่ยี งหรือกักตัว
10. ควบคุม กำกบั ตดิ ตาม และตรวจสอบการดำเนินงานตามมาตรการปอ้ งกนั การแพรร่ ะบาด
ของ โรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา 2019 ในสถานศกึ ษาอย่างเครง่ ครัดและต่อเน่ือง
แนวปฏิบัติสำหรบั ครู ผูด้ แู ลนกั เรียน
1. ติดตามข้อมูลข่าวสารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค พื้นที่เสี่ยง คำแนะนำการป้องกัน
ตนเองและลดความเสี่ยงจากการแพร่กระจายของเชื้อโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 จากแหล่งข้อมูลท่ี
เชอื่ ถอื ได้
2. สังเกตอาการป่วยของตนเอง หากมีอาการไข้ ไอ มีน้ำมูก เจ็บคอ หายใจลำบาก เหนื่อยหอบ
ไม่ได้กลิ่นไม่รู้รส ให้หยุดปฏิบัติงาน และรีบไปพบแพทย์ทันที กรณีมีคนในครอบครัวป่วยด้วยโรคติดเชื้อ
ไวรัส โคโรนา 2019 หรือกลับจากพื้นที่เสี่ยงและอยู่ในช่วงกักตัว ให้ปฏิบัติตามคำแนะนำของเจ้าหน้าท่ี
สาธารณสุขอย่างเครง่ ครดั
3. แจ้งผู้ปกครองและนักเรียน ให้นำของใช้ส่วนตัวและอุปกรณป์ ้องกันมาใชเ้ ป็นของตนเอง พร้อม
ใช้เชน่ ช้อน สอ้ ม แก้วนำ้ แปรงสฟี ัน ยาสีฟนั ผ้าเช็ดหน้า หน้ากากผ้าหรอื หน้ากากอนามยั เปน็ ตน้
4. สื่อสารความรู้คำแนะนำหรือจัดหาสื่อประชาสัมพันธ์ในการป้องกันและลดความเสี่ยงจาก
การแพร่กระจายโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ให้แก่นักเรียน เช่น สอนวิธีการล้างมือที่ถูกต้อง การสวม
หน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามัย คำแนะนำการปฏิบัตติ ัว การเว้นระยะห่างทางสงั คม การทำความสะอาด
หลีกเลี่ยงการทำกิจกรรมร่วมกนั จำนวนมากเพอ่ื ลดความแออัด
5. ทำความสะอาดสื่อการเรยี นการสอนหรืออุปกรณข์ องใช้ร่วมที่เป็นจุดสัมผัสเสีย่ ง ทุกครั้งหลังใช้
งาน

๑๗

6. ควบคุมดูแลการจัดที่นั่งในห้องเรียน ระหว่างโต๊ะเรียน ที่นั่งในโรงอาหาร การจัดเว้นระยะห่าง
ระหว่างบุคคลอย่างน้อย 1 - 2 เมตร หรือเหลื่อมเวลาพักกินอาหารกลางวัน และกำกับให้นักเรียนสวม
หน้ากากผา้ หรือหน้ากากอนามยั ตลอดเวลา และลา้ งมอื บ่อย ๆ

7. ตรวจสอบ กำกับ ติดตามการมาเรียนของนักเรียนขาดเรียน ถูกกักตัว หรืออยู่ในกลุ่มเสี่ยงต่อ
การติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 และรายงานตอ่ ผู้บริหาร

8. ทำการตรวจคัดกรองสุขภาพทุกคนที่เข้ามาในสถานศึกษาในตอนเช้า ให้กับนักเรียน ครู
บุคลากร และผู้มาติดต่อ โดยใช้เคร่ืองวัดอุณหภูมทิ างหน้าผาก พร้อมสังเกตอาการและสอบถามอาการของ
ระบบทางเดินหายใจเช่น ไข้ ไอ มีน้ำมูก เจ็บคอ หายใจลำบาก เหนื่อยหอบ ไม่ได้กลิ่น ไม่รู้รส โดยติด
สญั ลกั ษณ์สติก๊ เกอร์ หรอื ตราป๊ัม แสดงให้เห็นชัดเจนวา่ ผ่านการคดั กรองแลว้

1) กรณีพบนักเรียนหรอื ผู้มีอาการมีไข้ อุณหภูมิรา่ งกายตั้งแต่ 37.5 องศาเซลเซียสขึ้นไป
ร่วมกับอาการระบบทางเดินหายใจอย่างใดอย่างหนึ่ง จัดให้อยู่ในพื้นที่แยกส่วน ให้รีบแจ้งผู้ปกครองมารับ
และพาไปพบแพทย์ ให้หยุดพักที่บ้านจนกว่าจะหายเป็นปกติ พร้อมแจ้งเจ้าหน้าที่สาธารณสุขเพื่อประเมิน
สถานการณ์และดำเนินการสอบสวนโรค และแจ้งผบู้ รหิ ารเพื่อพิจารณาการปิดสถานศึกษาตามแนวทางของ
กระทรวงสาธารณสขุ

2) บนั ทึกผลการคัดกรองและสง่ ตอ่ ประวัตกิ ารปว่ ย ตามแบบบนั ทกึ การตรวจสุขภาพ
3) จัดอุปกรณ์การล้างมือ พร้อมใช้งานอย่างเพียงพอ เช่น เจลแอลกอฮอล์วางไว้บริเวณ
ทางเข้าสบลู่ า้ งมอื บรเิ วณอา่ งลา้ งมอื
9. กรณคี รสู ังเกตพบนกั เรยี นทีม่ ีปัญหาพฤติกรรม เช่น เด็กสมาธิสั้น เด็กท่มี คี วามวติ กกังวลสงู อาจ
มีพฤติกรรมดูดนิ้วหรือกัดเล็บ ครูสามารถติดตามอาการและนำเข้าข้อมูลที่สังเกตพบในฐานข้อมูล ด้าน
พฤติกรรมอารมณ์สังคมของนักเรียน (หรือ ฐานข้อมูล HERO) เพื่อให้เกิดการดูแลช่วยเหลือร่วมกับ
ผเู้ ชี่ยวชาญด้านสขุ ภาพจิตต่อไป
10. วิธีการปรับพฤติกรรมสำหรับนักเรียนที่ไม่ร่วมมือปฏิบัติตามมาตรการที่ครูกำหนด ด้วยการ
แก้ปัญหาการเรียนรู้ใหม่ให้ถูกต้อง นั่นคือ “สร้างพฤติกรรมที่พึงประสงค์” หรือ “ลดพฤติกรรมที่ไม่พึง
ประสงค”์
11. ครูสื่อสารความรู้เกี่ยวกับความเครียด ว่าเป็นปฏิกิริยาปกติที่เกิดขึ้นได้ในภาวะวิกฤติที่มีการ
แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 และนำกระบวนการ การจัดการความเครียด การฝึกสติให้
กลมกลืนและเหมาะสมกับนักเรียนแต่ละวัย ร่วมกับการฝึกทักษะชีวิตที่เสริมสร้างความเข้มแข็งทางใจ
(Resilience) ให้กบั นกั เรยี นไดแ้ ก่ ทักษะชีวิตด้านอารมณ์ สงั คม และความคิด เปน็ ตน้
12. ครูสังเกตอารมณ์ความเครียดของตัวเอง เนื่องจากภาระหน้าที่การดูแลนักเรียนจำนวนมาก
และกำกับให้ปฏิบัติตามมาตรการป้องกันการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 เป็นบทบาทสำคัญ อาจจะสร้าง
ความเครียดวติ กกังวล ทงั้ จากการเฝ้าระวังนกั เรยี น และการปอ้ งกันตัวเองจากการสัมผัสกับเช้ือโรค ดังนน้ั
เมอ่ื ครูมคี วามเครยี ด จากสาเหตุตา่ ง ๆ มขี ้อเสนอแนะ ดงั นี้
1) ความสับสนมาตรการของสถานศึกษาที่ไม่กระจ่างชัดเจน แนะนำให้สอบทานกับ
ผบู้ รหิ าร หรอื เพื่อนร่วมงาน เพ่ือใหเ้ ขา้ ใจบทบาทหน้าท่ีและข้อปฏิบตั ทิ ตี่ รงกัน
2) ความวิตกกังวล กลัวการติดเชื้อในสถานศึกษา พูดคุยสื่อสารถึงความไม่สบายใจ ร้องขอ
สิ่งจำเป็นสำหรับการเรียนการสอนที่เพียงพอต่อการป้องกันการติดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 เช่น สถานที่ สื่อ

๑๘

การสอนกระบวนการเรียนรู้ การสง่ งานหรือตรวจการบ้าน เป็นต้น หากทา่ นเป็นกลุ่มเส่ยี งมีโรคประจำตวั สามารถเข้าสู่
แนวทางดูแลบคุ ลากรของสถานศกึ ษา

3) จัดให้มีการจัดการความเครียด การฝึกสติเป็นกิจวัตรก่อนเริม่ การเรียนการสอนเพื่อลด
ความวติ กกังวลตอ่ สถานการณ์ท่ีตงึ เครียดนี้

แนวปฏิบตั ิสำหรับนักเรยี น
1. ตดิ ตามขอ้ มูลข่าวสารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา 2019 พ้ืนท่ีเสี่ยง
คำแนะนำการป้องกนั ตนเองและลดความเส่ียงจากการแพร่กระจายของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 จาก
แหล่งข้อมูลทเ่ี ชอ่ื ถือได้
2. สังเกตอาการป่วยของตนเอง หากมีอาการไข้ ไอ มีน้ำมูก เจ็บคอ หายใจลำบาก เหนื่อยหอบ
ไม่ได้กลิ่นไม่รู้รส รีบแจ้งครูหรือผูป้ กครองให้พาไปพบแพทย์ กรณีมคี นในครอบครวั ปว่ ยดว้ ยโรคติดเช้ือไวรัส
โคโรนา 2019 หรือกลับจากพื้นที่เสี่ยงและอยู่ในช่วงกักตัว ให้ปฏิบัติตามคำแนะนำของเจ้าหน้าท่ี
สาธารณสขุ อย่างเคร่งครดั
3. มแี ละใช้ของใชส้ ่วนตวั ไมใ่ ช้ร่วมกบั ผู้อนื่ เชน่ ชอ้ น ส้อม แก้วนำ้ แปรงสฟี ัน ยาสีฟัน ผา้ เช็ดหน้า
หน้ากากผ้าหรอื หนา้ กากอนามยั และทำความสะอาดหรอื เกบ็ ให้เรียบรอ้ ย ทุกครั้งหลังใชง้ าน
4. สวมหนา้ กากผ้าหรือหนา้ กากอนามัยตลอดเวลาทีอ่ ย่ใู นสถานศึกษา
5. หมั่นล้างมือบ่อย ๆ ด้วยวิธีล้างมือ 7 ขั้นตอน อย่างน้อย 20 วินาที ก่อนกินอาหาร หลังใช้สว้ ม
หลกี เล่ียงใชม้ อื สัมผสั ใบหน้า ตา ปาก จมูก โดยไมจ่ ำเปน็ รวมถงึ สรา้ งสขุ นิสยั ทด่ี ี หลังเลน่ กับเพ่อื น เม่อื กลับ
มาถึงบ้านตอ้ งรบี อาบนำ้ สระผม และเปล่ยี นเส้อื ผา้ ใหม่ทนั ที
6. เว้นระยะห่างระหว่างบุคคล อย่างน้อย 1 - 2 เมตร ในการทำกิจกรรมระหว่างเรียน ช่วงพัก
และหลังเลิกเรยี น เชน่ นงั่ กินอาหาร เลน่ กบั เพอื่ น เขา้ แถวต่อคิว ระหวา่ งเดนิ ทางอยู่บนรถ
7. หลีกเลี่ยงการไปในสถานทที่ ่แี ออัดหรือแหลง่ ชมุ ชนท่เี สีย่ งต่อการตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา 2019
8. กรณีนักเรียนดื่มน้ำบรรจุขวด ควรแยกเฉพาะตนเอง และทำเครื่องหมายหรือสัญลักษณ์เฉพาะ
ไม่ใหป้ ะปนกับของคนอนื่
9. ดูแลสขุ ภาพให้แข็งแรง ด้วยการกินอาหารปรงุ สกุ รอ้ น สะอาด อาหารครบ 5 หมู่ และผกั ผลไม้
5 สีเสริมสร้างภูมิคุ้มกัน ออกกำลังกาย อย่างน้อย 60 นาที ทุกวัน และนอนหลับอย่างเพียงพอ 9-11
ช่ัวโมงต่อวนั
10. กรณนี กั เรยี นขาดเรียนหรือถกู กักตวั ควรตดิ ตามความคบื หนา้ การเรียนอย่างสมำ่ เสมอ ปรึกษา
ครู เชน่ การเรียนการสอน ส่อื ออนไลน์ อา่ นหนังสือ ทบทวนบทเรยี น และทำแบบฝึกหดั ท่ีบ้าน
11. หลีกเลี่ยงการล้อเลียนความผิดปกติหรืออาการไม่สบายของเพื่อน เนื่องจากอาจจะก่อให้เกิด
ความหวาดกลัวมากเกินไปต่อการป่วยหรือติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 และเกิดการแบ่งแยกกีดกันในหมู่
นักเรียน

