The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ขวัญปวีณ์ บัวคำ พัฒนาทักษะการอ่าน ป.2

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

ขวัญปวีณ์ บัวคำ พัฒนาทักษะการอ่าน ป.2

ขวัญปวีณ์ บัวคำ พัฒนาทักษะการอ่าน ป.2



คาํ นาํ

รายงานวิจัยในชน้ั เรียน เรอ่ื งการพฒั นาทักษะในดา นการอาน ของนักเรียนช้นั ประถมศึกษาปท่ี
2/5 ในสาระการเรียนรภู าษาไทย โรงเรยี นศรีแกง ครอเลมน้ี มีจุดมุง หมายเพ่อื ประเมนิ การพัฒนาทักษะใน
ดานการอานใหก ับนักเรยี น รายงานวิจยั ชั้นเรียนครง้ั นเ้ี กดิ จากผวู จิ ัยไดคน พบปญ หาท่ีเกิดข้นึ ในช้นั เรียน และ
ผูวจิ ยั ไดแ สวงหาขอมลู และวธิ กี ารทคี่ าดวา จะแกปญ หาท่ีเกิดขน้ึ ช้นั เรียน อกี ท้ังสามารถชวยพัฒนาการเรยี นการ
สอนใหมปี ระสิทธิภาพไดและยงั ชวยพฒั นาวิชาชีพครูใหม คี วามเขม แขง็ ยง่ิ ขึ้น ตามมาตรฐานดานการจัด
การศกึ ษา ขอ 7.7 ของมาตรฐานและการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาทีว่ า ครูมีการศึกษา วจิ ัยและพฒั นาการ
จัดการเรียนรใู นวิชาที่ตนรบั ผิดชอบและใชผลในการปรับการสอนของครู

ผวู จิ ยั ขอขอบพระคุณ ดร.ประภาส กองจนั ทร ผูอาํ นวยการโรงเรียนศรแี กง ครอ และ
นายจํารสั แกวคณู รองผูอํานวยการโรงเรียนศรแี กง ครอ ท่ีสงเสรมิ และอาํ นวยความสะดวกใหค รไู ดจ ัดทาํ วิจยั
ในชนั้ เรยี น คณะครปู ระจาํ สายช้นั คณะครูกลมุ สาระการเรียนรภู าษาไทย ท่ีกรุณาใหค วามอนเุ คราะห ให
คําแนะนํา ใหความรู ขอคดิ เห็นทมี่ ีประโยชนตอการศึกษาวิจัยในครงั้ นเี้ ปนอยางดี และขอขอบใจนักเรยี นชั้น
ประถมศึกษาปท ี่ 2/5 ของโรงเรียนศรีแกง ครอทุกคน ท่ใี หความรวมมือเปน อยา งดีในการวจิ ยั และเกบ็ ขอมูลท่ี
ใชในการศึกษาวจิ ัยคร้ังนี้ จนกระท่ังการศกึ ษาวิจัยคร้งั นีเ้ สร็จสมบรู ณ

ขวัญปวณี  บวั คาํ

สารบญั ข

เร่ือง หนา

คํานาํ ก
สารบัญ ข

1. ชือ่ เรื่องวจิ ัย 1
2. ชอ่ื ผวู จิ ยั 1
3. ปท ่คี ําการวิจัย 1
4 ความเปน มาและความสาํ คัญของปญหา 1
5. วตั ถปุ ระสงคข องการวิจยั 1
6. สมมติฐานของการวิจัย 1
7. ตัวแปรท่ีศกึ ษา 1
8. ประโยชนทีไ่ ดรบั จากการวิจยั 2
9. ขอบเขตของการวิจัย 2
10. ระยะเวลาท่ใี ชในการวิจัย 2
11. วิธดี ําเนนิ การวจิ ยั 3
12. เครอ่ื งมือที่ใชใ นการวิจยั 7
13. การวิเคราะหขอ มูล 8
14. ผลการวิจยั 10
15. สรปุ และอภิปรายผล 17
เอกสารอา งองิ 18
ภาคผนวก 20

ชือ่ เรอื่ งวจิ ัย การพัฒนาทกั ษะในดานการอาน ระดบั ช้ันประถมศึกษาปท่ี 2/5
ชอ่ื ผวู จิ ยั นางสาวขวัญปวณี  บวั คาํ
กลมุ สาระการเรยี นรู ภาษาไทย
ปท ท่ี าํ การวจิ ัย 2563

1 ความสาํ คญั และทมี่ า

ในการพฒั นาวิชาภาษาไทย เปน การพฒั นาท่ีเนน การสอนเพื่อพัฒนาในดานทักษะ และการฝก ประสม
คําอาน สะกดคําเปนพน้ื ฐานในการศึกษาหาความรูเพ่ือพัฒนาในดานทกั ษะและการฝกประสมคําอา นสะกดคํา
เปน พ้นื ฐานในการศกึ ษาหาความรู ในการสอนท่ีผานมาพบวา นักเรยี นในบางสวน ยงั ขาดทักษะในดานการ
อา น จึงสง ผลมาใหตอ งมีการปรับปรงุ แกไข และตองมีการพัฒนาในทักษะนอี้ ยางตอเนือ่ ง และจากการเรยี น
การสอนของนักเรยี นช้นั ประถมศกึ ษาปท่ี 2/5 จากจาํ นวน 32 คน มนี กั เรียนท่ีมีปญหาในทกั ษะดา นการอา น
อยู 8 คน ดงั นัน้ ผูทที่ าํ การวจิ ัย จึงหาวธิ กี ารทจ่ี ะดาํ เนินการเพื่อทจี่ ะแกปญหา และพัฒนาใหนกั เรียนไดเ กดิ
ทักษะในดานการอานใหเ ขาใจมากย่ิงขึน้

2. วตั ถปุ ระสงคของการวจิ ยั

เพื่อเปนการพัฒนาทักษะในดานการอานของนักเรยี นชั้นประถมศึกษาปท่ี 2/5 ดว ยวิธีกาประเมินที่
เนนผเู รยี นเปนสําคัญ

3. สมมตุ ฐิ านการวจิ ยั

การพัฒนาทกั ษะในดา นการอา นดวยวิธกี ารประเมนิ ทเ่ี นนผูเ รยี นเปน สําคัญสามารถพัฒนาทักษะการ
อา นของนกั เรยี นไดอยางรวดเรว็

4. ตวั แปรทศี่ ึกษา 1. วธิ สี อนตามปกติ
ตัวแปรตน 2. วิธีการประเมินท่เี นน นกั เรยี นเปน สําคัญ

ตัวแปรตาม 2.1 การทดสอบทกั ษะในดา นการอานและขอเสนอแนะ
1. พฤตกิ รรมการเรยี นรูข องนักเรยี น
2. ทกั ษะในดานการอา น

