รายงานวจิ ยั ในชั้นเรยี น
เร่ือง การพัฒนาแบบฝกึ เสรมิ ทักษะคณติ ศาสตร์ เรื่อง การหาร
สำหรับนักเรียนช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี 2/2 ปีการศึกษา 2564
โดย นางชตุ มิ า เวทศกั ดิ์ ตำแหนง่ ครู
โรงเรียนศรีแกง้ ครอ้
สำนักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 2
สำนักงานการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน
กระทรวงศึกษาธกิ าร
รายงานวจิ ยั ในชั้นเรยี น
เรื่อง การพฒั นาแบบฝกึ เสรมิ ทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง การหาร
สำหรบั นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 2/2
โรงเรียนศรีแกง้ คร้อ
โดย
นางชตุ มิ า เวทศกั ดิ์
ตำแหน่ง ครู
ปีการศกึ ษา 2564
โรงเรียนศรีแกง้ ครอ้
สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 2
สำนกั งานการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน
กระทรวงศกึ ษาธิการ
คำนำ
รายงานวจิ ยั ในชนั้ เรยี นเล่มน้ี มจี ดุ มงุ่ หมายเพอ่ื แกป้ ญั หาความคลาดเคลอื่ นเกี่ยวกับ
การหาร สำหรบั นกั เรยี นชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 2/2 โรงเรียนศรแี กง้ คร้อ รายงานวจิ ยั ในชนั้ เรยี นครงั้ น้ี
เกดิ จาก ผวู้ จิ ยั พบปัญหาทเ่ี กดิ ขน้ึ ในระหว่างการจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนในชนั้ เรยี น และผวู้ จิ ยั ได้
แสวงหาขอ้ มูลและวธิ กี ารทค่ี าดว่าจะแกป้ ัญหาทเ่ี กดิ ขน้ึ ในชนั้ เรยี น อกี ทงั้ สามารถชว่ ยพฒั นาการเรยี น
การสอนใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพได้ และยงั ช่วยพฒั นาวชิ าชพี ครูใหม้ คี วามเขม้ แขง็ ยงิ่ ขน้ึ มกี ารศกึ ษาวจิ ยั และ
พฒั นาการจดั การเรยี นรใู้ นวชิ าทต่ี นรบั ผดิ ชอบและใชผ้ ลในการปรบั การสอนของครู
ผวู้ จิ ยั ขอขอบพระคุณ ดร.ประภาส กองจนั ทร์ ผอู้ านวยการโรงเรยี นศรแี กง้ ครอ้
นายปรชี า นอ้ ยปัญญา รองผอู้ านวยการโรงเรยี นศรแี กง้ ครอ้ และนายจารสั คูณแกว้ รองผอู้ านวยการ
โรงเรยี นศรแี กง้ ครอ้ ทส่ี ง่ เสรมิ และอานวยความสะดวกใหค้ รไู ดจ้ ดั ทาวจิ ยั ในชนั้ เรยี น คณะครปู ระจา
สายชนั้ คณะครกู ลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ ทก่ี รุณาใหค้ วามอนุเคราะห์ ใหค้ าแนะนา ใหค้ วามรู้
ขอ้ คดิ เหน็ ทม่ี ปี ระโยชน์ต่อการศกึ ษาวจิ ยั ในครงั้ น้เี ป็นอยา่ งดี และขอขอบใจนักเรยี นชนั้ ประถมศกึ ษา
ปีท่ี 2/2 โรงเรยี นศรแี กง้ ครอ้ ทกุ คนทใ่ี หค้ วามรว่ มมอื เป็นอย่างดใี นการวจิ ยั และเกบ็ ขอ้ มลู ทใ่ี ชใ้ น
การศกึ ษาวจิ ยั ครงั้ น้ี จนกระทงั่ การศกึ ษาวจิ ยั ครงั้ น้เี สรจ็ สมบรู ณ์