บทบาทหน้าทขี่ องนกั เรยี นแกนนำดา้ นสุขภาพ
นักเรียนที่มีจิตอาสา เป็นอาสาสมัครช่วยดูแลสุขภาพเพื่อนนักเรียนด้วยกันหรือดูแลรุ่นน้องด้วย
เชน่ สภานักเรยี น เด็กไทยทำได้ อย.นอ้ ย ยุวอาสาสมัครสาธารณสขุ (ยวุ อสม.)

๑๙

1. ติดตามข้อมูลข่าวสารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค พื้นที่เสี่ยง คำแนะนำการป้องกัน
ตนเองและลดความเสี่ยงจากการแพร่กระจายของโรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 จากแหล่งข้อมูลที่เชื่อถอื
ได้

2. ช่วยครูตรวจคัดกรองวัดอุณหภูมิร่างกายของนักเรียนทุกคนที่มาเรียนในตอนเชา้ บริเวณทางเขา้
โดยมีครดู แู ลให้คำแนะนำอยา่ งใกลช้ ดิ เนน้ การจดั เว้นระยะห่างระหวา่ งบคุ คล อยา่ งนอ้ ย 1 – 2 เมตร

3. ตรวจดูความเรียบร้อยของนักเรียนทุกคนที่มาเรียน ต้องสวมหน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามัย
หากพบนกั เรียนไม่ได้สวม ให้แจ้งครูผ้รู บั ผิดชอบ เพื่อจดั หาหน้ากากผ้าหรือหนา้ กากอนามยั สำรองให้

4. เฝ้าระวังสังเกตอาการของนักเรียน หากมีอาการไข้ ไอ มีน้ำมูก เจ็บคอ หายใจลำบาก เหนื่อย
หอบ
ไมไ่ ด้กลิน่ ไม่รรู้ ส ใหร้ บี แจ้งครูทันที

5. จดั กิจกรรมส่ือสารให้ความรู้คำแนะนำการป้องกนั และลดความเสีย่ งจากการแพร่กระจายโรคติด
เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 แก่เพื่อนนักเรียน เช่น สอนวิธีการล้างมือที่ถูกต้อง การทำหน้ากากผ้า การสวม
หน้ากาก การถอดหน้ากากผ้า กรณีเก็บไว้ใช้ต่อ การทำความสะอาดหน้ากากผ้า การเว้นระยะห่างระหว่าง
บคุ คล จดั ทำป้ายแนะนำตา่ ง ๆ

6. ตรวจอุปกรณ์ของใช้ส่วนตัวของเพ่ือนนักเรียนและรุ่นน้องให้พร้อมใช้งาน เน้นไม่ใช้ร่วมกบั ผ้อู นื่
เชน่ จาน ช้อน สอ้ ม แกว้ นำ้ แปรงสีฟนั ยาสีฟัน ผา้ เช็ดหน้า ผ้าเชด็ มือของตนเอง

7. จัดเวรทำความสะอาดห้องเรียน ห้องเรียนร่วม และบริเวณจุดสัมผัสเสี่ยงทุกวัน เช่น ลูกบิด
ประตกู ลอนประตู ราวบนั ได สนามเดก็ เล่น อปุ กรณก์ ีฬา เคร่อื งดนตรี คอมพิวเตอร์

8. เป็นแบบอย่างที่ดีในการปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ด้วยการสวม
หน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามัย ล้างมือบ่อย ๆ กินอาหารใช้จาน ช้อน ส้อม แก้วน้ำของตนเอง การเว้น
ระยะหา่ ง เป็นต้น โดยถือปฏบิ ัติ
เป็นสขุ นิสัยกจิ วัตรประจำวนั อยา่ งสมำ่ เสมอ

แนวปฏิบัติสำหรับผ้ปู กครอง
1. ติดตามขอ้ มลู ขา่ วสารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 พ้ืนที่เสี่ยง
คำแนะนำการป้องกนั ตนเองและลดความเส่ยี งจากการแพร่กระจายของโรคจากแหลง่ ขอ้ มลู ที่เชอ่ื ถือได้
2. สังเกตอาการป่วยของบตุ รหลาน หากมอี าการไข้ ไอ มนี ้ำมกู เจ็บคอ หายใจลำบาก เหน่ือยหอบ
ไม่ได้กลิ่น ไม่รู้รส ให้รีบพาไปพบแพทย์ ควรแยกเด็กไม่ให้ไปเล่นกับคนอื่น ให้พักผ่อนอยู่ที่บ้านจนกว่าจะ
หายเป็นปกติ กรณีมีคนในครอบครัวป่วยด้วยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือกลับจากพื้นที่เสี่ยง อยู่
ในช่วงกกั ตวั ให้ปฏบิ ัตติ ามคำแนะนำของเจ้าหนา้ ท่ีสาธารณสุขอยา่ งเคร่งครัด
3. จัดหาของใชส้ ่วนตวั ให้บตุ รหลานอยา่ งเพยี งพอในแตล่ ะวัน ทำความสะอาดทุกวัน เช่น หน้ากาก
ผ้า ชอ้ น ส้อม แกว้ นำ้ แปรงสีฟนั ยาสฟี ัน ผ้าเช็ดหน้า ผ้าเช็ดตัว
4. จัดหาสบู่หรือเจลแอลกอฮอล์ และกำกับดูแลบุตรหลานให้ล้างมือบ่อย ๆ ก่อนกินอาหาร และ
หลังใช้ส้วม หลีกเลี่ยงการใช้มือสัมผัสใบหน้า ตา ปาก จมูก โดยไม่จำเป็น และสร้างสุขนิสัยท่ีดี หลังเล่นกับ
เพ่อื น และเมอ่ื กลับมาถึงบ้าน ควรอาบน้ำ สระผม และเปลี่ยนชุดเสื้อผา้ ใหม่ทนั ที
5. หลีกเลี่ยงการพาบุตรหลานไปในสถานเสี่ยงต่อการติดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 สถานที่
แออดั ท่ีมกี ารรวมกันของคนจำนวนมาก หากจำเป็นต้องสวมหน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามัย ลา้ งมือบอ่ ย ๆ
ดว้ ยวิธกี าร 7 ขั้นตอน ด้วยสบู่และน้ำ นาน 20 วนิ าที หรือใช้เจลแอลกอฮอล์

๒๐

6. ดูแลสุขภาพบุตรหลาน จัดเตรียมอาหารปรุงสุก ใหม่ ส่งเสริมให้กินอาหารร้อน สะอาด อาหาร
ครบ 5 หมู่ และผักผลไม้ 5 สี และควรจัดอาหารกล่อง (Box set) ให้แก่นักเรียนในช่วงเช้าแทนการซ้ือจาก
โรงเรยี น (กรณีที่ไม่ได้กนิ อาหารเช้าจากทีบ่ ้าน) เพ่อื เสริมสร้างภูมิคุ้มกนั ออกกำลังกาย อยา่ งน้อย 60 นาที
ทุกวนั และนอนหลับอย่างเพียงพอ 9 - 11 ชวั่ โมงต่อวนั

7. กรณมี กี ารจดั การเรียนการสอนทางไกล ออนไลน์ ผปู้ กครองควรใหค้ วามร่วมมอื กับครูในการ
ดแู ลจัดการเรียนการสอนแกน่ ักเรยี น เชน่ การส่งการบ้าน การรว่ มทำกิจกรรม เปน็ ตน้

แนวปฏิบัตสิ ำหรบั แมค่ รัว ผู้จำหนา่ ยอาหาร และผู้ปฏิบัตงิ านทำความสะอาด
1. ติดตามขอ้ มูลข่าวสารสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 พื้นท่ีเส่ียง
คำแนะนำการปอ้ งกันตนเองและลดความเสี่ยงจากการแพร่กระจายของโรค จากแหลง่ ข้อมลู ทเี่ ช่ือถือได้
2. สังเกตอาการป่วยของตนเอง หากมีอาการไข้ ไอ มีน้ำมูก เจ็บคอ หายใจลำบาก เหนื่อยหอบ
ไม่ไดก้ ลน่ิ ไมร่ รู้ ส ให้หยุดปฏบิ ัตงิ านและรีบไปพบแพทย์ทนั ที กรณีมคี นในครอบครวั ปว่ ยดว้ ยโรคติดเชื้อไวรัส
โคโรนา 2019 หรือกลับจากพื้นที่เสี่ยงและอยู่ในช่วงกักตัว ให้ปฏิบัติตามคำแนะนำของเจ้าหน้าที่
สาธารณสขุ อย่างเครง่ ครัด
3. ล้างมือบ่อย ๆ ด้วยสบู่และน้ำ ก่อน – หลังปรุงและประกอบอาหาร ขณะจำหน่ายอาหารหลัง
สัมผัสสิ่งสกปรก เมื่อจับเหรียญหรือธนบัตร หลังใช้ส้วม ควรล้างมือด้วยสบู่และน้ำหรือใช้เจลแอลกอฮอล์
และหลีกเลย่ี งการใช้มือสมั ผสั ใบหน้า ตา ปาก จมกู โดยไมจ่ ำเปน็
4. ขณะปฏิบัติงานของผู้สัมผัสอาหาร ต้องสวมหมวกคลุมผม ผ้ากันเปื้อน ถุงมือ สวมหน้ากากผ้า
หรอื
หน้ากากอนามยั และปฏบิ ตั ติ นตามสขุ อนามยั ส่วนบุคคลท่ถี กู ต้อง
5. ปกปิดอาหาร ใส่ถุงมือและใช้ที่คีบหยิบจับอาหาร ห้ามใช้มือหยิบจับอาหารพร้อมกินโดยตรง
และ จัดให้แยกกิน กรณีร้านจำหน่ายอาหารสำเร็จรูปพร้อมกิน ไม่ควรใช้มือสัมผัสลงไปในถุงบรรจุอาหาร
กอ่ นตกั อาหาร
6. จัดเตรียมเมนูอาหารให้ครบ 5 หมู่และผกั ผลไม้ 5 สี เพ่อื เสริมสร้างภูมิคุ้มกัน ปรุงสกุ ใหม่ให้นักเรียนกิน
ภายในเวลา 2 ชั่วโมง หากเกินเวลาดังกล่าว ให้นำอาหารไปอุ่นจนร้อนจัดหรือเดือด แล้วนำมาเสิร์ฟใหม่
กรณีที่ไม่สามารถจัดเหลื่อมเวลาสำหรับเด็กในมื้อกลางวันให้เตรียมอาหารกล่อง (Box set) แทนและ
รบั ประทานทีโ่ ตะ๊ เรียน
7. จัดเตรียมกระดาษสำหรับสั่งรายการอาหาร หรือช่องทางสื่อสารอื่น ๆ เพื่อลดการพูดคุยและ
สัมผัส
8. ผู้ปฏิบัติงานทำความสะอาด ผู้ปฏิบัติงานเก็บขนขยะ ต้องใส่อุปกรณ์ป้องกันตนเอง เช่น สวม
หนา้ กากผา้ หรือหน้ากากอนามยั สวมถงุ มือยาง ผ้ายางกนั เปอื้ น รองเท้าพืน้ ยางหมุ้ แขง้
9. การเก็บขยะ ควรใชป้ ากคีบด้ามยาวเก็บขยะใส่ถุงขยะปิดปากถุงให้มิดชิดและนำไปรวบรวมไว้ท่ี
พกั ขยะ
10. เม่ือปฏิบตั งิ านเสรจ็ ทกุ คร้งั ตอ้ งลา้ งมือบอ่ ย ๆ และเมอื่ กลับมาถึงบ้าน ควรรีบอาบนำ้ สระผม
เปลยี่ นเส้อื ผ้าใหม่ทันที