2

5. ประโยชนท ่คี าดวา จะไดร บั

ผลการวิจัยน้ี จะเปนขอมูลอยางหน่ึงท่ีจะชวยใหพัฒนาการในดานการอาน ดวยวิธีการ
ประเมินทเี่ นน ผเู รยี นเปนสําคญั มีทกั ษะการฝก สะกดคํา การประสมคาํ ท่ีมีพยญั ชนะ สระ ตัวสะกด
วรรณยกุ ตและมผี ลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นที่สูงข้ึน

6 . ขอบเขตของการวจิ ยั

1. กลุมที่ศึกษานักเรยี นช้ันประถมศกึ ษาปท่ี 2/5 จํานวนนักเรียนทศี่ ึกษา 8 คน ของโรงเรยี น
ศรีแกง ครอ ในภาคเรยี นที่ 1 ปการศกึ ษา 2563 ในการทําวจิ ยั คร้ังน้ี เลือกนกั เรียนทศี่ กึ ษาในช้นั เรยี น
8 คน ไดเ ลือกนักเรยี นกลมุ นีเ้ นือ่ งจากนักเรียนมีทักษะพ้ืนฐานในดา นการสะกดคํา อา นคํา ไมคลองแคลว
จงึ เปนปญ หาในดานการเรยี นในวิชาอนื่ ๆ โดยครูประจําชนั้ ไดต ิดตามพฤติกรรมในดานการเรียนของนักเรยี น
กลมุ นี้ไดอยางตอเนื่อง

2. การสอนวิชาภาษาไทย หมายถงึ วธิ ีสอนท่ีผูว จิ ยั ไดส อนตามปกติ โดยมเี ทคนคิ การสอนแบบ
ใหมๆ โดยการเนน ผเู รียนเปนสาํ คัญ

3. วธิ กี ารประเมินทเี่ นน ผูเรียน เปนสาํ คญั ทผ่ี วู จิ ัยไดใชค วบคูก บั การเรยี นการสอน เพ่ือจะไดขอ มูล
จากตัวนักเรยี นและนําขอมูลเหลานน้ั มาปรับปรุงการสอนเพอื่ ใหนักเรยี นเกิดการเรยี นรูอยา งสงู สุด โดยมี
วธิ ีการท่ใี ชด ังตอ ไปน้ี คือ โดยการสงั เกตการสอนของครู สนทนา ซกั ถามนักเรียน การจดบนั ทึกประจําคาบ
ของนักเรียน การตรวจการบาน การฝก อานสะกดในใบหนังสือแบบเรยี นภาษาไทย และหนังสือเสรมิ ทักษะ
การอา น

4. พฤติกรรมการเรียนรูข องนกั เรียน หมายถงึ พฤติกรรมทน่ี ักเรียนแสดงออก ในการเรียนรูใ นวิชา
ภาษาไทย ดานการอา นสะกดคํา การเขียนคาํ ตามคาํ บอกของครู และการทําแบบฝกหัดอานสะกดคาํ

5. ทักษะการเรียนในวิชาภาษาไทย หมายถงึ ความสามารถของนักเรยี นในการเรียนวชิ าภาษาไทย
เกี่ยวกับการอานสะกดคํา สามารถบอกถึงพยัญชนะ ตน สระ ตวั สะกด และรปู วรรณยกุ ตไ ด โดยมีเกณฑ
ผา นรอยละ 80 ขนึ้ ไป โดยการทดสอบเกบ็ คะแนน

7. ระยะเวลาท่ใี ชใ นการวจิ ยั
3 สงิ หาคม 2563 – 30 ตุลาคม 2563

3

8. วธิ ดี าํ เนนิ การวจิ ยั

1. การกาํ หนดระยองเวลาทําการวิจยั ระยะเวลาท่ที ําการวิจัยท้งั หมด 12 สปั ดาห สปั ดาหละ 2

ครั้ง รวมทงั้ หมด 24 ครง้ั โดยผูว ิจัยกาํ หนดใหนกั เรยี นอานสะกดคาํ ในหนงั สือแบบเรียนภาษาไทย ในแตละ
คร้ัง ครกู จ็ ะบนั ทึกหลังการอานสะกดคาํ อานเนื้อเรอื่ งในหนงั สือแบบเรยี นภาษาไทย ลงในตารางบันทึกเพื่อ

ความกา วหนา ของตวั นกั เรยี น

ในการวิจัยครัง้ น้ี ผวู ิจัยไดด าํ เนนิ การวจิ ัยตามแผนการสอนตามปกติ โดยครอบคลุมเน้ือหาในการอาน
สะกดคํา อา นเนื้อเร่ืองจากหนงั สอื แบบเรียนภาษาไทย รวมถงึ ฝก เขียนสะกดคาํ ทกุ วนั ในตอนเชากอนมกี าร

เรียนการสอนในภาคเรยี นที่ 1 โดยดาํ เนนิ การสอนในตาราง ดังน้ี

สปั ดาหท ี่ เนอ้ื หา กจิ กรรม เคร่ืองมือ

สปั ดาหท่ี 1 ครง้ั ที่ 1
คําท่ีประสมสระ -ะ - สอนตามปกติ - แบบฝก อา น

และสระ -า -อธบิ ายวธิ กี ารอาน - แบบทดสอบ

ประสมคํา

- ครง้ั ท่ี 2

คาํ ท่ีประสมสระ -ะ - สอนตามปกติ - แบบฝกอา น

และสระ -า -อธิบายวธิ ีการอา น ประสมคาํ - แบบทดสอบ

สปั ดาหท ี่ 2 ครง้ั ท่ี 1 - สอนตามปกติ
คาํ ที่ประสมสระ - แบบฝก อาน

และสระ -อธิบายวธิ ีการอา นประสมคํา - แบบทดสอบ

- ครงั้ ท่ี 2

คาํ ที่ประสมสระ - - สอนตามปกติ - แบบฝก อาน

และสระ - -อธิบายวธิ กี ารอานประสมคาํ - แบบทดสอบ

สปั ดาหท ่ี 3 ครง้ั ท่ี 1
คําที่ประสมสระ -
และสระ - - สอนตามปกติ - แบบฝกอาน
-อธิบายวิธกี ารอา นประสมคํา - แบบทดสอบ

- ครั้งที่ 2

คําทปี่ ระสมสระ - - สอนตามปกติ - แบบฝกอาน
และสระ - -อธิบายวธิ กี ารอานประสมคาํ - แบบทดสอบ