นางชตุ มิ า เวทศกั ดิ์
ผวู้ จิ ยั
สารบญั หนา้
เรอ่ื ง ก
ข
คำนำ
สารบญั 1
1
1. ความเป็นมาและความสาคญั ของปัญหา 1
2. วตั ถุประสงคข์ องการวจิ ยั 1
3. สมมตฐิ านของการวจิ ยั 2
4. ตวั แปรทศ่ี กึ ษา 2
5. ประโยชน์ทไ่ี ดร้ บั จากการวจิ ยั 2
6. ขอบเขตของการวจิ ยั 2
7. ระยะเวลาทใ่ี ชใ้ นการวจิ ยั 2
8. วธิ ดี าเนินการวจิ ยั 2
9. เครอ่ื งมอื ทใ่ี ชใ้ นการวจิ ยั 3
10. ผลการวจิ ยั 3
11. สรุปและอภปิ รายผล 4
12. ขอ้ เสนอแนะ 5
เอกสารอา้ งองิ
ภาคผนวก
รายงานวจิ ัยในชน้ั เรยี น
ชือ่ เรอื่ งวิจัย การพฒั นาแบบฝกึ เสริมทกั ษะคณิตศาสตร์ เร่อื ง การหาร สำหรบั นกั เรียนชั้นประถมศึกษา
ปีที่ 2/2 โรงเรียนศรีแก้งครอ้
ชอ่ื ผ้วู จิ ยั นางชุติมา เวทศกั ด์ิ
ปีทีค่ ำการวิจยั 2564
1. ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
การหาร คือ การจัดกลมุ่ ของสง่ิ ของ หรอื ของสง่ิ ใดสิ่งหน่ึง โดยท่ีแตล่ ะกลุม่ มจี ำนวนเทา่ ๆ กนั
ซง่ึ การหารเรมิ่ ต้นจากการนับลดลงคร้ังละเทา่ ๆ กนั และผลหารคือจำนวนคร้งั ของการนบั ลด นอกจาก
การหารจะมคี วามสัมพนั ธก์ บั การลบแลว้ การหารยงั มคี วามสัมพันธ์กับการคูณ จากการจัดกิจกรรมการเรยี น
การสอนในหัวขอ้ การหาผลหารโดยใช้ความสมั พันธ์ของการคูณและการหาร ครูผู้สอนพบวา่ นกั เรยี น
บางส่วนยงั ไม่สามารถคำนวณการหารได้ถกู ตอ้ ง ทง้ั นี้อาจมีปัญหาจากการท่นี ักเรียนท่องสตู รคูณไม่คล่อง
หรอื บางคนท่องสตู รคูณไมไ่ ด้ และปัญหาที่พบอกี อย่างหน่งึ คือ นักเรียนบางสว่ นไมส่ ามารถเชื่อมโยง
สถานการณ์ปัญหาการหารออกมาในรูปของประโยคสัญลักษณ์ กล่าวคือ นักเรียนเขียนประโยคสัญลักษณ์
สลบั ทก่ี นั ระหว่างตวั ต้งั กับตวั หาร และปญั หาอกี อย่างคือ นกั เรยี นไม่สามารถเขยี นเป็นประโยคสญั ลักษณ์
แสดงใหเ้ หน็ วา่ นกั เรียนไม่สามารถวเิ คราะห์สถานการณป์ ญั หาได้ ซึ่งเปน็ ปัญหาสำคญั ที่ตอ้ งได้รับการแกไ้ ข
อยา่ งย่ิง
ดงั นั้นผู้วจิ ัยจึงพฒั นาแบบฝึกเสรมิ ทกั ษะคณติ ศาสตรเ์ รือ่ ง การหาร สำหรบั นกั เรยี นช้นั ประถมศึกษา
ปีท่ี 2 เพื่อเปน็ แนวทางในการแกป้ ัญหาในช้นั เรยี น อันจะส่งผลใหน้ ักเรียนมผี ลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นทีส่ งู ขนึ้
นอกจากนี้ยังเป็นการพฒั นาผู้เรยี นให้มคี วามสามารถในการพัฒนาทักษะดา้ นการคดิ คำนวณ และ
ความสามารถด้านทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตรไ์ ดถ้ ูกต้องมากยิง่ ขน้ึ
2. วตั ถุประสงคข์ องการวิจยั
เพื่อแก้ปญั หาเกยี่ วกับการคำนวณการหาร สำหรับนักเรยี นชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 2/2