๒๑

4.2.2 แนวปฏิบัติดา้ นอนามัยและสงิ่ แวดล้อมของโรงเรยี น
โรงเรยี นศรแี กง้ คร้อ กำหนดแนวปฏบิ ตั ิดา้ นอนามยั และส่ิงแวดล้อมของโรงเรยี น ดังนี้
1. หอ้ งเรียน หอ้ งเรียนรวม เชน่ ห้องคอมพวิ เตอร์ ห้องดนตรี
1) จดั โตะ๊ เกา้ อี้ หรือทนี่ ง่ั ใหม้ กี ารเว้นระยะห่างระหว่างบุคคล อยา่ งน้อย 1 - 2 เมตร ควรคำนึงถงึ
สภาพบริบทและขนาดพื้นที่ และจัดทำสัญลักษณ์แสดงจุดตำแหน่งชัดเจน กรณีห้องเรียนไม่เพียงพอในการ
จัดเวน้ ระยะห่างระหว่างบุคคลควรจัดให้มีการสลับวันเรียนแต่ละชัน้ เรียน การแบง่ จำนวนนักเรียน หรือการ
ใช้พื้นที่ใช้สอยบริเวณสถานศึกษา ตามความเหมาะสม ทั้งนี้อาจพิจารณาวิธีปฏิบัติอื่นตามบริบทความ
เหมาะสม โดยยดึ หลกั Social distancing
2) จัดให้มกี ารเหล่อื มเวลาเรยี น การเรียนกลุ่มย่อย หรือวธิ ปี ฏบิ ัตทิ เ่ี หมาะสมตามบริบทสถานการณ์
และเนน้ ใหน้ กั เรยี นสวมหน้ากากผ้าหรือหนา้ กากอนามัยขณะเรียนตลอดเวลา
3) จัดให้มีการระบายอากาศที่ดี ให้อากาศถ่ายเท เช่น เปิดประตู หน้าต่าง กรณีใช้
เครื่องปรับอากาศกำหนดเวลาเปดิ – ปดิ เคร่อื งปรับอากาศ ควรเปิดประตู หนา้ ตา่ งให้ระบายอากาศ และทำ
ความสะอาดอยา่ งสมำ่ เสมอ
4) จัดให้มีเจลแอลกอฮอล์ใช้ทำความสะอาดมือสำหรับนักเรียนและครู ใช้ประจำทุกห้องเรียน
อยา่ งเพียงพอ
5) ให้มกี ารทำความสะอาดโต๊ะ เกา้ อ้ี อปุ กรณ์ และจดุ สมั ผสั เส่ียง เช่น ลกู บิดประตู เครื่องเล่นของ
ใชร้ ่วมทกุ วนั อย่างน้อยวนั ละ 2 ครั้ง เ ช้าก่อนเรยี นและพักเทยี่ ง หรอื กรณีมกี ารย้ายห้องเรียนต้องทำความ
สะอาดโตะ๊ เกา้ อี้ ก่อนและหลงั ใชง้ านทกุ คร้ัง
2. หอ้ งสมุด
1) จัดโต๊ะ เก้าอ้ี หรือที่นั่ง ให้มีการเว้นระยะห่างระหว่างบุคคล อย่างน้อย 1 - 2 เมตร และจัดทำ
สัญลกั ษณ์แสดงจุดตำแหน่งชดั เจน
2) จัดให้มีการระบายอากาศที่ดี ให้อากาศถ่ายเท เช่น เปิดประตู หน้าต่าง กรณีใช้
เคร่ืองปรับอากาศกำหนดเวลาเปิด - ปิดเครอื่ งปรับอากาศ ควรเปดิ ประตู หน้าตา่ งใหร้ ะบายอากาศ และทำ
ความสะอาดอยา่ งสม่ำเสมอ
3) จัดให้มีเจลแอลกอฮอล์ใช้ทำความสะอาดมือสำหรับครูบรรณารักษ์ นักเรียน และผู้ใช้บริการ
บริเวณทางเข้าด้านหนา้ และภายในหอ้ งสมุดอยา่ งเพยี งพอ
4) ให้มกี ารทำความสะอาดโต๊ะ เก้าอ้ี อุปกรณ์ และจุดสมั ผัสเส่ียง เชน่ ลกู บดิ ประตู ชั้นวางหนังสือ
ทกุ วัน ๆ ละ 2 คร้ังอาทิ เช้ากอ่ นให้บริการ พกั เที่ยง
5) การจำกัดจำนวนคนจำกัดเวลาในการเข้าใช้บริการหอ้ งสมดุ และให้นักเรียนและผู้ใชบ้ รกิ ารทุก
คน สวมหนา้ กากผ้าหรอื หน้ากากอนามยั ขณะใช้บริการหอ้ งสมุดตลอดเวลา

3. ห้องประชุม หอประชุม

๒๒

1) จัดให้มีการคัดกรองตรวจวดั อุณหภูมิร่างกายก่อนเข้าห้องประชุม หอประชุม หากพบผู้มีอาการ
ไข้ ไอ มีน้ำมกู เจ็บคอ หายใจลำบาก เหนือ่ ยหอบ ไม่ได้กล่นิ ไมร่ รู้ ส แจง้ งดรว่ มประชุมและแนะนำให้ไปพบ
แพทย์ทันที

2) จัดโต๊ะ เก้าอี้ หรือที่นั่ง ให้มีการเว้นระยะห่างระหว่างบุคคล 1 - 2 เมตร และจัดทำสัญลักษณ์
แสดงจดุ ตำแหนง่ ชดั เจน

3) ผ้เู ขา้ ประชมุ ทกุ คนสวมหนา้ กากผ้าหรือหน้ากากอนามัยขณะประชมุ ตลอดเวลา
4) จัดให้มีเจลแอลกอฮอล์ใช้ทำความสะอาดมือสำหรับผู้เข้าประชุม บริเวณทางเข้าภายในอาคาร
หอประชมุ บริเวณทางเขา้ ด้านหน้าและดา้ นในของหอ้ งประชมุ อย่างเพยี งพอและทว่ั ถึง
5) งดหรือหลกี เลย่ี งการให้บรกิ ารอาหารและเครือ่ งดืม่ ภายในห้องประชุม
6) ให้มีการทำความสะอาดโต๊ะ เก้าอ้ี อุปกรณ์ และจุดสัมผัสเสี่ยงร่วม เช่น ลูกบิดประตู รีโมท
อุปกรณ์ส่ือ ก่อนและหลงั ใชห้ อ้ งประชุมทุกคร้งั
7) จัดให้มีการระบายอากาศที่ดี ให้อากาศถ่ายเท เช่น เปิดประตู หน้าต่าง ก่อนและหลังใช้ห้อง
ประชุมทกุ คร้งั ควรใช้เครื่องปรบั อากาศ กำหนดเวลาเปิด - ปิดเคร่อื งปรับอากาศ ควรเปดิ ประตูหน้าต่างให้
ระบายอากาศ และทำความสะอาดอย่างสม่ำเสมอ
4. โรงยมิ สนามกีฬา
1) จัดพื้นที่ทำกิจกรรมและเล่นกีฬา ลดความแออัด อาจจัดให้เล่นกีฬาเป็นรอบ หรือให้มีการเว้น
ระยะหา่ งระหว่างบคุ คล อยา่ งน้อย 1 - 2 เมตร
2) จัดให้มีเจลแอลกอฮอล์ใช้ทำความสะอาดมือสำหรับนักกีฬาและผู้มาใช้บริการ บริเวณทางเข้า
และบริเวณด้านในอาคารอยา่ งเพียงพอและทั่วถงึ
3) ทำความสะอาดอุปกรณ์และเครื่องเล่นแต่ละชนิด ก่อนหรือหลังเล่นทุกวัน อย่างน้อยวันละ 1
คร้ัง
4) จัดให้มกี ารระบายอากาศ ให้อากาศถา่ ยเท เช่น เปิดประตู หนา้ ต่าง เปิดพดั ลม
5) จำกัดจำนวนคนจำนวนเวลาในการเลน่ กีฬาหรอื กิจกรรมภายในอาคารโรงยมิ หรอื สนามกีฬา
6) หลีกเลี่ยงการจัดกิจกรรมหรือเล่นกีฬาประเภทแข่งขันเป็นทีมหรือมีการปะทะกันอย่างรุนแรง
เชน่ วอลเลยบ์ อล ฟตุ บอล ฟตุ ซอล บาสเกตบอล เป็นต้น
5. สถานทแ่ี ปรงฟัน
สถานศึกษาส่งเสริมให้มีกิจกรรมแปรงฟันหลังอาหารกลางวันอย่างถูกต้องเหมาะสมตาม
สถานการณ์ และบริบทพื้นที่หลีกเลี่ยงการรวมกลุ่ม ควรจัดเว้นระยะห่างระหว่างบุคคลในการแปรงฟัน
และใหม้ อี ุปกรณ์ การแปรงฟันส่วนบคุ คล ดงั นี้

5.1 การจัดเตรียมวสั ดอุ ุปกรณ์การแปรงฟนั แปรงสีฟนั
1) นกั เรยี นทุกคนมแี ปรงสฟี ันเป็นของตนเอง หา้ มใช้แปรงสีฟนั และยาสีฟนั ร่วมกัน
2) ทำสญั ลักษณห์ รอื เขียนชือ่ บนแปรงสฟี ันของแตล่ ะคน เพื่อให้รู้ว่าเป็นแปรงสฟี นั ของใคร

ป้องกันการหยิบของผอู้ ่ืนไปใช้
3) ควรเปลี่ยนแปรงสีฟันให้นักเรยี น ทุก 3 เดือน เมื่อแปรงสีฟันเสือ่ มคุณภาพ โดยสังเกต

ดงั น้ี
- บรเิ วณหัวแปรงสีฟันมีคราบสกปรกติดคา้ งล้างไดย้ าก

๒๓

- ขนแปรงสีฟันบานแสดงว่าขนแปรงเสื่อมคุณภาพใช้แปรงฟันได้ไม่สะอาดและอาจ
กระแทกเหงอื กใหเ้ ป็นแผลได้

ยาสีฟัน ให้นักเรียนทุกคนมยี าสฟี ันเป็นของตนเอง และเลือกใช้ยาสีฟันผสมฟลอู อไรดซ์ ึง่ มี
ปรมิ าณฟลอู อไรด์ 1,000-1,500 ppm. (มิลลิกรมั /ลิตร) เพอื่ ปอ้ งกันฟนั ผุ