4

สปั ดาหท ่ี เนือ้ หา กจิ กรรม เคร่ืองมอื
สัปดาหท ่ี 4 - สอนตามปกติ - แบบฝกอาน
ครงั้ ที่ 1 -อธิบายวิธีการอานประสมคาํ - แบบทดสอบ
คําที่ประสมสระ -
และสระ - - สอนตามปกติ - แบบฝก อา น
-อธบิ ายวธิ กี ารอา นประสมคํา - แบบทดสอบ
- ครั้งท่ี 2
คาํ ทป่ี ระสมสระ - - สอนตามปกติ - แบบฝก อาน
และสระ - -อธิบายวิธีการอานประสมคํา - แบบทดสอบ

สัปดาหท ี่ 5 ครัง้ ที่ 1 - สอนตามปกติ - แบบฝก อาน
คําที่ประสมสระ เ- -อธิบายวธิ ีการอา นประสมคํา - แบบทดสอบ
และสระ แ-
- สอนตามปกติ - แบบฝก อาน
- ครัง้ ที่ 2 -อธบิ ายวธิ ีการอา นประสมคํา - แบบทดสอบ
คาํ ที่ประสมสระ เ- - สอนตามปกติ - แบบฝกอาน
และสระ แ- -อธบิ ายวธิ กี ารอานประสมคํา - แบบทดสอบ

สัปดาหท ี่ 6 คร้งั ท่ี 1 - สอนตามปกติ - แบบฝก อา น
คําทีป่ ระสมสระ โ- -อธบิ ายวิธีการอานประสมคํา - แบบทดสอบ
สระ ไ- , ใ-
- สอนตามปกติ - แบบฝก อา น
ครง้ั ที่ 2 -อธิบายวิธกี ารอา นประสมคาํ - แบบทดสอบ
คาํ ทีป่ ระสมสระ โ-
สระ ไ- , ใ-

สปั ดาหท ี่ 7 ครั้งท่ี 1
คําทป่ี ระสมสระ-
และสระ เ -

- ครง้ั ท่ี 2
คําทป่ี ระสมสระ -
และสระ เ -

5

สปั ดาหท ี่ เน้ือหา กิจกรรม เครือ่ งมอื
สัปดาหท ี่ 8
คร้ังที่ 1 - สอนตามปกติ - แบบฝกอาน
- คําทป่ี ระสมสระ เ - -อธิบายวิธีการอา นประสมคาํ - แบบทดสอบ
และสระ - อ
- สอนตามปกติ - แบบฝกอา น
ครง้ั ท่ี 2 -อธิบายวธิ กี ารอานประสมคํา - แบบทดสอบ
คาํ ที่ประสมสระ เ -
และสระ - อ - สอนตามปกติ - แบบฝก อาน
-อธิบายวธิ ีการอานประสมคาํ - แบบทดสอบ
สปั ดาหท่ี 9 ครง้ั ท่ี 1
คําที่ประสมสระ เ- อ - สอนตามปกติ - แบบฝกอาน
และสระ เ - ย -อธบิ ายวิธีการอา นประสมคาํ - แบบทดสอบ

- ครั้งท่ี 2 - สอนตามปกติ - แบบฝก อาน
คําที่ประสมสระ เ- อ -อธิบายวิธีการอานประสมคาํ - แบบทดสอบ
และสระ เ - ย
- สอนตามปกติ - แบบฝกอาน
สัปดาหท่ี 10 ครั้งท่ี 1 -อธิบายวธิ กี ารอา นประสมคํา - แบบทดสอบ
คาํ ที่ประสมสระ - ว
และสระ เ - ,สระ แ - - แบบฝก อาน
- แบบทดสอบ
- ครั้งท่ี 2
คาํ ท่ปี ระสมสระ - ว - แบบฝก อา น
และสระ เ - ,สระ แ - - แบบทดสอบ

สัปดาหท ่ี 11 คร้ังท่ี 1 - สอนตามปกติ
คาํ ทป่ี ระสมสระโ - -อธิบายวิธีการอานประสมคาํ
และสระ เ - อะ
- สอนตามปกติ
ครัง้ ที่ 2 -อธิบายวธิ ีการอา นประสมคํา
คําท่ปี ระสมสระโ-
และสระ เ - อะ

6

สปั ดาหท ่ี เน้อื หา กจิ กรรม เครือ่ งมอื
สัปดาหท ี่ 12 ครง้ั ท่ี 1
- สอนตามปกติ - แบบฝก อา น
- คําทีป่ ระสมสระ เ – ยะ -อธบิ ายวธิ ีการอา น - แบบทดสอบ
และสระ - วะ , เ – อ ประสมคาํ
- แบบฝกอาน
คร้ังที่ 2 - สอนตามปกติ - แบบทดสอบ
คาํ ท่ปี ระสมสระ เ – ยะ -อธบิ ายวธิ กี ารอาน
และสระ - วะ , เ – อ ประสมคํา

2. ในการสอนทุกสปั ดาห ผวู ิจัยไดด ําเนินการใชว ธิ ีการประเมินท่ีเนนผเู รียนเปน สําคญั ดงั นี้
การสงั เกตการสอนของครู การสนทนาพดู คุยกับนักเรียน การอา นสะกดของนักเรียนการตรวจแบบฝกหัด
แบบมีขอมขี อเสนอแนะ และขอ คิดเหน็

3. วิธกี ารสอนทัง้ ใน 12 สัปดาห ผวู ิจยั ไดดาํ เนินการสอนดงั ตอ ไปนี้

ขั้นนาํ เขา สูบทเรียน
ครทู บทวนการประสมคาํ ทีม่ พี ยญั ชนะตน สระ ตวั สะกดและรปู วรรณยุกต โดยครูเขียนคํา และ

ใหน กั เรียนออกไปเขยี นแสดงการกระจายคาํ ตอไปนี้

คาํ พยัญชนะตน สระ ตวั สะกด รปู วรรณยกุ ต
ขยะ ขย - - -
วาว ว - ว -
ตลาด ตล - ด -
ปน ป - น -
หลบั หล - บ -

7

ขั้นสอน
1. ครอู ภิปรายเกี่ยวกบั หลักในการประสมคาํ ดว ยสระตา งๆวา ประสมสระใดบาง ทมี่ ตี อสะกดแลว

รปู สระจะเปลยี่ นรูปหรือเรยี กวาสระลดรปู
2. ครยู กตวั อยางคําทีป่ ระสมดวยสระ - เชน คาํ วา กะ ก + = กะ ครอู ธบิ ายถึงคําท่ีประสม

สระ - ที่ไมมีตวั สะกด จะยงั คงรปู สระ - ไวดงั เดิม และถา ประสมสระ - และมีตัวสะกด จะ
เปล่ียนรปู จากสระ - เปนไมห นั อากาศ เชน ก + + บ = กบั

3. ครอู ภปิ รายเกีย่ วกบั การประสมคําดว ยสระตา งๆ ตามตารางการสอนท่ไี ดกําหนดไวท งั้ 12
สปั ดาห