โรงเรยี นศรีแกง้ ครอ้ จำนวน 36 คน
3. สมมตฐิ านของการวิจยั
นกั เรียนสามารถคำนวณการหารไดถ้ กู ต้อง
4. ตัวแปรที่ศกึ ษา นกั เรยี นช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 2/2 โรงเรยี นศรีแกง้ ครอ้ จำนวน 36 คน
2
5. ประโยชน์ท่ไี ดร้ ับจากการวิจัย
5.1 นกั เรยี นสามารถคำนวณการหารไดถ้ ูกตอ้ ง
5.2 นกั เรียนมีความรพู้ ้ืนฐานเกีย่ วกบั การหารทถี่ กู ต้อง เพ่อื เชอ่ื มโยงในการศึกษารายวิชาอ่ืน ๆ ใน
ระดับสูงขน้ึ ไป
6. ขอบเขตของการวจิ ัย
6.1 กลุ่มเป้าหมายเป็นนกั เรยี นช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 2/2 โรงเรียนศรีแก้งคร้อ ท่ีกำลงั ศึกษาอยูใ่ น
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 จำนวน 36 คน
6.2 เนอื้ หาท่ีใชใ้ นการศกึ ษาเปน็ เนอื้ หากลุ่มสาระการเรยี นรูค้ ณติ ศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 2
ในหวั ข้อ การหาผลหารโดยใช้ความสัมพันธข์ องการคณู และการหาร
7. ระยะเวลาทใี่ ชใ้ นการวิจยั
เดือน ตุลาคม 2564
8. วธิ ดี ำเนนิ การวิจัย
8.1 ทำแบบทดสอบกอ่ นเรยี น
8.2 ฝกึ ท่องสตู รคูณ โดยใหน้ ักเรียนร่วมกันร้องเพลง สูตรคูณพาเพลนิ
8.3 ฝกึ ให้นกั เรยี นสงั เกตความสมั พนั ธ์ของการคณู และการหาร โดยให้นกั เรียนทำหนงั สอื เล่มเล็ก
เรอ่ื ง ความสัมพันธ์ของการคณู และการหาร
8.4 นกั เรยี นฝึกคำนวณการหารจากแบบฝึกเสริมทักษะคณติ ศาสตร์เรือ่ ง การหาร
8.5 ทำแบบทดสอบหลังเรียน
9. เคร่อื งมอื ท่ีใช้ในการวิจัย
9.1 แบบทดสอบกอ่ นเรยี นและหลงั เรยี น
9.2 เพลงสูตรพาเพลิน
9.3 หนงั สือเล่มเลก็ เรอื่ ง ความสัมพนั ธ์ของการคูณและการหาร
9.4 แบบฝกึ เสรมิ ทักษะคณิตศาสตรเ์ ร่อื ง การหาร
10. ผลการวิจยั
เมื่อนกั เรยี นช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี 2/2 จำนวน 36 คน ไดฝ้ ึกตามขัน้ ตอนของแบบฝกึ ทก่ี ำหนดไว้
พบวา่ นกั เรียนจานวน 25 คนสามารถบอกความสัมพนั ธข์ องการคณู และการหารได้ และสามารถคานวณ
3
การหารไดถ้ ูกตอ้ ง แต่ยังมีนกั เรียนจำนวน 11 คน ยังคงสับสนกับไมส่ ามารถเช่อื มโยงความสมั พนั ธ์ของการ
คูณและการหารได้ กล่าวคือ นักเรยี นเขยี นสลบั ท่ีกันระหว่างระหวา่ งตวั ตงั้ กับตวั หาร
11. สรปุ และอภปิ รายผล
เมื่อนักเรียนชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 2/2 จำนวน 36 คน ได้ฝึกตามขั้นตอนของแบบฝกึ ทีก่ ำหนดไว้
พบว่า นักเรียนจำนวน 25 คน คิดเปน็ ร้อยละ 69.44 สามารถบอกความสมั พันธข์ องการคูณและการหารได้
และสามารถคำนวณการหารได้ถูกต้อง แต่ยงั มีนกั เรียนจำนวน 11 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 30.56 ยงั คงสับสน