แก้วนำ้ จัดใหน้ กั เรยี นทกุ คนมีแก้วน้ำสว่ นตัวเปน็ ของตนเอง จำนวน 2 ใบ
ผ้าเช็ดหน้าสว่ นตวั สำหรบั ใชเ้ ช็ดทำความสะอาดบรเิ วณใบหนา้ ควรซักและเปล่ียนใหม่ทุก
วนั
5.2 การเก็บอปุ กรณ์แปรงสีฟัน
1) เกบ็ แปรงสีฟันในบรเิ วณท่มี อี ากาศถ่ายเทได้สะดวก ไม่อับชื้น และปลอดจากแมลง
2) จัดทำที่เก็บแปรงสีฟัน แก้วน้ำ โดยเก็บของนักเรียนแต่ละคนแยกจากกัน ไม่ปะปนกัน
เว้นที่ให้มรี ะยะห่างเพียงพอที่จะไม่ให้แปรงสีฟันสัมผสั กนั เพื่อป้องกนั การแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโค
โรนา 2019 และควรวางหัวของแปรงสีฟันตั้งขึ้น เพื่อป้องกันไม่ให้น้ำที่ค้างตามด้ามแปรงสีฟัน หยดลงใส่
หวั แปรงสฟี ัน
5.3 การจัดกจิ กรรมแปรงสีฟันหลงั อาหารกลางวนั
ครูประจำชั้นดูแลและจัดให้มีกิจกรรมการแปรงฟันในห้องเรียน ให้นักเรียนทุกคนแปรงฟันหลัง
อาหารกลางวันทุกวนั อยา่ งสม่ำเสมอ โดยหลกี เลีย่ งการรวมกลมุ่ และเว้นระยะห่างในการแปรงฟัน โดย
1) ให้นักเรียนแปรงฟันในหอ้ งเรยี น โดยนั่งที่โต๊ะเรียน เพื่อป้องกันการแพร่กระจายของน้ำลาย
ละอองน้ำ หรือ เชอื้ โรคสูผ่ อู้ นื่ กรณหี อ้ งเรยี นแออดั ให้เหลื่อมเวลาในการแปรงฟนั
2) กอ่ นการแปรงฟันทุกคร้ัง ใหล้ ้างมือด้วยสบู่และนำ้ เสมอ เป็นเวลาอยา่ งน้อย 20 วินาที หรือ
เจลแอลกอฮอล์ท่ีมีความเข้มขน้ 70% หลีกเลยี่ งการรวมกลุ่ม และเว้นระยะหา่ งระหวา่ งบุคคลอยา่ งน้อย 1
- 2 เมตร
3) ครปู ระจำช้ันเทน้ำใหน้ กั เรยี นใส่แก้วน้ำใบที่ 1 ประมาณ 1/3 แกว้ (ประมาณ 15 ml.)
4) นกั เรยี นนัง่ ทีโ่ ต๊ะเรียน แปรงฟนั ด้วยยาสฟี ันผสมฟลูออไรด์ครอบคลมุ ทุกซี่ทุกดา้ น นานอย่าง
น้อย 2 นาที เมอื่ แปรงฟนั เสรจ็ แลว้ ให้บ้วนยาสีฟนั และน้ำสะอาดลงในแก้วน้ำใบที่ 2 เช็ดปากใหเ้ รียบร้อย
5) นักเรียนทุกคนนำน้ำที่ใช้แล้ว จากแก้วใบที่ 2 เทรวมใส่ภาชนะที่เตรียมไว้ และให้ครูประจำ
ช้ันนำไปเททงิ้ ในท่ีระบายน้ำของสถานศึกษา ห้ามเทลงพืน้ ดิน
6) นักเรียนนำแปรงสีฟันและแก้วน้ำไปล้างทำความสะอาดและนำกลับมาเก็บให้เรียบร้อย
หลกี เลี่ยงการรวมกลมุ่ และเวน้ ระยะห่างระหวา่ งบุคคล อย่างนอ้ ย 1 - 2 เมตร
7) มีการตรวจความสะอาดฟันหลังการแปรงฟันด้วยตนเองทุกวัน โดยอาจมีกระจกของตัวเอง
ในการตรวจดูความสะอาด เสริมดว้ ยกจิ กรรมการย้อมสีฟันอย่างนอ้ ยภาคเรยี นละ 2 ครัง้
6. สนามเดก็ เล่น
1) ให้มีการทำความสะอาดเครื่องเล่นและอุปกรณ์การเล่นทุกวัน อย่างน้อยวันละ 2 ครั้ง ทำความ
สะอาดดว้ ยนำ้ ยาทำความสะอาดตามคำแนะนำของผลิตภัณฑ์
2) จดั เครอ่ื งเลน่ อปุ กรณ์การเลน่ และนกั เรียน ใหม้ กี ารเวน้ ระยะห่างระหวา่ งบคุ คล อยา่ งนอ้ ย 1 -
2 เมตร และกำกับดูแลใหเ้ ด็กสวมหนา้ กากผ้าหรือหนา้ กากอนามัยตลอดเวลาการเลน่
3) จำกัดจำนวนคนจำกัดเวลาการเล่นในสนามเด็กเล่น โดยอยู่ในความควบคุมดูแลของครูใน
ช่วงเวลา

๒๔

พกั เทยี่ งและหลังเลิกเรยี น
4) ใหล้ ้างมอื ดว้ ยสบู่และน้ำหรือเจลแอลกอฮอล์ใชท้ ำความสะอาดมือก่อนและหลงั การเลน่ ทุกคร้ัง
7. หอ้ งส้วม
1) จัดเตรยี มอปุ กรณ์ทำความสะอาดอยา่ งเพยี งพอ ได้แก่ นำ้ ยาทำความสะอาดหรือน้ำยาฟอกขาว

อุปกรณ์การตวง ถุงขยะ ถังน้ำ ไม้ถูพื้น คีบด้ามยาวสำหรับเก็บขยะ ผ้าเช็ดทำความสะอาด และอุปกรณ์
ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลที่เหมาะสมกับการปฏิบัติงาน เช่น ถุงมือ หน้ากากผ้า เสื้อผ้าที่จะน้ำมาเปลี่ยน
หลงั ทำความสะอาด

2) การทำความสะอาดห้องน้ำ ห้องส้วม วันละ 1-2 ครั้ง ด้วยน้ำยาทำความสะอาดทั่วไปพื้นห้อง
ส้วม ฆา่ เช้ือโดยใช้ผลติ ภัณฑฆ์ ่าเช้ือ

3) หลังทำความสะอาด ซักผ้าเช็ดทำความสะอาดและไม้ถูพื้น ด้วยน้ำผสมผงซักฟอกหรือน้ำยาฆ่า
เชอ้ื แล้วซกั ด้วยน้ำสะอาดอกี ครั้ง และนำไปผึ่งแดดใหแ้ ห้ง

8. ห้องพักครู
1) จัดโต๊ะ เกา้ อ้ี หรือท่ีนงั่ ใหม้ กี ารเวน้ ระยะห่างระหวา่ งบคุ คล อยา่ งน้อย 1 - 2 เมตร ควรคำนงึ
ถึงสภาพห้องและขนาดพ้นื ท่ี และจดั ทำสัญลกั ษณ์แสดงจุดตำแหน่งชัดเจน โดยถือปฏบิ ัตติ ามหลัก
Social distancing อยา่ งเครง่ ครัด
2) ให้ครสู วมหนา้ กากผา้ หรอื หน้ากากอนามยั ตลอดเวลาทีอ่ ยู่ในสถานศึกษา
3) จัดให้มีการระบายอากาศที่ดี ให้อากาศถ่ายเท เช่น เปิดประตู หน้าต่าง กรณีใช้
เคร่อื งปรบั อากาศกำหนดเวลาเปิด – ปดิ เครอ่ื งปรบั อากาศ ควรเปิดประตู หนา้ ตา่ งให้ระบายอากาศ และทำ
ความสะอาดอยา่ งสม่ำเสมอ
4) ให้มีการทำความสะอาดโต๊ะ เก้าอี้ อุปกรณ์ และจุดสัมผัสเสี่ยง เช่น ลูกบิดประตู โทรศัพท์
อุปกรณค์ อมพวิ เตอร์ เปน็ ต้น เป็นประจำทุกวัน อย่างนอ้ ยวันละ 2 คร้งั
5) จดั เตรียมเจลแอลกอฮอล์ใชท้ ำความสะอาดมือสำหรับครูและผมู้ าตดิ ตอ่ บริเวณทางเข้าด้านหน้า
ประตแู ละภายในห้องอยา่ งเพยี งพอและท่ัวถงึ
9. หอ้ งพยาบาล
1) จดั หาครูหรอื เจ้าหน้าที่ เพือ่ ดูแลนกั เรยี น ในกรณีที่มนี ักเรียนป่วยมานอนพักรอผปู้ กครองมารับ
2) จัดให้มีพื้นที่หรือห้องแยกอย่างชัดเจนระหว่างนักเรียนป่วยจากอาการไข้หวัดกับนักเรียนป่วย
จากสาเหตอุ ่นื ๆ เพื่อป้องกนั การแพร่กระจายเชือ้ โรค
3) ทำความสะอาดเตยี งและอุปกรณ์ของใช้ทุกวนั
4) จัดเตรียมเจลแอลกอฮอล์ใช้ทำความสะอาดมือ บริเวณทางเข้าหน้าประตูและภายในห้อง
พยาบาลอยา่ งเพียงพอ
10. โรงอาหาร
การจดั บริการภายในโรงอาหาร การนั่งกินอาหารร่วมกันของผใู้ ช้บรกิ าร รวมถึงอาหาร ภาชนะ อุปกรณ์ ตู้
กดนำ้ ด่มื ระบบกรองนำ้ และผสู้ ัมผสั อาหาร มีการดแู ลเพ่อื ลดและป้องกนั การแพร่กระจายเช้ือโรค ดังนี้
1) หนว่ ยงานทจี่ ัดบริการโรงอาหาร กำหนดมาตรการการปฏิบัติให้สถานทสี่ ะอาด ถูกสุขลักษณะ
ดงั น้ี
(1) จัดให้มีอ่างล้างมือพร้อมสบู่ สำหรับให้บริการแก่ผู้เข้ามาใช้บริการ บริเวณก่อนทางเข้าโรง
อาหาร