4. ใหนกั เรยี นทําแบบฝก หัดและอา นสะกดคํา
ขัน้ สรุป

1. ครูและนกั เรียนชว ยกันอภิปรายสรุปเกี่ยวกับการประสมคําท่ีมีสระตา งๆ ทงั้ ทาํ ที่มตี ัวสะกดและไม
มีตวั สะกด

2. ครูใหนักเรยี นทาํ แบบฝก หัดโดยการอานสะกดคาํ
3. ตรวจแบบทดสอบโดยการเขยี นขอเสนอแนะและขอคิดเหน็

9. เครื่องมือทใ่ี ชใ นการวจิ ัย
1. เครื่องมอื ทใี่ ชในการสอนหมายถงึ สือ่ วสั ดุ อปุ กรณ
2. เครือ่ งมอื ทีใ่ ชในการเกบ็ รวบรวมขอมลู ประกอบดวย
2.1 แบบบนั ทกึ ประจําสัปดาหของครู หมาย ถงึ การทคี่ รูสงั เกตพฤติกรรมการสอนของครแู ละ

พฤติกรรมการเรียนรูของนกั เรียน จากน้ันมาทาํ การจดบนั ทึกสรปุ ประจําสัปดาห สปั ดาหล ะ 1 ครง้ั
โดยครอบคลมุ 4 ประเดน็ ดังนี้ การสังเกตการสอนของครู การสนทนาพดู คยุ กบั นักเรียน การตรวจเช็ค
การอานในแตละคร้งั ของนักเรยี นในตาราง โดยมกี ารควบคุมการเรยี นการสอนทั้งหมด 24 คร้งั

2.2 แบบตารางดาํ เนนิ การสอนของครู 12 สัปดาห = 2 / สัปดาห
2.3 แบบทดสอบแบบฝกอา นสะกดคาํ
2.4 แบบตารางคะแนนในการอา นสะกดคาํ ของนักเรียนแตล ะคน
2.5 ไดนําแบบฝกอานสะกดคํามาวิเคราะหผลการเรยี นรู

8

10. การวเิ คราะหขอ มูล
จากแบบสังเกตซงึ่ ผูวิจัยบันทึกในเคร่ืองมือ การวิเคราะหตอนนี้ ผูวิจัยไดนําแบบตารางการบนั ทกึ

พฤติกรรมของครูที่จดบันทึกไวม าสังเคราะหสรปุ เปนจาํ นวน 12 คร้งั โดยไดท ําเปน ตารางการบันทึก ดังนี้

บนั ทึกสปั ดาหท ี่ บนั ทกึ พฤตกิ รรมการสอนของครูและการเรยี นของนกั เรยี น
1
กอนเรยี น หลงั เรยี น
2
3 ครใู หนกั เรียนอานคํา ตามแบบฝก ครูใหน ักเรยี นอา นซ้าํ คําเดิมหลังจากการ

อาน เปน คาํ ทปี่ ระสมดวยสระ - , อธิบายเกี่ยวกับเนื้อหาทีเ่ รยี น นกั เรยี น
- มีตัวสะกดและไมมตี ัวสะกด สามารถอานออกไดอ ยา งคลองแคลว

นกั เรียนอา นไดแ ตไมคลองแคลว

ครใู หน กั เรียนอานคาํ ตามแบบฝก ครใู หนักเรียนอา นซา้ํ คําเดิมหลงั จากการ

อาน เปน คําทีป่ ระสมดว ย สระ - , อธิบายเกี่ยวกับเนื้อหาทีเ่ รียน นกั เรียน
- นกั เรียนอา นได สามารถอา นออกไดอยา งคลองแคลว

ครูใหนกั เรยี นอา นคําถาม แบบฝก ครูใหน กั เรียนอานซ้าํ คําทป่ี ระสมดว ยสระ

อา นเปนคาํ ทีป่ ระสมดว ยสระ - , - -,-หลงั จากท่คี รูไดสอนนักเรยี นสวนใหญ
นกั เรยี นอานแตไ มคลอง สามารถอา นไดดี

4 ครใู หน กั เรียนอานแบบฝก ทป่ี ระสม ครใู หน กั เรียนอานแบบฝกอา นทป่ี ระสม
ดว ยสระ - , - นกั เรยี น 3 คนอาน ดว ยสระ - , - หลังจากครูอธิบายการอาน
ได แตน ักเรยี นอีกคนยงั อานไมค ลอ ง ออกเรียงของการประสมกบั สระ - ,-
นักเรียนทง้ั 4 คน สามารถอานไดอ ยา ง
คลอ งแคลว

5 ครูใหน กั เรยี นอา นแบบฝก ทีป่ ระสม ครใู หน กั เรียนอานแบบฝก อา นทปี่ ระสม

ดวยสระ เ - , แ - นักเรียนยังอา น ดวยสระ เ - , แ - หลังจากครอู ธิบาย
ไดไ มคลอ งแคลว การอานออกเสียงของการประสมดวยสระเ

- , แ - นักเรียนสามารถอา นออกเสยี งได

อยา งถูกตอง

6 ครใู หน กั เรยี นอา นออกแบบฝกที่ ครใู หน กั เรยี นอานแบบฝกอานทป่ี ระสม
ประสมดวยสระ โ- , ไ- , ใ- ดวยสระ โ- , ไ- , ใ- หลังจากครูได

นกั เรียนท้งั หมดอานออกเสยี งได อธิบายถึงหลักวิธีในการอา น นกั เรียนทกุ

ชัดเจน , ถกู ตอ ง คนอานไดถูกตอ ง

9

บนั ทกึ สัปดาหที่ บนั ทกึ พฤตกิ รรมการสอนของครูและการเรยี นของนกั เรยี น
7
8 กอ นเรยี น หลงั เรยี น
9
ครูใหน กั เรียนอา นแบบฝกทปี่ ระสม ครูใหนักเรยี นอา นแบบฝก อา นท่ีประสมดว ย
10
11 ดว ยสระ - , เ - สระ , เ -
12
นกั เรียนอา นไดแตย ังไมดเี ทาทีค่ วร หลังจากที่ครูไดอธิบาย ถึงหลักในการอานที่
ประสมดวยสระ - , เ - นักเรยี นทกุ

คนอานไดถ ูกตอ งทุกคน

ครใู หนักเรียนอา นแบบฝกอานท่ี ครูใหน ักเรียนอา นแบบฝก อานทป่ี ระสมดวย

ประสมดว ยสระ เ - , - อ สระ เ - , - อ หลงั จากทีค่ รูสอนและ
นกั เรียนทง้ั หมดอา นไดแตย งั ตอง อธิบายหลักในการอา นออกเสียง

สะกดคํา อานยงั ไมคลองเทาทีค่ วร นกั เรียนทุกคนอา นไดด ีมาก

ครูใหน ักเรียนอานแบบฝกอา นท่ี ครูใหนักเรียนอา นแบบฝกอานทปี่ ระสมดวย
ประสมดว ยสระ เ - อ , เ - ย สระ เ - อ , เ - ย หลงั จากที่ครูไดสอน