ไมส่ ามารถเชือ่ มโยงความสัมพนั ธ์ของการคูณและการหารได้ กลา่ วคอื นกั เรียนเขยี นสลับทกี่ นั ระหว่างตวั ตัง้
กับตัวหาร ซ่งึ ผวู้ ิจัยสงั เกตพบว่า นกั เรียนจะอ่านประโยคสัญลกั ษณต์ รงตามลำดบั การเขยี นประโยค
สัญลกั ษณ์ เช่น 6 ÷ 3 ( นกั เรยี นจะอา่ นว่า 6 หาร 3 และตอบครูว่า 3 คือตัวตัง้ 6 คือตัวหาร) ซึ่งทำให้
นักเรยี นสบั สนวา่ จำนวนใดคือตวั ตัง้ จำนวนใดคอื ตวั หาร การอา่ นประโยคสัญลกั ษณต์ ามลำดับการเขยี นน้ี
จะทำให้ผลลัพธ์คลาดเคล่ือนได้ เพราะนกั เรยี นอาจคำนวณโดยเอา 3 เป็นตวั ตงั้ และ 6 เปน็ ตวั หาร
12. ข้อเสนอแนะ
12.1 นักเรียนควรฝกึ ทอ่ งสตู รคณู อยา่ งเขา้ ใจความหมายของการคูณ เพ่อื ท่ีจะสามารถแก้ปญั หา
การจำสตู รคณู ไมไ่ ด้
12.2 ควรฝึกอา่ นหนังสอื ให้คลอ่ งและฝึกอ่านจบั ใจความสำคญั
12.3 นักเรียนควรฝึกจำแนกคำสำคญั เก่ียวกบั การดำเนนิ การทางคณิตศาสตร์ใหไ้ ด้
12.3 ครูควรทำข้อตกลงกบั นักเรียนเก่ยี วกับการอา่ นประโยคสญั ลกั ษณใ์ ห้ชดั เจน เชน่ 6 ÷ 3
อา่ นว่า 6 หารด้วย 3 ซงึ่ จะทำใหน้ กั เรียนเขา้ ใจชัดเจนว่า 6 คือตวั ตวั ต้งั ถกู หารด้วยตัวหาร คือ 3
12.4 สำหรบั การเขยี นในรูปสัญลกั ษณ์เคร่อื งหมายหาร (÷) ครูควรทำขอ้ ตกลงกบั นกั เรยี นเก่ียวกบั
ตำแหน่งของตวั ตั้งกับตวั หาร ว่า ตัวตั้งอยขู่ า้ งหน้าเครอื่ งหมายหาร และตวั หารอยูข่ ้างหลงั เครื่องหมายหาร
12.5 ครูและนกั เรยี นควรรว่ มกนั สรุปเกยี่ วกับ ความสมั พันธข์ องตวั ต้ัง ตัวหาร และผลหาร ให้ชัดเจน
ทงั้ ในรูปประโยคสญั ลักษณ์การหาร และประโยคสญั ลกั ษณก์ ารคูณ
4
เอกสารอ้างอิง
กระทรวงศกึ ษาธิการ. 2546. พระราชบญั ญตั กิ ารศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และท่ีแก้ไขเพม่ิ เติม
(ครัง้ ท่ี 2) พ.ศ. 2545. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์องคก์ ารรบั ส่งสนิ คา้ และพสั ดภุ ณั ฑ์.
. 2547. แนวการจดั การเรียนการสอนคณติ ศาสตร์. กรุงเทพฯ : โรงพิมพค์ รุ สุ ภา ลาดพร้าว.
_________. 2551. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551. กรงุ เทพฯ :
โรงพมิ พช์ ุมนุมสหกรณ์การเกษตรแหง่ ประเทศไทย.
. 2552. ตัวช้ีวัดและสาระการเรยี นรแู้ กนกลาง กล่มุ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พ์
ชุมนุมสหกรณก์ ารเกษตรแหง่ ประเทศไทย.
ถวัลย์ มาศจรัส และคณะ. 2550. แบบฝกึ หัด แบบฝกึ ทักษะ. พมิ พ์ครง้ั ที่ 2. กรุงเทพฯ : ธารอักษร
นพพร แหยมแสง. 2544. การพัฒนาสำนกึ เกี่ยวกบั จำนวนสำหรับนกั เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2.
ปริญญานิพนธ์ กศด. กรงุ เทพฯ : มหาวทิ ยาลัยศรีนครินทรวโิ รฒ. อดั สำเนา.