๒๕

(2) ทกุ คนทจ่ี ะเข้ามาในโรงอาหาร ต้องสวมหน้ากากผา้ หรือหนา้ กากอนามัย
(3) จัดให้มีการเว้นระยะห่างระหว่างบุคคล อย่างน้อย 1 - 2 เมตร ในพื้นที่ต่าง ๆ เช่น ที่นั่งกิน
อาหาร จุดรบั อาหาร จดุ ซ้อื อาหาร จุดรอกดนำ้ ด่มื จดุ ปฏิบัตงิ านรว่ มกันของผ้สู มั ผสั อาหาร
(4) จัดเหล่อื มชว่ งเวลาซอ้ื และกินอาหาร เพ่อื ลดความแออัดพนื้ ท่ภี ายในโรงอาหาร
(5) ทำความสะอาดสถานที่ปรุง ประกอบอาหาร พื้นที่ตั้งตู้กดน้ำดื่ม และพื้นที่บริเวณที่นั่งกิน
อาหารใหส้ ะอาด ด้วยนำ้ ยาทำความสะอาดหรือผงซักฟอก และจัดให้มกี ารฆ่าเชื้อดว้ ยนำ้ ยาฆา่ เช้ือ
(6) ทำความสะอาดโต๊ะและที่นั่งให้สะอาด สำหรับนั่งกินอาหาร ด้วยน้ำยาทำความสะอาด หรือ
จดั ให้มกี ารฆ่าเชื้อดว้ ยแอลกอฮอล์ 70% โดยหยดแอลกอฮอลล์ งบนผ้าสะอาดพอหมาด ๆ เช็ดไปในทิศทาง
เดยี วกัน หลังจากผใู้ ชบ้ ริการทกุ ครั้ง
(7) ทำความสะอาดภาชนะ อุปกรณ์ และเครื่องใช้ให้สะอาด ด้วยน้ำยาล้างจาน และให้มีการฆ่า
เชื้อด้วยการแช่ในน้ำร้อน หรือน้ำยาฆ่าเชื้อ แล้วล้างน้ำให้สะอาด และอบหรือผึ่งให้แห้ง ก่อนนำไปใช้ใส่
อาหาร
(8) ทำความสะอาดตู้กดน้ำดื่ม ภายในตู้ถังน้ำเย็น อย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง เช็ดภายนอกตู้และ
กอ๊ กน้ำดมื่ ใหส้ ะอาดทุกวนั และฆ่าเชอ้ื ทุกครง้ั ก่อนบรรจุน้ำใหม่ กรณที ี่มเี ครื่องกรองน้ำ ควรทำความสะอาด
ด้วยการล้างย้อน (Backwash) ทุกสัปดาห์ และเปลี่ยนไส้กรองตามระยะเวลากำหนดของผลิตภัณฑ์ และ
ตรวจเช็คความชำรุดเสยี หายของระบบไฟฟ้าที่ใช้สายดิน ตรวจเช็คไฟฟ้ารวั่ ตามจุดต่าง ๆ โดยเฉพาะบริเวณ
ก๊อกนำ้ ทถ่ี ือเปน็ จุดเสย่ี ง เพอ่ื ปอ้ งกนั ไฟฟา้ ดูดขณะใช้งาน
(9) จดั บรกิ ารอาหาร เน้นป้องกนั การปนเป้อื นของเช้ือโรค เช่น อาหารปรุงสำเร็จสุกใหม่ทุกครงั้
การปกปิดอาหารปรุงสำเร็จ การใช้ภาชนะที่เหมาะสมกับประเภทอาหาร และจัดให้มีภาชนะอุปกรณ์
สำหรับการกนิ อาหารอย่างเพียงพอเปน็ รายบุคคล เช่น จาน ถาดหลุม ชอ้ น ส้อม แกว้ นำ้ เป็นต้น
(10) ประชาสัมพันธ์ให้ความรภู้ ายในโรงอาหาร เช่น การสวมหนา้ กากทถ่ี ูกวธิ ี ขน้ั ตอนการล้างมือ
ทถี่ กู ต้อง การเว้นระยะห่างระหว่างบคุ คล การเลอื กอาหารปรงุ สกุ ใหมส่ ะอาด เป็นต้น
(11) กรณีมีการใช้บริการร้านอาหารจากภายนอก จัดส่งอาหารให้กับสถานศกึ ษา ควรให้ครูหรอื
ผ้รู บั ผดิ ชอบ ตรวจประเมนิ ระบบสุขาภิบาลอาหารของรา้ นอาหาร โดยกำหนดข้อตกลงการจัดสง่ อาหารปรุง
สุกพร้อมกิน ภายใน 2 ชั่วโมง หลังปรุงเสร็จ และมีการปกปิดอาหาร เพื่อป้องกันการปนเปื้อนสิ่งสกปรกลง
ในอาหาร
(12) พิจารณาทางเลือกให้ผู้ปกครองสามารถเตรียมอาหารกลางวัน (Lunch box) ให้นักเรียน
มารับประทานเอง เพอ่ื ป้องกันเชือ้ และลดการแพรก่ ระจายเช้อื
2) ผู้สัมผัสอาหาร ต้องดูแลสุขลักษณะส่วนบุคคล มีการป้องกันตนเองและป้องกันการ
แพร่กระจายเชอื้ โรค ดังน้ี
(1) กรณมี ีอาการปว่ ย ไข้ ไอ มนี ้ำมกู เจบ็ คอ หายใจลำบาก เหนอ่ื ยหอบ ไม่ไดก้ ล่ิน ไมร่ รู้ สใหห้ ยุด
ปฏบิ ตั งิ านและแนะนำใหไ้ ปพบแพทยท์ ันที
(2) ดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล มีการป้องกันตนเอง แต่งกายให้สะอาด สวมใส่ผ้ากันเปื้อนและ
อปุ กรณป์ ้องกนั การปนเป้อื นสู่อาหาร ในขณะปฏบิ ัตงิ าน
(3) รักษาความสะอาดของมือ ด้วยการล้างมือบ่อย ๆ ด้วยสบู่และน้ำ ก่อนปฏิบัติงาน และขณะ
เตรียมอาหารประกอบอาหาร และจำหน่ายอาหาร รวมถึงหลังจากการจับเหรียญหรือธนบัตรหรือสัมผสั สงิ่

๒๖

สกปรก อาจใช้เจลแอลกอฮอล์ทำความสะอาดมือร่วมด้วย หลีกเลี่ยงการใช้มือสัมผัสใบหน้า ตา ปาก จมูก
โดยไม่จำเปน็

(4) สวมใสห่ น้ากากผา้ หรอื หนา้ กากอนามัย ตลอดเวลาขณะปฏิบตั ิงาน
(5) มีพฤติกรรมขณะปฏิบัติงานป้องกันการปนเปื้อนของเชื้อโรค เช่น ใช้อุปกรณ์ในการปรุง
ประกอบอาหาร เช่น เขียง มีด การหยิบจับอาหาร แยกระหว่างอาหารสุก อาหารประเภทเนื้อสัตว์สด ผัก
และ ผลไม้ และไม่เตรียมปรงุ ประกอบอาหารบนพื้นโดยตรง
(6) จัดเมนูอาหารที่จำหน่าย โดยเน้นอาหารปรุงสุกด้วยความร้อน โดยเฉพาะเนื้อสัตว์ปรุงให้สุก
ด้วยความร้อนไม่น้อยกว่า 70 องศาเซลเซียส หลีกเลี่ยงการจำหน่ายอาหารบูดเสียง่าย
(7) อาหารปรุงสำเร็จ จัดเก็บในภาชนะสะอาด มีการปกปิดอาหารจัดเก็บสูงจากพื้นไม่น้อยกว่า
60 เซนตเิ มตร กรณีอาหารปรงุ สำเร็จ รอการจำหน่ายใหน้ ำมาอ่นุ ทกุ 2 ชั่วโมง
(8) การใช้ภาชนะบรรจุอาหารแบบใช้ครั้งเดียวทิ้งต้องสะอาดมีคุณภาพเหมาะสมกับการบรรจุ
อาหารปรุงสำเร็จ และหลีกเลี่ยงการใชโ้ ฟมบรรจอุ าหาร
(9) ระหวา่ งการปฏบิ ตั งิ าน ใหม้ กี ารเวน้ ระยะห่างระหวา่ งบคุ คล อย่างน้อย 1 - 2 เมตร
(10) ควรพิจารณาใหม้ รี ะบบชำระเงินออนไลนส์ ำหรบั ผบู้ รโิ ภค
3) ผทู้ ี่เขา้ มาใชบ้ รกิ ารโรงอาหาร ตอ้ งปอ้ งกนั ตนเองและป้องกนั การแพร่กระจายเชือ้ โรค ดังน้ี
(1) ลา้ งมือบอ่ ย ๆ ดว้ ยสบู่และน้ำ หรอื ใช้เจลแอลกอฮอลท์ ำความสะอาดมือทกุ ครั้งก่อนเข้าไปใน
โรงอาหาร ก่อนกินอาหาร ภายหลังซื้ออาหารหลงั จากจับเหรยี ญหรือธนบัตร หลังจากสัมผัสสิ่งสกปรกหรอื
หลงั ออกจากหอ้ งส้วม
(2) ทุกคนต้องสวมหน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามัยตลอดเวลาที่อยู่ในโรงอาหารหรือเข้าไปใน
สถานทีจ่ ำหน่ายอาหาร
(3) เลือกซอ้ื อาหารปรุงสำเรจ็ สกุ ใหม่ หลกี เลยี่ งการกนิ อาหารประเภทเนอ้ื สัตว์ เครอ่ื งในสตั ว์
ทป่ี รุงไมส่ กุ และตรวจสอบคณุ ภาพของอาหารทนั ที เชน่ สภาพอาหาร กล่นิ ความสะอาดและความเหมาะสม
ของภาชนะบรรจุ มกี ารปกปดิ อาหารมดิ ชิด ไมเ่ ลอะเทอะ ไมฉ่ กี ขาด เป็นต้น
(4) ใหม้ กี ารเว้นระยะห่างระหวา่ งบุคคล อยา่ งนอ้ ย 1 - 2 เมตร ในการซ้ืออาหาร ขณะรออาหาร
นั่งกนิ อาหาร ขณะรอกดน้ำดม่ื
11. รถรบั - สง่ นกั เรยี น
1) ทำความสะอาดรถรบั - ส่งนกั เรียนและบรเิ วณจดุ สมั ผัสเสีย่ ง เชน่ ราวจับ ทเี่ ปิดประตู เบาะน่ัง
ท่ีวางแขน ดว้ ยน้ำผสมผงซกั ฟอก หรือน้ำยาทำความสะอาด
2) นักเรียนที่ใช้บริการรถรับ - ส่งนักเรียน ต้องสวมหนา้ กากผ้าหรือหนา้ กากอนามัยตลอดเวลาที่
อยู่บนรถ ลดการพูดคุยกัน เล่นหยอกลอ้ กัน รวมถงึ กำหนดจุดรับ - สง่ นักเรยี นสำหรับผู้ปกครอง
3) การจัดทีน่ ่ังบนรถรับ - ส่งนักเรียน ควรจัดให้มีการเวน้ ระยะหา่ งระหว่างบุคคล อย่างน้อย 1 -
2 เมตร ท้ังนี้ควรคำนงึ ถึงขนาดพืน้ ท่ีของรถ จำนวนทน่ี ง่ั พิจารณาตามคณุ ลกั ษณะของรถและความเหมาะสม
จัดทำสญั ลกั ษณแ์ สดงจดุ ตำแหน่งชดั เจน โดยยึดหลัก Social distancing อยา่ งเครง่ ครัด
4) ก่อนและหลังให้บริการรับ - ส่งนักเรียนแต่ละรอบ ทำความสะอาดภายในและภายนอกรถทุก
ครงั้ ควรเปดิ หน้าตา่ ง ประตู ระบายอากาศให้อากาศถา่ ยเทไดส้ ะดวก
5) จัดใหม้ ีเจลแอลกอฮอล์สำหรับใชท้ ำความสะอาดมือบ่อย ๆ บนรถรบั – ส่งนกั เรียน

๒๗

12. ห้องนอนเด็กเลก็
1) ทำความสะอาดเครื่องนอน เปลี่ยนผ้าปูที่นอน ปลอกหมอน และผ้ากันเปื้อนทุกวัน รวมถึง
ทำความสะอาดอุปกรณ์ของใช้ ของเล่น ตเู้ ก็บของส่วนบุคคล และจดุ สัมผัสเสย่ี ง เปน็ ประจำทกุ วัน
2) จัดให้มีพื้นที่สำหรับการเรียนรู้ของเด็กรายบุคคล เช่น เรียนบนเสื่อ ใช้สัญลักษณ์แทนขอบเขต
รวมถงึ การจดั ทน่ี อนสำหรับเด็ก ต้องเว้นระยะห่างระหว่างบคุ คล อยา่ งน้อย 1 - 2 เมตร
3) มีและใชข้ องใชส้ ่วนตวั เนน้ ไมใ่ ช้ของใชร้ ว่ มกัน เช่น ผ้ากนั เป้ือน ผ้าเช็ดหน้า ผา้ เชด็ ตัว แกว้ น้ำ
4) จัดให้มีเจลแอลกอฮอล์ใช้ทำความสะอาดมือสำหรับครูและนักเรียน บริเวณทางเข้าและภายใน
ห้องอยา่ งเพียงพอ
5) มกี ารระบายอากาศที่ดี อากาศถ่ายเทสะดวก เช่น เปดิ ประตู หนา้ ตา่ ง กรณีใชเ้ ครอ่ื งปรบั อากาศ
กำหนดเวลาเปิด – ปดิ เครอ่ื งปรบั อากาศ และเปิดประตู หน้าตา่ ง ให้ระบายอากาศ และต้องทำความสะอาด
อยา่ งสมำ่ เสมอ
6) จัดอุปกรณก์ ารสง่ เสริมพัฒนาการเดก็ อย่างเพยี งพอ คนละ 1 ชดุ
13. การเขา้ แถวเคารพธงชาติ
1) การจัดพื้นที่เข้าแถว ให้มีการเว้นระยะห่างระหว่างบุคคล อย่างน้อย 1 - 2 เมตร กรณีมีพื้นที่
จำกัดไม่เพียงพอ อาจพจิ ารณาสลับชัน้ เรียนมาเข้าแถวบรเิ วณหน้าเสาธง หรือจัดใหม้ กี ารเข้าแถวบริเวณท่ี
มีพนื้ ท่กี วา้ งขวาง เช่น หน้าห้องเรียน ลานเอนกประสงค์ ลานสนามกีฬา โรงยมิ หอประชุม เป็นต้น
2) ครูและนักเรยี นทุกคนต้องสวมหน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามัยตลอดเวลาการเข้าแถวเคารพธง
ชาติ
3) ลดระยะเวลาการจัดกิจกรรมหน้าเสาธง กรณีมีการสื่อสารประชาสัมพันธ์ ควรใช้ช่องทางอื่น ๆ
เช่น เสียงตามสาย ผา่ นออนไลน์ Line Facebook E-mail แจง้ ในหอ้ งเรยี น เปน็ ตน้
4) ทำความสะอาดอุปกรณ์ของใช้หรือจุดสัมผัสเสี่ยงภายหลังการใช้งานทุกครั้ง เช่น เชือกที่ใช้ชักธงชาติ
ไมโครโฟน เปน็ ต้น