นักเรยี นบางคนยงั ตองสะกดคําทลี ะ และ

คาํ อานยงั ไมค ลองเทาที่ควร อธบิ ายหลกั ในการอา นคําที่ประสมกบั สระ
เ - อ , เ - ย นกั เรียนทกุ คนอา นได

คลอ งแคลว ดีมาก

ครใู หน กั เรียนอานแบบฝก อานท่ี ครูใหน ักเรียนอา นแบบฝกอา นท่ปี ระสมดว ย

ประสมดว ย - ว , เ - , แ - สระ - ว , เ - , แ - อกี ครง้ั หลังจาก
นักเรยี นบางคนยังอานได ที่ครอู ธิบายการอา นสะกดคาํ ท่ีประสมดว ย

ไมคลอง สระ - ว , เ - , แ - นักเรียนทุกคนอาน

ไดค ลองแคลว ดมี าก

ครใู หน กั เรยี นอานแบบฝก อา นที่ ครใู หน กั เรยี นอานแบบฝกอา นท่ปี ระสมดวย

ประสมสระ โ - และสระ สระ โ - และสระ เ – อ หลงั จากที่ครู

เ – อ นักเรียนบางคนยงั อานไม อธิบายหลักการอานคําที่ประสมดว ยสระโ -
ถกู ตอง และสระ เ – อ นักเรียนทกุ คนอานออก

เสียงไดอ ยา งถูกตอ งชัดเจนมากขึ้น

ครูใหนักเรียนอานแบบฝก อา นที่ ครูใหนักเรียนอา นแบบฝก อา นอกี ครั้ง

ประสมดวยสระ โ - และสระ เ – หลงั จากท่คี รูอธิบายถงึ หลักในการอานคําท่ี
อ นกั เรียนสว นใหญย งั อานออก ประสมดว ยสระ เ - ยะ , - วะ , เ – อ

เสียงไมถูกตอง นักเรยี นทกุ คนอา นไดถ กู ตองชัดเจน

10

การวิเคราะหต อนนี้ ผวู ิจัยไดนําคะแนนในการอา นสะกดคําท่ีประสมดว ยสระตางๆ คะแนนจาก
แบบทดสอบกอ นเรยี นและหลงั ผลการวิเคราะหคะแนนปรากฏวา กอ นเรยี น นกั เรียนสามารถอา นสะกดคาํ อยู
ในเกณฑ 28.33 , 37.50, 45.00, 44.17, 41.67 ,38.33 , 45.33 , 38.33คอื ตอ งมีการแกไ ขและคะแนนหลงั
เรียน นกั เรยี นสามารถอานสะกดคําอยูในเกณฑ 81.67, 84.17, 92.50, 85.83, 84.17, 82.50, 86.67, 81.67
คอื ดีมาก

11. ผลการวจิ ยั

จากการนาํ แบบฝกพัฒนาทกั ษะการอา นสะกดคําไปใชกับนักเรยี นทั้ง 8 คนและไดบนั ทกึ เปนคะแนน
ดังนี้

แบบตารางบนั ทกึ การใหค ะแนนในการอานสะกดคาํ ของเดก็ ชายไพรชั ช แกว นนั เฮา

แบบบนั ทกึ การอา นประสมสระ คะแนน ( 10 )

1. คําที่ประสมสระ - , - กอนเรยี น หลงั เรยี น
2. คําทปี่ ระสมสระ - , -
3. คาํ ทีป่ ระสมสระ - , - 38
4. คําทป่ี ระสมสระ - , -
5. คําทีป่ ระสมสระ เ - , แ - 28
6. คําทปี่ ระสมสระ โ- , ไ- , ใ-
7. คําท่ปี ระสมสระ - , เ - 49
8. คําที่ประสมสระ เ - , - อ
9. คําที่ประสมสระ เ - อ , เ - ย 38
10. คาํ ท่ีประสมสระ - ว , เ - , แ -
11. คําที่ประสมสระ โ - , เ – อ 49
12. คาํ ทป่ี ระสมสระ - , -
38
รวมคา เฉลย่ี
38

28

27

38

39

28

28.33 81.67

11

แบบตารางบนั ทกึ การใหค ะแนนในการอานสะกดคาํ ของเดก็ ชายธนฐั ชยั มวนชัยภมู ิ

แบบบนั ทึกการอา นประสมสระ คะแนน ( 10 )

1. คาํ ที่ประสมสระ - , - กอนเรยี น หลงั เรยี น
2. คาํ ที่ประสมสระ - , -
3. คําทีป่ ระสมสระ - , - 49
4. คาํ ที่ประสมสระ - , -
5. คําทป่ี ระสมสระ เ - , แ - 28
6. คาํ ทป่ี ระสมสระ โ- , ไ- , ใ-
7. คําทป่ี ระสมสระ - , เ - 48
8. คําที่ประสมสระ เ - , - อ
9. คาํ ที่ประสมสระ เ - อ , เ - ย 39
10. คําท่ปี ระสมสระ - ว , เ - , แ -
11. คาํ ทป่ี ระสมสระ โ - , เ – อ 49
12. คําทีป่ ระสมสระ โ - และสระ เ – อ
38
รวมคา เฉลย่ี
48

48

39

58

49

58

37.50 84.17

12

แบบตารางบนั ทึกการใหคะแนนในการอานสะกดคาํ ของ เด็กชายจริ ศกั ด์ิ สรอ ยพาน

แบบบนั ทึกการอา นประสมสระ คะแนน ( 10 )

1. คําทป่ี ระสมสระ - , - กอนเรยี น หลงั เรยี น
2. คําทป่ี ระสมสระ - , -
3. คาํ ที่ประสมสระ - , - 5 10
4. คาํ ที่ประสมสระ - , -
5. คาํ ทป่ี ระสมสระ เ - , แ - 59
6. คําทป่ี ระสมสระ โ- , ไ- , ใ-
7. คําทปี่ ระสมสระ - , เ - 59
8. คําที่ประสมสระ เ - , - อ
9. คาํ ที่ประสมสระ เ - อ , เ - ย 4 10
10. คําที่ประสมสระ - ว , เ - , แ -
11. คําท่ปี ระสมสระ โ - , เ – อ 49
12. คําทป่ี ระสมสระ - , -
59
รวมคา เฉลย่ี
49

49

49

5 10

59

49

45.00 92.50

13

แบบตารางบนั ทกึ การใหค ะแนนในการอา นสะกดคาํ ของเดก็ ชายภาคภมู ิ บญุ ครอง

แบบบนั ทกึ การอา นประสมสระ คะแนน ( 10 )