ภาคผนวก
แบบบนั ทกึ ผลการวิจยั 6
คนท่ี คะแนนก่อนเรยี น คะแนนหลังเรียน คะแนนความก้าวหนา้
(10 คะแนน) (10 คะแนน)
13 74
22 64
32 64
40 33
52 53
61 32
73 74
81 43
94 95
10 5 94
11 1 32
12 4 95
13 3 52
14 1 21
15 5 10 5
16 4 95
17 0 22
18 4 10 6
19 0 33
20 4 95
21 1 21
22 4 84
23 4 84
24 0 33
25 3 30
26 4 95
27 3 96
28 4 84
29 3 85
30 4 95
31 3 85
แบบบนั ทึกคะแนนกอ่ นเรยี นและหลังเรยี น คะแนนหลังเรยี น 7
(10 คะแนน)
คนที่ คะแนนกอ่ นเรียน 9 คะแนนความกา้ วหนา้
(10 คะแนน) 8
10 6
32 3 8 6
33 2 8 6
34 4 239 4
35 4 66.39 6
36 2 142
รวม 97 39.44
รอ้ ยละ 26.94
แบบบันทึกคะแนนแบบฝกึ
ฝึกท่องสตู รคณู หนงั สือเลม่ เล็ก เรอ่ื ง ความสัมพนั ธ์ของ แบบฝึกเสริมทกั ษะฯ
คนที่ (10 คะแนน) การคณู และการหาร (10 คะแนน) เรือ่ ง การหาร(10 คะแนน)
17 7 8
28 8 8
39 9 8
43 4 4
59 9 9
62 3 3
79 9 8
83 3 3
9 10 10 9
10 9 9 9
11 4 5 4
12 10 10 9
13 4 4 4
14 4 4 4
15 10 10 10
16 9 9 9
17 4 3 3
18 10 10 10
19 4 5 4
8
แบบบนั ทกึ คะแนนแบบฝกึ หนังสอื เลม่ เลก็ เร่อื ง ความสัมพนั ธ์ของ แบบฝกึ เสรมิ ทกั ษะฯ
การคูณและการหาร เรอ่ื ง การหาร
ฝกึ ทอ่ งสูตรคูณ (10 คะแนน) (10 คะแนน)
คนท่ี (10 คะแนน) 9 10
4 4
20 10 7 8
21 4 8 7
22 8 7 7
23 8 4 4
24 5 9 9
25 3 6 6
26 9 9 8
27 8 8 8
28 9 9 8
29 8 8 8
30 8 8 9
31 8 10 8
32 9 10 9
33 9 9 9
34 10 8 8
35 9 264 256
36 8 73.33 71.11
รวม 261
รอ้ ยละ 72.50
แบบทดสอบก่อนเรยี นแบบฝึ กเสริมทักษะคณิตศาสตร์
เรือ่ ง การหาร
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 2
คาชีแ้ จง นักเรยี นทาเครอ่ื งหมายกากบาท ( X ) ทบั ตัวอกั ษร ก ข ค
หน้าข้อทถี่ กู ที่สดุ
1. ผลหารในขอ้ ใดมคี ่ามากที่สดุ
ก. 8 ÷ 2
ข. 9 ÷ 3
ค. 10 ÷ 5
2. ผลหารในขอ้ ใดมคี ่านอ้ ยท่ีสดุ
ก. 14 ÷ 2
ข. 18 ÷ 3
ค. 45 ÷ 5
3. 64 ÷ 8 = ควรเตมิ จานวนใดลงใน
ก. 7
ข. 8
ค. 9
4. 42 ÷ 7 = ควรเติมจานวนใดลงใน
ก. 8
ข. 7
ค. 6
5. 78 ÷ 8 = ควรเติมจานวนใดลงใน
ก. 9 เศษ 4
ข. 9 เศษ 5
ค. 9 เศษ 6
6. จานวนอะไรที่หารดว้ ย 7 แลว้ เหลอื เศษ 1
ก. 6
ข. 15
ค. 17
7. 4 × 8 = 32 ขอ้ ใดไม่ใช่ความสมั พนั ธร์ ะหว่างการคณู และการหาร
ก. 32 ÷ 4 = 8
ข. 32 ÷ 8 = 4
ค. 8 × 8 = 32
8. ขอ้ ใดเป็นการตรวจคาตอบของ 30 ÷ 6 = 5
ก. 6 × 5 = 30
ข. 30 ÷ 5 = 6
ค. 30 × 5 = 150
9. ขอ้ ใดเป็นการตรวจคาตอบของ 42 ÷ 4 = 10 เศษ 2
ก. ( 10 × 2 ) + 4
ข. ( 10 × 4 ) + 2
ค. ( 42 × 2 ) + 10
10. ถา้ 54 ÷ = 9 จานวนทแี่ ทนที่ คือจานวนใด
ก. 6
ข. 8
ค. 9
11. โจทยข์ อ้ ใดเป็นโจทยป์ ัญหาการหาร