๒๘

ภาคผนวก

- คำสงั่ แต่งตงั้ คณะกรรมการศูนย์เฉพาะกจิ การบรหิ ารจดั การศึกษาในสถานการณ์
การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา 2019

- รปู ภาพการประชุมคณะกรรมการ (ถา้ มี)
- รูปภาพกิจกรรมเกยี่ วกบั มาตรการต่างๆ (ถ้ามี)
- เอกสารตา่ งๆ ทเ่ี กย่ี วข้อง (ถา้ ม)ี

๒๙

คำสั่งโรงเรียนศรแี กง้ คร้อ
ท่ี ๑๑๘/๒๕๖๓

เรื่อง แตง่ ตงั้ คณะกรรมการดำเนนิ การเฝา้ ระวัง ป้องกนั ควบคุม และแก้ไขสถานการณ์การแพรร่ ะบาด
ของโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา่ ๒๐๑๙ ( COVID-๑๙ ) โรงเรียนศรแี กง้ คร้อ
........................................................................................

ดว้ ยองค์การอนามัยโลกได้ประกาศใหก้ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนา่ ๒๐๑๙ ( COVID-๑๙) เป็นภาวะ
ฉุกเฉินทางสาธารณสขุ ระหว่างประเทศ กระทรวงสาธารณสุขและกระทรวงศึกษาธิการได้กำชับให้ทุกหนว่ ยงานและทุก
สถานศกึ ษาปฏบิ ตั ิตามมาตรการเฝ้าระวัง ปอ้ งกนั ควบคุม และแก้ไขสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา่
๒๐๑๙ ( COVID-๑๙) ใหเ้ ป็นไปอย่างมปี ระสิทธิภาพ

อาศยั อำนาจตามมาตรา ๓๙ แห่งพระราชบญั ญตั ิระเบียบบริหารราชการกระทรวงศกึ ษาธกิ าร พ.ศ.๒๕๔๖ และมาตรา
๒๗ แห่งพระราชบญั ญัตริ ะเบยี บขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ.๒๕๔๗ จงึ แต่งตง้ั ผ้มู รี ายนามต่อไปนี้ เปน็
คณะกรรมการดำเนินการเฝา้ ระวัง ป้องกนั ควบคมุ และแกไ้ ขสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙
(COVID-๑๙)

๑. คณะกรรมการที่ปรกึ ษา

๑ .นายประภาส กองจนั ทร์ ผอู้ ำนวยการโรงเรียน ประธานกรรมการ
๒. นายประยูร ศิรคิ ุณ
๓. นางศศิวิมล วณชิ าชวี ะ รองผอู้ ำนวยการโรงเรยี น รองประธานกรรมการ
๔. นางเกตุจันทร์ ไพศาลธรรม
๕. นายพงศเ์ ดช อาจเวทย์ ผชู้ ่วยผู้อำนวยการฝ่ายงบประมาณ กรรมการ
๖. นายยทุ ธพงษ์ ผลกอง
๗. นางสมพร พรมหมนื่ ไวย์ ผชู้ ่วยผอู้ ำนวยการฝ่ายบุคคล กรรมการ
๘. ว่าทรี่ ้อยตรชี ยั ณรงค์ ณ หนองคาย
๙. นางรุง่ สิริ ชัยจักร ผ้ชู ่วยผู้อำนวยการฝ่ายบริหารทัว่ ไป กรรมการ
๑๐. นางชตุ ิมา เวทศักดิ์
ผู้ช่วยผอู้ ำนวยการฝ่ายกจิ การนกั เรียน กรรมการ
๑๑. นางยพุ นิ เซาไลมาแนน
ผ้ชู ว่ ยผู้อำนวยการฝ่ายวชิ าการ กรรมการ

หวั หนา้ ฝ่ายบริหารท่ัวไป กรรมการ

หัวหนา้ ฝา่ ยกิจการนกั เรยี น กรรมการ

หวั หนา้ งานป้องกันการแพรร่ ะบาด กรรมการและเลขานกุ าร

ของโรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา่ (COVID-๑๙)

หวั หนา้ งานอนามยั โรงเรียน กรรมการและผชู้ ่วยเลขานุการ

มีหนา้ ท่ี วางแผนและให้คำปรกึ ษา แก้ไขปัญหาและใหก้ ารสนับสนุน เพอ่ื ให้การจัดกจิ กรรมเปน็ ไปดว้ ยความ
เรยี บร้อย และบรรลุตามวตั ถุประสงค์

๒. คณะกรรมการดำเนนิ การ ผอู้ ำนวยการโรงเรยี น ประธานกรรมการ
รองผู้อำนวยการโรงเรียน รองประธานกรรมการ
๑.นายประภาส กองจนั ทร์ ครปู ระจำชั้นอนบุ าล ๑ กรรมการ
๒.นายประยรู ศิรคิ ุณ ครปู ระจำชั้นอนบุ าล ๑ กรรมการ
๓.นางรัศมี หิรัญอร
๔.นางสาวอำไพพร โชคเหมาะ

๓๐

๕.นางสาวมณี แซ่ภู่ ครปู ระจำชน้ั อนุบาล ๒/๑ กรรมการ
๖. นางประวัติ คำศรี ครปู ระจำชน้ั อนุบาล ๒/๒ กรรมการ
๗. นางพัชชนิ ี หมอกชัย ครปู ระจำชน้ั อนุบาล ๓/๑ กรรมการ
๘. นางสาวนติ ยาพร สุขี ครปู ระจำชน้ั อนุบาล ๓/๒ กรรมการ
๙. นางเทพนารี คงอนุ่ ครปู ระจำชน้ั อนุบาล ๓/๓ กรรมการ
๑๐.นางรัชดากรณ์ หอมจนั ทร์ ครูประจำชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ ๑/๑ กรรมการ
๑๑.นางหนชู ดิ สมิ าธรรม ครูประจำชั้นประถมศึกษาปที ี่ ๑/๒ กรรมการ
๑๒.นางจฬุ าลกั ษณ์ ซองวงษ์หลา้ ครูประจำชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๑/๓ กรรมการ
๑๓.นางสายลม ไพศาลธรรม ครูประจำชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๑/๔ กรรมการ
๑๔.นางศุภดี ช่างภา ครูประจำชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี ๑/๕ กรรมการ
๑๕.นางสาวสารีฮา สือแม ครูประจำชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี ๑/๖ กรรมการ
๑๖.นางอรอนงค์ พลดงนอก ครปู ระจำชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๒/๑ กรรมการ
๑๗.นางชุติมา เวทศักด์ิ ครปู ระจำชั้นประถมศึกษาปที ี่ ๒/๒ กรรมการ
๑๘.นางสาวอไุ รวรรณ รกั ดวน ครปู ระจำชั้นประถมศึกษาปที ่ี ๒/๓ กรรมการ
๑๙.นางสาวจิราพร ลองจำนงค์ ครปู ระจำชั้นประถมศึกษาปที ่ี ๒/๔ กรรมการ
๒๐.วา่ ที่ร้อยตรอี นันต์ บัวแชม่ ครปู ระจำชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๒/๔ กรรมการ
๒๑.นางยพุ นิ เซาไลมาแนน ครปู ระจำชั้นประถมศึกษาปที ี่ ๒/๕ กรรมการ
๒๒.นางสาวขวญั ปวณี ์ บวั คำ ครูประจำชั้นประถมศึกษาปที ี่ ๒/๖ กรรมการ
๒๓.นางธญั ญรตั น์ ตอ่ พล ครปู ระจำชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ ๓/๑ กรรมการ
๒๔.นางจตพุ ร สวุ รรณวงศ์ ครูประจำชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ ๓/๑ กรรมการ
๒๕.นางฉลาด ประสานศกั ด์ิ ครูประจำชน้ั ประถมศึกษาปีที่ ๓/๒ กรรมการ
๒๖.นางสัญลกั ษณ์ ณ หนองคาย ครปู ระจำชั้นประถมศึกษาปที ี่ ๓/๓ กรรมการ
๒๗.นางนันทวนั เสนาพล ครปู ระจำชั้นประถมศึกษาปที ี่ ๓/๔ กรรมการ
๒๘.นางเพ็ญประภา ตอ่ ติด ครปู ระจำชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี ๓/๕ กรรมการ
๒๙.นางนันทยา สมบัติหอม ครปู ระจำชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๓/๖ กรรมการ
๓๐.นางสขุ สวสั ดิ์ จันทะวฒั ครูประจำชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔/๑ กรรมการ
๓๑.นายบุญบนั ดาล ดวงวญิ ญาน ครปู ระจำชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี ๔/๑ กรรมการ
๓๒.นางสาวกญั จนก์ นก บรรณสาร ครูประจำชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔/๒ กรรมการ
๓๓.นางสาวณัฐณยี ์ ไตรณรงค์ ครูประจำชน้ั ประถมศึกษาปีที่ ๔/๓ กรรมการ
๓๔.นางนิภา ล่มุ ร้อย ครปู ระจำชั้นประถมศึกษาปที ่ี ๔/๓ กรรมการ
๓๕.นางอรพร ตราปราบ ครูประจำชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี ๔/๔ กรรมการ
๓๖.นางสุนทรา ทวีชีพ ครูประจำชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ ๔/๔ กรรมการ
๓๗.นางรุ่งสิริ ชัยจกั ร ครูประจำช้ันประถมศึกษาปที ่ี ๔/๕ กรรมการ
๓๘.นางศศิวิมล วณิชาชีวะ ครูประจำชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ ๔/๖ กรรมการ
๓๙.นางเพ่ิมจติ ร ศรีบญุ เรือง ครปู ระจำชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔/๗ กรรมการ
๔๐.นางธรี าพร อัมพรตั น์ ครปู ระจำชั้นประถมศึกษาปที ่ี ๕/๑ กรรมการ
๔๑.นางสมพร พรมหมน่ื ไวย์ ครปู ระจำชน้ั ประถมศึกษาปีที่ ๕/๒ กรรมการ
๔๒.นางสาวอญั ชลี บวั โคกรัง ครูประจำชั้นประถมศึกษาปที ี่ ๕/๓ กรรมการ
๔๓.นายพงศ์เดช อาจเวทย์ ครูประจำช้ันประถมศึกษาปีที่ ๕/๔ กรรมการ

๓๑

๔๔.นายยุทธพงษ์ ผลกอง ครปู ระจำช้นั ประถมศึกษาปีท่ี ๕/๕ กรรมการ

๔๕.นางประทมุ วนั อาจเวทย์ ครปู ระจำช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๕/๖ กรรมการ

๔๖.นางศริ ิรัตน์ กองจันทร์ ครปู ระจำชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี ๖/๑ กรรมการ