1. คําที่ประสมสระ - , - กอ นเรยี น หลงั เรยี น
2. คําที่ประสมสระ - , -
3. คําทป่ี ระสมสระ - , - 49
4. คําที่ประสมสระ - , -
5. คําทป่ี ระสมสระ เ - , แ - 59
6. คําทป่ี ระสมสระ โ- , ไ- , ใ-
7. คาํ ที่ประสมสระ - , เ - 49
8. คําทป่ี ระสมสระ เ - , - อ
9. คาํ ที่ประสมสระ เ - อ , เ - ย 58
10. คาํ ทป่ี ระสมสระ - ว , เ - , แ -
11. คําทีป่ ระสมสระ โ - , เ – อ 49
12. คําทีป่ ระสมสระ - , -
59
รวมคา เฉลย่ี
58

58

49

38

59

48

44.17 85.83

14

แบบตารางบนั ทกึ การใหคะแนนในการอานสะกดคาํ ของเดก็ ชายกมั ปนาท ฉายศรี

แบบบนั ทกึ การอา นประสมสระ คะแนน ( 10 )

1. คําทีป่ ระสมสระ - , - กอ นเรยี น หลงั เรยี น
2. คําทปี่ ระสมสระ - , -
3. คําที่ประสมสระ - , - 49
4. คาํ ทปี่ ระสมสระ - , -
5. คําทป่ี ระสมสระ เ - , แ - 59
6. คําทป่ี ระสมสระ โ- , ไ- , ใ-
7. คําที่ประสมสระ - , เ - 49
8. คําที่ประสมสระ เ - , - อ
9. คาํ ที่ประสมสระ เ - อ , เ - ย 58
10. คําท่ีประสมสระ - ว , เ - , แ -
11. คาํ ท่ีประสมสระ โ - , เ – อ 49
12. คาํ ทีป่ ระสมสระ - , -
59
รวมคา เฉลย่ี
58

58

48

38

38

38

41.67 84.17

15

แบบตารางบันทกึ การใหค ะแนนในการอา นสะกดคาํ ของเดก็ ชายกิตตภิ คั คํานงึ

แบบบนั ทึกการอา นประสมสระ คะแนน ( 10 )

1. คําที่ประสมสระ - , - กอ นเรยี น หลงั เรยี น
2. คาํ ที่ประสมสระ - , -
3. คําที่ประสมสระ - , - 48
4. คาํ ทป่ี ระสมสระ - , -
5. คําที่ประสมสระ เ - , แ - 57
6. คาํ ทป่ี ระสมสระ โ- , ไ- , ใ-
7. คําทป่ี ระสมสระ - , เ - 48
8. คาํ ทปี่ ระสมสระ เ - , - อ
9. คาํ ที่ประสมสระ เ - อ , เ - ย 58
10. คําท่ีประสมสระ - ว , เ - , แ -
11. คาํ ท่ีประสมสระ โ - , เ – อ 39
12. คําทปี่ ระสมสระ - , -
39
รวมคา เฉลย่ี
38

38

49

38

59

48

38.33 82.5

16

แบบตารางบนั ทกึ การใหค ะแนนในการอา นสะกดคาํ ของเดก็ ชายกิตตชิ ยั ผลขะจี

แบบบนั ทึกการอา นประสมสระ คะแนน ( 10 )

1. คําทป่ี ระสมสระ - , - กอนเรยี น หลงั เรยี น
2. คาํ ท่ปี ระสมสระ - , -
3. คาํ ทป่ี ระสมสระ - , - 49
4. คําที่ประสมสระ - , -
5. คาํ ทปี่ ระสมสระ เ - , แ - 59
6. คาํ ทป่ี ระสมสระ โ- , ไ- , ใ-
7. คาํ ทป่ี ระสมสระ - , เ - 49
8. คําที่ประสมสระ เ - , - อ
9. คาํ ท่ีประสมสระ เ - อ , เ - ย 58
10. คาํ ที่ประสมสระ - ว , เ - , แ -
11. คาํ ทป่ี ระสมสระ โ - , เ – อ 49
12. คาํ ทป่ี ระสมสระ - , -
59
รวมคา เฉลยี่
58

58

49

59

59

48

45.83 86.67

17

แบบตารางบนั ทกึ การใหค ะแนนในการอา นสะกดคาํ ของเดก็ ชายศภุ ณฐั วรรณภกั ดี

แบบบนั ทึกการอา นประสมสระ คะแนน ( 10 )

1. คาํ ทป่ี ระสมสระ - , - กอนเรยี น หลงั เรยี น
2. คาํ ที่ประสมสระ - , -
3. คําที่ประสมสระ - , - 49
4. คําที่ประสมสระ - , -
5. คาํ ทป่ี ระสมสระ เ - , แ - 59
6. คาํ ที่ประสมสระ โ- , ไ- , ใ-
7. คาํ ท่ีประสมสระ - , เ - 49
8. คําทป่ี ระสมสระ เ - , - อ
9. คําท่ปี ระสมสระ เ - อ , เ - ย 58
10. คําท่ปี ระสมสระ - ว , เ - , แ -
11. คําทีป่ ระสมสระ โ - , เ – อ 49
12. คาํ ที่ประสมสระ - , -
37
รวมคา เฉลยี่
37

37

49

38

48

48

38.33 81.67

12. สรุปและอภปิ รายผล
จากผลในการวจิ ยั ในเรอื่ งการพฒั นาทกั ษะในดา นการอา นของนักเรียน ชั้นประถมศกึ ษาปที่ 2/5

ซง่ึ มจี าํ นวนนักเรยี น 8 คน คือ เด็กชายไพรัชช แกว นนั เฮา , เดก็ ชายธนฐั ชัย มวนชยั ภูม,ิ เดก็ ชายจริ ศกั ดิ์
สรอ ยพาน, เดก็ ชายภาคภมู ิ บญุ ครอง , เดก็ ชายกมั ปนาท ฉายศร,ี เด็กชายกิตติภัค คํานงึ , เด็กชายกิตติชยั
ผลขะจแี ละ เด็กชายศุภณฐั วรรณภกั ดีพบวานกั เรยี นมปี ญหาในดา นทักษะการอา นสะกดคาํ ผูว จิ ยั จงึ ได
ทดสอบโดยใชแ บบทดสอบการอา นสะกดคาํ ที่ประสมสระตางๆ ใหนักเรยี นไดฝ กอาน โดยในขนั้ แรกคือการ
ทดสอบกอนเรยี น นกั เรียนสามารถอา นคาํ ทีก่ ําหนดใหไดอยูในเกณฑ 28.33 , 37.50, 45.00, 44.17, 41.67
,38.33 , 45.33 , 38.33 จากเกณฑ รอ ยละ 80 ผลคือยังตอ งมีการแกไ ข ดังนนั้ ครจู งึ ใชแนวการสอนและ
เทคนคิ ตา งๆ ในการทจ่ี ะใหน ักเรียนมีความเขาใจในทกั ษะในดานการอานสะกดคาํ และไดใหเ พ่อื นๆ ในหอง
ไดม ีสวนรว มในการแนะนาํ หลักและวธิ ใี นการอา นสะกดคํา หลังจากนัน้ ครไู ดใชชดุ แบบทดสอบชดุ เดมิ ให
นกั เรยี นไดฝก ทดลองอา นสะกดคําอีกคร้ัง ผลปรากฎวานกั เรียนมผี ลสัมฤทธ์ใิ นดา นการอานสะกดคําโดยคิด
เปนรอ ยละ 81.67, 84.17, 92.50, 85.83, 84.17, 82.50, 86.67, 81.67 แสดงวานกั เรียนมีการพัฒนาทักษะ
ในดา นการอา นทีด่ ีขน้ึ