ก. มีสม้ 3 ตะกรา้ ตะกรา้ ละ 10 ผล รวมเป็นสม้ ก่ผี ล
ข. มงั คดุ กองแรกมี 20 ผล กองทส่ี องมี 30 ผล รวมเป็นมงั คดุ ก่ีผล
ค. แม่ซอื้ เงาะ 10 กิโลกรมั จดั ใสถ่ าด ถาดละ 2 กิโลกรมั
ตอ้ งใชถ้ าดก่ใี บ
12. มียางลบ 14 กอ้ น แบง่ ใหน้ อ้ ง 2 คน คนละเท่า ๆ กนั จะได้
คนละก่ีกอ้ น
ก. 7 กอ้ น
ข. 8 กอ้ น
ค. 9 กอ้ น
13. นบั ขาววั ที่ยนื กนิ หญา้ ได้ 28 ขา จะมวี วั ก่ตี วั
ก. 7 ตวั
ข. 5 ตวั
ค. 4 ตวั
14. มีเงิน 36 บาท ซอื้ ปากกาดา้ มละ 6 บาท ไดก้ ่ดี า้ ม
ก. 5 ดา้ ม
ข. 6 ดา้ ม
ค. 7 ดา้ ม
15. มีกงุ้ 63 ตวั แบง่ ใส่ถงุ ถงุ ละ 7 ตวั จะแบ่งไดก้ ่ถี งุ
ก. 7 ถงุ
ข. 8 ถงุ
ค. 9 ถุง
16. มีเงาะ 42 ผล แบ่งใส่จาน 6 จาน จานละเท่า ๆ กนั จะแบง่
ไดก้ ่จี าน
ก. 7 จาน
ข. 6 จาน
ค. 5 จาน
17. จา่ ยเงินไป 45 บาท ไดส้ มดุ ชนิดเดียวกนั มา 5 เล่ม สมดุ ราคา
เล่มละเท่าไร
ก. 7 บาท
ข. 8 บาท
ค. 9 บาท
18. ปมุ้ มีเงิน 37 บาท ซอื้ ไอศกรีมแทง่ ละ 9 บาท ไดไ้ อศกรมี 4 แทง่
และเงินทอนอกี ก่บี าท
ก. 1 บาท
ข. 13 บาท
ค. 24 บาท
19. แจกดินสอ 24 แท่ง ใหเ้ ด็ก 5 คน คนละเทา่ ๆ กนั ไดด้ ินสอ
คนละเท่าไรและเหลือดนิ สอก่แี ทง่
ก. คนละ 4 แท่ง เหลือดินสอ 5 แท่ง
ข. คนละ 4 แทง่ เหลอื ดินสอ 4 แทง่
ค. คนละ 5 แทง่ เหลือดินสอ 4 แท่ง
20. ซอื้ ขนม 6 ถงุ ตอ้ งจ่ายเงิน 30 บาท ขนมราคาถงุ ละก่ีบาท
ก. 6 บาท
ข. 5 บาท
ค. 4 บาท
กิจกรรมที่ 1
คาชแี้ จง นกั เรยี นเติมคาตอบลงในช่องวา่ งใหถ้ กู ตอ้ ง
1. 18 ÷ 2 = …………….
2. 21 ÷ 3 = …………….
3. 48 ÷ 4 = …………….
4. 55 ÷ 5 = …………….
5. 42 ÷ 6 = …………….
6. 56 ÷ 7 = …………….
7. 64 ÷ 8 = …………….
8. 81 ÷ 9 = …………….
9. 110 ÷ 10 = …………….
10. 108 ÷ 12 = …………….
กิจกรรมที่ 2
คาชีแ้ จง จงใชร้ ูปการคณู ท่ีกาหนดใหเ้ ตมิ ผลหารตอ่ ไปนี้
1. 4 × 9 = 36 36 ÷ 4 = ..................
36 ÷ 9 = ..................
2. 8 × 3 = 24 24 ÷ 8 = ..................
24 ÷ 3 = ..................
3. 9 × 7 = 63 63 ÷ 9 = ..................
63 ÷ 7 = ..................
4. 4 × 7 = 28 28 ÷ 4 = ..................
28 ÷ 7 = ..................
5. 6 × 5 = 30 30 ÷ 6 = ..................
30 ÷ 5 = ..................
กจิ กรรมท่ี 3
คำชี้แจง นกั เรียนนำจำนวนที่กำหนดให้ไปเขียนประโยค
แสดงควำมสมั พนั ธร์ ะหวำ่ งกำรคูณและกำรหำร
ตัวอยา่ ง 2 8 16
2 × 8 = 16 16 ÷ 2 = 8 16 ÷ 8 = 2
1) 5 7 35
……………. …………….
…………….
2) 8 9 72 ….. …………. .…. ………….
.…. …………. . .
3..) 5 12 60
……………. ……………. …………….
4..) 4 8 32 . .
……………. ……………. …………….
5..) 7 11 77 . .
……………. ……………. …………….
.. . .