๔๗.นายวิทวสั หินเมอื งเกา่ ครปู ระจำชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี ๖/๑ กรรมการ

๔๘.นางเกตุจนั ทร์ ไพศาลธรรม ครูประจำชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี ๖/๒ กรรมการ

๔๙.วา่ ท่ีรอ้ ยตรชี ัยณรงค์ ณ หนองคาย ครูประจำช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๖/๒ กรรมการ

๕๐.นางศญิ าภรณ์ ไคขนุ ทด ครูประจำช้นั ประถมศึกษาปีที่ ๖/๓ กรรมการ

๕๑.นางเบญจพร ตรงประสิทธ์ิ ครูประจำชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๖/๔ กรรมการ

๕๒.นางสาวเบญจพร พงษะพัง ครปู ระจำชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๖/๕ กรรมการ

๕๓.นางสาวรพีกาญจน์ โม้กุดแอก ครูธุรการ กรรมการ

๔๕.นางชุติมา เวทศกั ดิ์ หัวหนา้ งานป้องกันการแพร่ระบาด กรรมการและเลขานุการ

ของโรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา่ (COVID-๑๙)

๔๖.นางยพุ ินเซาไลมาแนน หวั หน้างานอนามยั โรงเรยี น กรรมการและผูช้ ่วยเลขานุการ

มีหน้าที่

๑. ตดิ ตอ่ ประสานงานกับผูท้ เี่ ก่ยี วข้อง

๒. นำนโยบาย เป้าหมายและแนวทางปฏบิ ตั ใิ นการเฝ้าระวัง ป้องกนั และควบคุมโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา่

๒๐๑๙(COVID-๑๙) เพอ่ื ปอ้ งกนั การแพร่ระบาด

๓. ควบคมุ กำกบั ดแู ล ชแี้ นะ ตรวจสอบ ชว่ ยเหลอื บคุ คลทอี่ าจมคี วามเสียงต่อการติดเชอื้ และเฝา้ ระวงั

นกั เรียน ครูและบุคลากรทางการศกึ ษาในโรงเรียน

๔. ติดตามสถานการณ์โรคตดิ ตอ่ เชือ้ ไวรัสโคโรน่า (COVID-๑๙) และประสานงานกบั หน่วยงานท่เี กย่ี วข้องใน

การดำเนนิ การชว่ ยเหลือนักเรียน ครแู ละบุคลกรทางการศึกษาในโรงเรยี น

๕. รวบรวมข้อมูลและรายงานสถานการณ์ ให้ผ้บู ังคับบัญชารบั ทราบอย่างสมำ่ เสมอ

๖. ในกรณพี บบคุ คลที่อาจมีความเสย่ี งให้รายงานไปยังผบู้ งั คับบัญชาทราบโดยทันที

๓. คณะกรรมการฝา่ ยประชาสมั พันธ์

๑.นางนันทยา สมบตั หิ อม ครู ค.ศ.๓ ประธานกรรมการ

๒.นางสาวขวญั ปวณี ์ บวั คำ ครู ค.ศ.๑ กรรมการ

๓.นางสาวกญั จนก์ นก บรรณสาร พนักงานราชการ กรรมการ

๔.นางสาวรพีกาญจน์ โม้กุดแอก ครูธรุ การ กรรมการ

๕.นางเบญจพร ตรงประสทิ ธ์ิ ครู ค.ศ.๑ กรรมการและเลขานุการ

มีหนา้ ที่

ประชาสมั พันธ์ เผยแพร่ รณรงค์ ให้ความรู้ และจดั ทำไวนิล เกย่ี วกับเชื้อไวรัสโคโรนา่ (COVID-๑๙)

๔. คณะกรรมการฝ่ายการเงนิ และพสั ดุ ครู ค.ศ.๓ ประธานคณะกรรมการ
๑. นางศศวิ ิมล วณชิ าชีวะ ครู ค.ศ.๓ กรรมการ
๒. นางประทมุ วัน อาจเวทย์ ครู ค.ศ.๓ กรรมการ
๓. นางศิริรตั น์ กองจันทร์ ครู ค.ศ.๓ กรรมการ
๔. นางสาวนติ ยาพร สุขี ครู ค.ศ.๑ กรรมการ
๕. นางสาวขวญั ปวีณ์ บวั คำ พนกั งานราชการ กรรมการ
๖. นางสาวกัญจน์กนก บรรณสาร

๓๒

๗. นางเทพนารี คงอุน่ ครู ค.ศ.๓ กรรมการและเลขานุการ

มีหนา้ ท่ี

๑. ดำเนินการเกี่ยวกับการจัดซ้อื จัดหาวสั ดุ อปุ กรณ์ ทีจ่ ำเปน็ ตอ้ งใชใ้ นการดำเนนิ การ

๒. ดำเนนิ การเรื่องเบิก-จ่าย เงินตามระบบ

๕.คณะกรรมการฝ่ายจัดทำเจลล้างมือและแอลกอฮอล์ทำความสะอาด

๑.นางชตุ ิมา เวทศกั ดิ์ ครู ค.ศ.๓ ประธานกรรมการ

๒.นางรัชดากรณ์ หอมจันทร์ ครู ค.ศ.๓ กรรมการ

๓.นางจฬุ าลักษณ์ ซองวงษ์หลา้ ครู ค.ศ.๓ กรรมการ

๔.นางหนชู ิด สิมาธรรม ครู ค.ศ.๓ กรรมการ

๕.นางสายลม ไพศาลธรรม ครู ค.ศ.๓ กรรมการ

๖.นางศุภดี ช่างภา ครู ค.ศ.๒ กรรมการ

๗.นางสาวจิราพร ลองจำนงค์ ครู ค.ศ.๓ กรรมการ

๘.นางยพุ นิ เซาไลมาแนน ครู ค.ศ.๒ กรรมการและเลขานุการ

มีหน้าท่ี

๑.จดั ทำเจลล้างมอื นำแจกจ่ายให้แก่ครู บุคลากร นักเรยี น ผปู้ กครองและชมุ ชน นำไปใชต้ ามทเ่ี หน็ สมควร

๒.จดั ทำเจลแอลกอฮอล์ทำความสะอาด มอบให้แก่คณะทำงานฝ่ายอาคารสถานท่ี หรือแจกจ่ายให้แก่ผู้ที่

นำไปใช้ประโยชน์ตามท่เี หน็ สมควร

๓.จดั ทำทะเบียนการแจกจา่ ยเจลลา้ งมอื และแอลกอฮอล์ทำความสะอาด

๖. คณะกรรมการฝา่ ยจดั ทำสลากบรรจุภณั ฑ์

๑. นางเบญจพร ตรงประสิทธ์ิ ครู ค.ศ.๑ ประธานกรรมการ

๒. นางสาวกญั จน์กนก บรรณสาร พนกั งานราชการ กรรมการ

๓.นางสาวรพีกาญจน์ โม้กดุ แอก ครูธรุ การ กรรมการ

๔.นางสาวขวัญปวีณ์ บัวคำ ครู ค.ศ.๑ กรรมการและเลขานุการ

มหี นา้ ที่

จดั ทำสลากบรรจภุ ณั ฑ์เจลลา้ งมอื และแอลกอฮอลท์ ำความสะอาด ส่งมอบให้คณะกรรมการชุดท่ี ๕

๗. คณะกรรมการฝา่ ยอาคารสถานท่ี รองผ้อู ำนวยการโรงเรียน ประธานกรรมการ
๑.นายประยูร ศิรคิ ณุ ครู ค.ศ.๓ กรรมการ
๒.นายบญุ บันดาล ดวงวิญญาณ ครู ค.ศ.๓ กรรมการ
๓.วา่ ท่ีร้อยตรอี นนั ต์ บวั แชม่ ครู ค.ศ.๓ กรรมการ
๔.วา่ ทรี่ อ้ ยตรชี ัยณรงค์ ณ หนองคาย ครู ค.ศ.๓ กรรมการ
๕.นายยทุ ธพงษ์ ผลกอง ครู ค.ศ.๒ กรรมการ
๖.นายวิทวัส หินเมอื งเก่า นกั การภารโรง กรรมการ
๗.นายสีลา เสโส นกั การภารโรง กรรมการ
๘.นายบุญส่ง เพ่งใหต้ รง

๓๓

๙.นายพงศเ์ ดช อาจเวทย์ ครู ค.ศ.๓ กรรมการและเลขานุการ

มหี น้าท่ี
๑. จัดทำแผงกัน้ ปอ้ งกนั การเผชญิ หนา้ ในการติดต่องานท่ีห้องตา่ งๆ ( Social Distancing)
๒. จดั ทำจดุ คดั กรอง ครู บคุ ลากร นักเรยี น ผู้ปกครอง หรอื ผู้ท่ีมาตดิ ต่อราชการในสถานศึกษา
๓. นำแอลกอฮอล์ทำความสะอาด ฆา่ เช้อื จากคณะกรรมการชดุ ท่ี ๕ ไปทำความสะอาดอาคารสถานท่ตี า่ งๆ

ดว้ ยวิธกี ารเช็ด ถู บรเิ วณเคานเ์ ตอร์ วัสดุ อุปกรณ์ท่ใี ช้รว่ มกนั

๘. คณะกรรมการฝา่ ยคัดกรอง

๘.๑ คณะกรรมการฝ่ายคัดกรอง(คร)ู

๑.นางชุติมา เวทศกั ดิ์ ครู ค.ศ.๓ ประธานกรรมการ

๒.นางรชั ดากรณ์ หอมจนั ทร์ ครู ค.ศ.๓ กรรมการ

๓.นางจฬุ าลกั ษณ์ ซองวงษ์หลา้ ครู ค.ศ.๓ กรรมการ

๔.นางหนชู ิด สมิ าธรรม ครู ค.ศ.๓ กรรมการ

๕.นางสายลม ไพศาลธรรม ครู ค.ศ.๓ กรรมการ

๖.นางสาวศภุ ดี พนั ธบ์ ัวใหญ่ ครู ค.ศ.๒ กรรมการ

๗.นางสาวจิราพร ลองจำนงค์ ครู ค.ศ.๓ กรรมการ

๘.ครูเวรประจำวนั กรรมการ

๙.นางยุพนิ เซาไลมาแนน ครู ค.ศ.1 กรรมการและเลขานุการ

มหี น้าท่ี

๑. ตงั้ จดุ คดั กรองบริเวณประตูด้านหนา้ โรงเรยี นและด้านหลงั โรงเรียน โดยจัดบุคลากรคือครเู วรประจำวัน

ปฏบิ ตั ิหนา้ ที่ตรวจวัดไข้ ถ้าพบบคุ คลมีไข้ ให้รบี แจง้ ผ้เู กย่ี วขอ้ งทราบโดยทันที และใหป้ ฏิบัติตามมาตรการของ

กระทรวงสาธารณสุข พร้อมทั้งให้ลา้ งมือดว้ ยเจลล้างมือ และให้ลงชือ่ ท่ีอยู่ หมายเลขโทรศพั ทบ์ คุ คลภายนอกทเ่ี ข้ามา

ภายในบรเิ วณโรงเรียน

๒. คัดกรองบุคลากร กรณีมีการประชุม หรือทำงานกนั เป็นกลมุ่ หลายคน

๓. คดั กรองนักเรียนทกุ คนทเ่ี ข้ามาภายในบริเวณโรงเรียน หากพบนักเรยี นที่ไม่มหี นา้ กากอนามัยหรือหน้ากาก

ผา้ ใหด้ ำเนนิ จัดหาหน้ากากผ้าให้นักเรียน หรือหากพบนักเรยี นท่มี ไี ขส้ งู ใหร้ บี แจ้งผู้ท่ีเกยี่ วข้องทราบโดยทนั ทแี ละให้

ปฏิบัติตามมาตรการของกระทรวงสาธารณสุข

๘.๒ คณะกรรมการฝ่ายคัดกรอง (สภานักเรยี น)