18

เอกสารอา งองิ

กรรณิการ พวงเกษม. ปญ หาและกลวธิ ีการสอนภาษาไทยในโรงเรยี นประถมศึกษา. พมิ พครั้งท่ี 2.
กรงุ เทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช, 2548.

กระทรวงศกึ ษาธิการ. หลกั สูตรการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2544. พิมพค ร้ังท่ี 3. กรงุ เทพฯ :
ครุ สุ ภาลาดพรา ว, 2545.
.คมู ือการจดั การเรียนรู กลมุ สาระการเรยี นรภู าษาไทย. กรงุ เทพฯ : องคก ารรับสงสินคา และ
พสั ดุภัณฑ (ร.ส.พ.), 2545.
.สาระและมาตรฐานการเรยี นรู กลุม สาระการเรยี นรภู าษาไทย ในหลักสตู รการศกึ ษา
ข้นั พน้ื ฐาน. กรงุ เทพฯ : องคก ารรบั สงสินคาและพัสดภุ ัณฑ (ร.ส.พ.), 2551.
. หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551. กรงุ เทพฯ : ชมุ นมุ สหกรณ
การเกษตรแหง ประเทศไทย จํากดั , 2552.

กรมวิชาการ. หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 สาระและมาตรฐานการเรียน
ภาษาไทย. กรุงเทพฯ : องคก ารรับสงสินคาและพัสดภุ ณั ฑ (ร.ส.พ.), 2551.

______.คมู อื การจัดการเรยี นรู กลมุ สาระการเรยี นรภู าษาไทย. กรุงเทพฯ : กรมวชิ าการ
กระทรวงศึกษาธกิ าร, 2551.

ประวีณา เอ็นดู. การพฒั นาแผนการเรยี นรภู าษาไทย เรอ่ื งการอา นการเขยี นสะกดคาํ ชนั้ ประถมศกึ ษา
ปท ่ี 1 โดยใชแ บบฝก ทกั ษะ. การศกึ ษามหาบณั ฑติ สาขาหลกั สตู รและการสอน มหาวิทยาลัย
มหาสารคาม, 2547.

มนัสวาท ไชยดารา. การพฒั นาทกั ษะการเขยี นโดยใชแ ผนการเรยี นรแู บบบรู ณาการ กลมุ สาระ
การเรยี นรภู าษาไทย ชนั้ ประถมศกึ ษาปที่ 4. วทิ ยานิพนธ กศ.ม. มหาสารคาม : มหาวิทยาลยั
มหาสารคาม, 2546.

สกุณา เลิกนอก. การศกึ ษาผลสมั ฤทธ์กิ ารอานและการเรยี นสะกดคาํ ยาก โดยใชแบบฝก เสรมิ ทักษะวชิ า
ภาษาไทย ชนั้ ประถมศกึ ษาปท ่ี 4. วทิ ยานิพนธ ศึกษาศาสตรมหาบัณฑติ สาขาหลกั สตู รและ
การสอน บัณฑติ วทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลัยขอนแกน, 2545.

สนทิ สตั โยภาส. ภาษาไทยเพ่อื การศกึ ษาและสืบคน . กรงุ เทพฯ. : สํานักพมิ พธารอักษร, 2545.
สามารถ ศักด์เิ จริญ. ปญ หาการเขยี นสะกดการนั ต ของนกั เรียนชน้ั ประถมศกึ ษาปท ี่ 3 ในจงั หวดั ภาคใต.

วิทยานพิ นธ ค.ม. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2546.
สญั ลกั ษณ ณ หนองคาย. พฒั นาทกั ษะในดานการอา น ของนักเรยี นช้ันประถมศกึ ษาปท ่ี 3/3. วจิ ยั ในชัน้ เรียน
โรงเรยี นศรแี กงครอ, 2562.

ภาคผนวก

กล่มุ สาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ภาคเรียนที 1 ปี การศึกษา 2563

แบบทดสอบ กอ่ นเรียน หลงั เรียน

ชือ................................................................. ชนั .......................... เลขที..........................

แบบฝึกอา่ นสะกดคาํ ทีประสมดว้ ยสระ - และ สระ -

สัญญา พยายาม สปั ดาห์ อนั ตราย

จกั จนั ตลาด อาทิตย์ ประทบั
กระดาน กระตา่ ย
อากาศ กลา้ หาญ ถวาย ยากจน
องั คาร มะขาม
ตกั บาตร ปัญหา

สะพาน กระทะ

รวมคะแนนทีได้

กล่มุ สาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ภาคเรียนที 1 ปี การศึกษา 2563

แบบทดสอบ กอ่ นเรียน หลงั เรียน

ชือ................................................................. ชนั .......................... เลขที..........................
แบบฝึกอ่านสะกดคาํ ทีประสมดว้ ยสระ - และ สระ -

ยนิ ดี กิงกา่ ปรีดา นิวชี

อาชีพ หนา้ ที กะทิ รีดผา้

สวสั ดี จงิ หรีด ฉีดยา นาฬิกา

อธิบาย ปฏิทิน บิณฑบาต ชิงชา้

พริ าบ สิงโต สุขี ยรี าฟ

รวมคะแนนทีได้

กล่มุ สาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ภาคเรียนที 1 ปี การศึกษา 2563

แบบทดสอบ กอ่ นเรียน หลงั เรียน

ชือ................................................................. ชนั .......................... เลขที..........................
แบบฝึกอ่านสะกดคาํ ทีประสมดว้ ยสระ - และ สระ -

สะดือ รู้สึก นบั ถือ นกั สืบ

แกงจืด ลูกปื น กลางคืน หนงั สือ

เสือยดื ยดึ ถือ เดก็ ดือ สดชืน

ขา้ ศกึ ครึกครืน ซือสตั ย์ มือปื น

สะอืน เลขหนึง องึ อา่ ง ปลาหมึก

รวมคะแนนทีได้

กล่มุ สาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ภาคเรียนที 1 ปี การศึกษา 2563

แบบทดสอบ กอ่ นเรียน หลงั เรียน

ชือ................................................................. ชนั .......................... เลขที..........................

แบบฝึกอา่ นสะกดคาํ ทีประสมดว้ ยสระ - และ สระ -

ปลาทู ปลาดุก นกฮูก ลูกนาํ

คุณป่ ู ผกั บุง้ รุ้งกินนาํ ใตถ้ ุน

มูมมาม ตะครุบ เตา้ หู้ ต่อสู้

ฟองสบู่ สุนขั เลขศูนย์ กระตุน้

แมงมุม บุญคุณ ทีอยู่ ถวั พู

รวมคะแนนทีได้

กล่มุ สาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ภาคเรียนที 1 ปี การศึกษา 2563

แบบทดสอบ ก่อนเรียน หลงั เรียน

ชือ................................................................. ชนั .......................... เลขที..........................
แบบฝึกอ่านสะกดคาํ ทีประสมดว้ ยสระ เ - และ สระ แ -

จระเข้ หาบเร่ วา้ เหว่ กอ้ นเมฆ

วนุ้ เส้น ประเคน กญุ แจ ตกั แตน

แสงแดด อ่อนแอ แหง้ แลง้ แขง็ แรง

เร่งรีบ แกว้ นาํ แปลกหนา้ กาแฟ

ปันแป้ง แกงแค ร่อนเร่ เกเร

รวมคะแนนทีได้

กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ภาคเรียนที 1 ปี การศึกษา 2563

แบบทดสอบ กอ่ นเรียน หลงั เรียน

ชือ................................................................. ชนั .......................... เลขที..........................
แบบฝึกอา่ นสะกดคาํ ทีประสมดว้ ยสระ โ - , ไ - , ใ -

ลาํ ไย หยากไย่ เชือโรค ไฟไหม้

ทางไกล ไวใ้ จ ไฟฟ้า โมโห

ขโมย โปรยปราย เหลก็ ไน ของโปรด

ใหญ่โต ทิศใต้ กรรไกร ตะใคร่

ไกวเปล เรือใบ ไอศกรีม เหลวไหล

รวมคะแนนทีได้

กล่มุ สาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ภาคเรียนที 1 ปี การศึกษา 2563

แบบทดสอบ ก่อนเรียน หลงั เรียน

ชือ................................................................. ชนั .......................... เลขที..........................
แบบฝึกอา่ นสะกดคาํ ทีประสมดว้ ยสระ - และ สระ เ -

เตน้ ราํ สีเทา งเู ห่า แม่นยาํ

ลาํ ธาร รองเทา้ ประจาํ เลา้ ไก่

ตาํ รวจ สาํ คญั เกาเหลา โศกเศร้า

ชาํ นาญ โง่เขลา กาํ ยาํ แนะนาํ

เมาเหลา้ สม้ ตาํ สาํ เภา สาํ เนา
รวมคะแนนทีได้

กล่มุ สาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ภาคเรียนที 1 ปี การศึกษา 2563

แบบทดสอบ ก่อนเรียน หลงั เรียน

ชือ................................................................. ชนั .......................... เลขที..........................

แบบฝึกอ่านสะกดคาํ ทีประสมดว้ ยสระ เ - และ สระ - อ

ทะเลาะ ปีเถาะ หวั เราะ ขายเงาะ

ขอพร ออ้ นวอน กลอนประตู ปลอดภยั

ดาวเคราะห์ จราจร มงั กร บงั อร

เสือเกราะ ใจเสาะ นาํ เซาะ ลกู ศร

ละคร ไพเราะ เสนาะ ลาํ คลอง

รวมคะแนนทีได้

กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ภาคเรียนที 1 ปี การศึกษา 2563

แบบทดสอบ ก่อนเรียน หลงั เรียน

ชือ................................................................. ชนั .......................... เลขที..........................

แบบฝึกอา่ นสะกดคาํ ทีประสมดว้ ยสระ เ - อ และ สระ เ - ย

มะเมีย นาํ เกลือ ทิศเหนือ กระเทียม

นกเหยยี ว ขา้ วเหนียว เชืองชา้ เงียบเหงา

ขนมเบือง นางเงอื ก เปรียบเหมอื น เลือยคลาน

ระเบียง เกียวขา้ ว เกอื กมา้ สีเทียน

เขียวอ่อน เกยี จคร้าน เลียวขวา ไมเ้ รียว

รวมคะแนนทีได้

กล่มุ สาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ภาคเรียนที 1 ปี การศึกษา 2563

แบบทดสอบ ก่อนเรียน หลงั เรียน

ชือ................................................................. ชนั .......................... เลขที..........................

แบบฝึกอา่ นสะกดคาํ ทีประสมดว้ ยสระ - ว และ สระ เ - , แ -

ลบบวก ดอกบวั ลวกผกั ขายขวด

ดินร่วน พรวนดิน หมูสะเต๊ะ เสดจ็

รสเผด็ เกะกะ เหมน็ เน่า เมลด็

เอร็ดอร่อย เกร็ดความรู้ แคระแกร็น ถวั แระ

แป๊ ะซะ กระเสาะกระแสะ นมแพะ แขง็ แรง

รวมคะแนนทีได้

กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ภาคเรียนที 1 ปี การศึกษา 2563

แบบทดสอบ ก่อนเรียน หลงั เรียน

ชือ................................................................. ชนั .......................... เลขที..........................
แบบฝึกอ่านสะกดคาํ ทีประสมดว้ ยสระ โ - และ สระ เ - อะ

ธงชาติ ดนตรี เหมาะสม วงกบ

โป๊ ะไฟ อดทน ดืมนม เคารพ

นาํ กรด บนโต๊ะ เปรอะเปื อน เยอะแยะ

เคอะเขิน หนาเตอะ เหนียวเหนอะ เฉอะแฉะ

เกรอะกรัง กรงนก หลงทาง ชืนชม

รวมคะแนนทีได้

กล่มุ สาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ภาคเรียนที 1 ปี การศึกษา 2563

แบบทดสอบ ก่อนเรียน หลงั เรียน

ชือ................................................................. ชนั .......................... เลขที..........................

แบบฝึกอา่ นสะกดคาํ ทีประสมดว้ ยสระ เ - ย , - ว , เ - อ

ขนมเปี ยะ รองเทา้ เกียะ เปาะเปี ยะ ขาวจวั ะ

โอยวั ะ ตีเพยี ะ กอ่ เกิด ค่าเทอม

เฉยเมย ลงเอย เพอื นเกลอ เปรียบเปรย

สมาํ เสมอ เปิ ดเผย ชมเชย อาํ เภอ

ร่าเริง บงั เอิญ เสริมแรง เอกิ เกริก

รวมคะแนนทีได้


Click to View FlipBook Version