๑.เด็กชายยศชาญชยั ดวงวญิ ญาน ประธานนักเรยี น ประธานกรรมการ

๒.เดก็ หญิงนำ้ เตย พิเศษฤทธ์ิ รองประธานสภานักเรียน กรรมการ

๓.เด็กชายรามลิ เช้ือในเขา รองประธานสภานกั เรียน กรรมการ

๔.เดก็ ชายอาสาฬ มาสงั ข์ รองประธานสภานกั เรยี น กรรมการ

๕.เด็กชายเทคโนโลยี ถอื ศักด์ิ รองประธานสภานกั เรยี น กรรมการ

๖.เด็กชายรัฐศาสตร์ นากร กรรมการสภานักเรียน กรรมการ

๗.เด็กชายสุวรนิ ทร์ ปานชาลี กรรมการสภานกั เรยี น กรรมการ

๘.เด็กชายนฤชิต หดั กระโทก กรรมการสภานักเรยี น กรรมการ

๙.เดก็ ชายชิณววรรธน์ นพสนั เทียะ กรรมการสภานักเรยี น กรรมการ

๑๐.เด็กชายเจตนิพัทธ์ ครองสำราญ กรรมการสภานกั เรยี น กรรมการ

๑๑.เดก็ ชายพรพิพัฒน์ กา้ มสันเทยี ะ กรรมการสภานักเรียน กรรมการ

๓๔

๑๒.เดก็ ชายชัยณรงค์ คำพันธ์ กรรมการสภานกั เรยี น กรรมการ
๑๓.เด็กชายปรัชญานนท์ พบั ไธสงค์
๑๔.เด็กชายอภิวัฒน์ วงเวยี น กรรมการสภานักเรียน กรรมการ
๑๕.เด็กชายพรี พัฒน์ งามดี
๑๖.เด็กชายโจขวั ร์ สผุ ล โจนส์ กรรมการสภานักเรยี น กรรมการ
๑๗.เดก็ ชายฉัตรชยั โคตรหนองปิง
๑๘.เด็กชายนพีพัฒน์ บตุ ะเขียว กรรมการสภานักเรียน กรรมการ
๑๙.เดก็ ชายนเพชร พนั เชื้อ
๒๐.เดก็ หญิงชอ่ ทิพย์ ปัฐพี กรรมการสภานกั เรียน กรรมการ

กรรมการสภานักเรยี น กรรมการ

กรรมการสภานักเรียน กรรมการ

กรรมการสภานักเรียน กรรมการ

เลขานกุ ารสภานักเรยี น กรรมการและเลขานุการ

มีหนา้ ที่
๑. แบง่ หนา้ ท่รี ับผิดชอบงาน และ ประสานงาน คณะครูฝา่ ยคดั กรองถงึ หนา้ ท่ี ที่คณะครูมอบหมายให้

ดำเนนิ การในแต่ละวนั
๒. ชว่ ยงานคณะครูฝ่ายคัดกรอง บริเวณประตูด้านหน้าโรงเรียนและดา้ นหลังโรงเรยี น อย่างเต็มความสามารถ

และเหมาะสม
๓.ช่วยงานคณะครเู วรประจำวัน ดแู ลการจราจรบรเิ วณประตูดา้ นหนา้ โรงเรยี นและด้านหลังโรงเรยี น

๙. คณะกรรมการฝ่ายจัดทำหนา้ กากผา้

๑.นางอรอนงค์ พลดงนอก ครู ค.ศ.๓ ประธานกรรมการ

๒.นางศิญาภรณ์ ไคขนุ ทด ครู ค.ศ.๓ กรรมการ

๓.นางจุฬาลักษณ์ ซองวงษ์หล้า ครู ค.ศ.๓ กรรมการ

๔.นางหนชู ิด สิมาธรรม ครู ค.ศ.๓ กรรมการ

๕.นางสายลม ไพศาลธรรม ครู ค.ศ.๓ กรรมการ

๖.นางศุภดี ช่างภา ครู ค.ศ.๒ กรรมการ

๗.นางสาวจิราพร ลองจำนงค์ ครู ค.ศ.๓ กรรมการ

๘.นางเพ่ิมจิตร ศรีบุญเรือง ครู ค.ศ.๓ กรรมการ

๙.นางชุตมิ า เวทศักด์ิ ครู ค.ศ.๓ กรรมการและเลขานุการ

๑๐.นางยุพนิ เซาไลมาแนน ครู ค.ศ.1 กรรมการและผู้ชว่ ยเลขานุการ

มหี นา้ ที่

๑. ให้การแนะนำ ฝึกปฏบิ ตั ิการเยบ็ หนา้ กากผ้า ใหแ้ ก่คณะครู บุคลากร นักเรยี น ผู้ปกครองและผู้สนใจ

เพอื่ สามารถนำไปประโยชนไ์ ด้

๒. ตัดเย็บหนา้ กากผ้าแจกจ่ายแก่คณะครู บคุ ลากร นักเรียน ผู้ปกครอง และผ้สู นใจตามท่เี ห็นสมควร

๓. จดั ทำทะเบียนการแจกจ่ายหน้ากากผ้า

๑๐. คณะกรรมการฝา่ ยประเมนิ ผล ครู ค.ศ.๓ ประธานกรรมการ
๑.นางชตุ ิมา เวทศักด์ิ ครู ค.ศ.๓ กรรมการ
๒.นางนนั ทยา สมบตั หิ อม ครู ค.ศ.๑ กรรมการ
๓.นางสาวขวญั ปวีณ์ บัวคำ พนกั งานราชการ กรรมการ
๔.นางสาวกัญจน์กนก บรรณสาร ครูธรุ การ กรรมการ
๕.นางสาวรพีกาญจน์ โม้กดุ แอก

๓๕

๖.นางเบญจพร ตรงประสทิ ธิ์ ครู ค.ศ.๑ กรรมการและเลขานุการ
๗.นางยุพิน เซาไลมาแนน ครู ค.ศ.1 กรรมการและรองเลขานุการ

ขอให้คณะกรรมการตามคำสงั่ แตง่ ตั้ง ดำเนนิ กจิ กรรมใหเ้ ป็นไปตามวัตถุประสงค์ หากมีปญั หาในทาง
ปฏบิ ัตปิ ระการใดให้ปรึกษาฝ่ายอำนวยการ ทง้ั นีเ้ พื่อให้เกิดประโยชนส์ งู สดุ แก่นักเรียนและโรงเรยี นตอ่ ไป

ท้งั นี้ ต้งั แตบ่ ัดนเี้ ปน็ ต้นไป

สงั่ ณ วันที่ ๑ เดอื น มถิ ุนายน พ.ศ.๒๕๖๓

ลงชอื่
(นายประภาส กองจนั ทร์)

ผู้อำนวยการโรงเรยี นศรแี ก้งคร้อ

36

คำสั่งโรงเรียนศรีแก้งคร้อ

ท่ี 119 / ๒๕๖4

เร่อื ง แต่งตง้ั คณะอำนวยการการบริหารสถานการณ์การแพร่ระบาด COVID-19

.......................................

เพ่ือให้การบริหารราชการตามสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา

2019(COVID-19) ของโรงเรียนศรีแก้งคร้อ ตามนโยบาย“โรงเรียนปลอดภัย น่าอยู่ น่าเรียน”และแนวทาง

การบริหารจัดการเรยี นการสอน ปกี ารศึกษา 2564 เป็นไปด้วยความเรยี บรอ้ ย

อาศัยอำน าจความในมาตรา ๓ ๙ แห่ งพ ระราชบั ญ ญั ติระเบียบ บริห ารร าชการ

กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๖ และมาตรา ๒๗ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลากร

ทางการศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๗ จึงแต่งตั้งคณะกรรมการ เพือ่ ปฏิบตั ิหน้าที่ดังต่อไปน้ี

1.คณะกรรมการบริหารสถานการณ์การแพรร่ ะบาด COVID-19 ประกอบดว้ ย

๑.1 นายจำรัส คณู แก้ว รองผู้อำนวยการโรงเรียน

1.๒ นางศศิวิมล วณชิ าชวี ะ ครู ค.ศ.๓

1.3 นายพงศเ์ ดช อาจเวทย์ ครู ค.ศ.3

1.4 นายยทุ ธพงษ์ ผลกอง ครู ค.ศ.3

1.5 นางสาวจิราพร ลองจำนงค์ ครู ค.ศ.๓

1.6 นางชุติมา เวทศักด์ิ ครู ค.ศ.3

1.7 นางสาวกัญจก์ นก บรรณสาร พนกั งานราชการ

มหี นา้ ท่ี ตดิ ตามสถานการณ์ฯ จดั ทำมาตรการความปลอดภัย และรายงานสถานการณ์การแพร่

ระบาด COVID-19

2.คณะกรรมการการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอน ประกอบดว้ ย

๒.1 นายปรีชา น้อยปัญญา รองผอู้ ำนวยการโรงเรยี น

2.2 นางสมพร พรมหม่ืนไวย์ ครู ค.ศ.๓

2.3 นางเทพนารี คงอุน่ ครู ค.ศ.๓

2.4 นางรชั ดากรณ์ หอมจันทร์ ครู ค.ศ.๓

2.5 นางอรอนงค์ พลดงนอก ครู ค.ศ.๓

2.6 นางสญั ลกั ษณ์ ณ หนองคาย ครู ค.ศ.๓

2.7 นางศิญาภรณ์ ไคขุนทด ครู ค.ศ.๓

2.8 นางธรี าพร อัมพรัตน์ ครู ค.ศ.๓

2.9 นางเกตจุ ันทร์ ไพศาลธรรม ครู ค.ศ.๓

2.10 นางสาวอัญชลี บวั โคกรัง ครู ค.ศ.๓

มหี น้าท่ี รวบรวม วิเคราะห์รูปแบบการเรยี นการสอน จัดทำระบบข้ันตอนวชิ าการสนบั สนุนสาย

ชน้ั สรุปและรายงานผล

37

3.คณะกรรมการฝา่ ยเลขานกุ าร

3.1 นายประยูร ศิริคุณ รองผอู้ ำนวยการโรงเรียน

3.2 นางสาวขวญั ปวีณ์ บัวคำ ครู ค.ศ.1

3.3 นางเบญจพร ตรงประสิทธิ์ ครู ค.ศ.1

3.4 นางสาวรพีกาญจน์ โมก้ ุดแอก ครธู รุ การ

มีหน้าท่ี เกีย่ วกับงานธุรการ ประสานงาน และประชาสัมพันธ์

ให้ผ้ทู ไ่ี ด้รับแต่งต้ัง ปฏบิ ัติหน้าท่ีตามที่ได้รับมอบหมายด้วยความรบั ผิดชอบ เสียสละอยา่ งเตม็ กำลัง
ความรู้ความสามารถ เพอ่ื ให้เกดิ ประโยชน์สงู สดุ แก่นกั เรยี นและโรงเรียนเป็นสำคญั

ทงั้ น้ี ตั้งแต่วันท่ี 24 พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖4 เป็นต้นไป
สั่ง ณ วนั ที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖4

(นายประภาส กองจันทร์)
ผู้อำนวยการโรงเรียนศรีแกง้ ครอ้

38

รปู ภาพการประชมุ คณะกรรมการ

39

การประชาสมั พนั ธม์ าตรการ D-M-H-T-T

40

การประชาสมั พันธร์ ณรงค์การฉดี วัคซีน

41

รบั การนเิ ทศจาก สพป.ชัยภมู ิ เขต ๒
การเตรยี มความพรอ้ มก่อนเปดิ ภาคเรยี น ๑/๒๕๖๔

42

การเตรียมความพร้อมอาคาร สถานท่ี หอ้ งเรยี น

43

การเตรียมความพร้อมอาคาร สถานท่ี หอ้ งเรยี น

44

การเตรียมความพร้อมอาคาร สถานท่ี หอ้ งเรยี น

45

การเตรียมความพร้อมอาคาร สถานที่ รถรบั ส่ง

46

การประชมุ ผปู้ กครอง ยดึ หลกั การรกั ษะระยะห่าง


Click to View FlipBook Version